The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-21 23:27:58

พืชป่าสมุนไพร

พืชป่าสมุนไพร

350

มะเค็ด สรรพคุณ
ชือ่ ทองถิน่ : หนามแทง (อดุ รธานี), หนามแทง • เนือ้ ไม : รักษาแผลท่ถี กู หนามทมิ่ แทงหกั คาในเน้อื (N1)
หนามขี้แรด (พษิ ณโุ ลก) • เน้อื ในผลสุก : เนอื้ ในเมอื่ สกุ มสี ดี าํ ใชส ระผม ใชเ บอ่ื ปลา (NE3)
ช่ือวิทยาศาสตร : Catunaregam tomentosa (Blume ex • แกน หรือราก : รักษาเบาหวาน วณั โรค มะเรง็ ตา ง ๆ (NE5)
DC.) Tirveng. • ตาํ รบั ยารกั ษาแผลเบาหวาน/แผลอกั เสบเร้อื รงั : รกั ษาแผล
ชื่อวงศ : RUBIACEAE เบาหวาน หรอื แผลอกั เสบเรอื้ รงั (NE2-015)
ลักษณะเดน : ไมพมุ ผลัดใบ สงู ถงึ 8 ม. เปลือกแตกสะเก็ดบาง
ก่ิงมีหนามยาวถงึ 7 ซม. ใบเดี่ยว เรยี งตรงขามและกระจกุ ท่ีปลาย
กง่ิ รปู ไขก ลบั ยาว 5-12 ซม. แผน ใบหนา ดา นบนมรี อยกดตาม
แนวเสนใบ มขี นนมุ หนาแนน ทีด่ า นลาง ดอกออกเดีย่ ว ๆ มีกลบี
เล้ยี งและกลบี ดอก 7-9 กลบี กลีบดอกสขี าว-สีเหลืองเมอื่ ใกลโรย
มกี ล่นิ หอม ผลรปู กลม-รี กวาง 4-6 ซม. มีขนนุมแบบกาํ มะหย่สี ี
นํ้าตาล เนือ้ ในสีดํา, พบตามปาเต็งรงั ปาเบญจพรรณ และปาทุง
ที่มีดินปนทรายท่วั ประเทศ

มะดูก
ช่อื ทอ งถ่นิ : มะดูก (พทั ลุง), มะดกู (พษิ ณุโลก),
มะดกู ยายปลวก (อดุ รธานี), มะดกู หิน (สระแกว )
ชื่อวิทยาศาสตร : Siphonodon celastrineus Griff.
ชือ่ วงศ : CELASTRACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน สงู ถึง 20 ม. เปลือกแตกสะเก็ดเล็ก ใบเด่ียว
เรยี งสลบั รปู รแี กมขอบขนาน ยาว 13-20 ซม. ขอบหยกั ซฟ่ี น -หยกั
มน ผิวใบเกล้ยี ง เสนใบยอยแบบรางแห กานใบยาว 1-2 ซม.
กลบี เลีย้ งและกลบี ดอกมี 5 กลีบ ดอกสเี ขียวอมเหลือง ผลทรง
กลม-ไขกลบั กวา ง 4-5 ซม. ปลายกลม เนื้อในแขง็ , พบตามปา
ผลัดใบและปาดงดบิ แลง
สรรพคณุ
• เปลือก : แกไ ขทบั ระดู (NE3)
• เปลอื ก : ผสมสมุนไพรอ่นื ตมน้ําด่ืม รกั ษาโรคตับอักเสบ; ราก :
ทาํ ใหอาเจียนชวยถอนพิษ ทานแกพ ษิ อักเสบจากฝห รือแผล
ภายใน บํารงุ กระดกู ดับพิษในกระดูก น้ําเหลืองเสีย ผ่นื คัน
ประดงเขา ขอ ออกดอก โรคผิวหนัง แกเ สนเอน็ พกิ าร แก
กามโรค (R1, R8)
• แกน และราก : รักษาโรคมะเร็งกรามชาง โรคเกาท (E2)
• ราก : รกั ษามะเร็งกระดกู (N1)
• ตํารบั ยาโรคมะเร็งตับ/ฝในตับ/ตบั อักเสบ : รักษาโรคมะเรง็
ตับ (ระยะที่ 1–3), โรคฝในตบั , โรคตับอกั เสบ, โรคกาฬลงตบั
(มีอาการเพอคลุมคล่ังและนยั นตาเปน สีแดงรวมดวย) (S3-74)

351

มะเดือ่ ปลอ้ ง สรรพคณุ
ชอื่ ทองถิ่น : มะเดือ่ ปลอง (ตรัง, อุดรธาน)ี , • เปลือก : ยาพ้นื บา นอีสาน ฝนนา้ํ กนิ วนั ละ 2-4 คร้ัง แกไข;
มะเด่อื ปอง (พิษณุโลก) แกน : รสเค็มเลก็ นอย แกพยาธิ ตานซาง (โรคพยาธใิ นเด็ก มี
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Ficus hispida L. f. อาการเบื่ออาหาร ออนเพลยี พุงโลกน ปอด ตกใจงาย ไมค อ ย
ชือ่ วงศ : MORACEAE ทานอาหาร ซูบซดี ผอมแหง อุจจาระผดิ ปกติ อาจมกี ล่ินคาวจดั
ลกั ษณะเดน : ไมพ มุ -ไมต น สงู ถงึ 15 ม. เปลอื กเรยี บมรี อย ชอบกินอาหารคาว) (R16)
วงแหวนแนวขวาง สวนท่มี ชี ีวิตมนี ํ้ายางสีขาวขุน กิ่งกลวง (จุด • เนื้อไม : ยาแกพ ิษ ชว ยรกั ษาโรคมะเรง็ (N1)
เดน ) ตามสวนตา ง ๆ มีขนสากคาย ใบเดย่ี ว เรยี งตรงขามตัง้ ฉาก • ราก : แกโ รคซาง (พงุ โล) (NE3)
รูปขอบขนานแกมไขก ลับ ยาว 15-33 ซม. ขอบใบจักฟนเลือ่ ย • ตํารับยาแกไ อ : แกไ อ (NE2-167)
โคนใบตัด-เวา ชอ ดอกและชอ ผลออกเปนชอยาวตามลาํ ตน -กิง่ • ตํารบั ยาโรคเกาท : รกั ษาโรคเกาท แกป วดขอ ปวดเขา แกพิษ
ใหญ ยาวถงึ 40 ซม. ผลรูปทรงกลม-แบนเล็กนอย กวา ง 3-4 ซม. ในกระดกู บาํ รงุ กระดกู (S2-03)
สุกสีเหลอื ง มเี มลด็ เล็กจาํ นวนมาก, ขึน้ ตามชายปาและทร่ี กราง • ตาํ รบั ยาอุทัยโอสถ : แกไขตวั รอ น แกรอนในกระหายน้าํ แก
ท่วั ประเทศ ออ นเพลยี ละเห่ยี ใจ เพ่มิ ความสดช่ืน บํารงุ หัวใจ (S3-22)

เนื้อไมมะเดอ่ื ปลอง
มะเดอื่ อทุ ุมพร
ชอ่ื ทองถนิ่ : มะเดื่อชมุ พร (พษิ ณุโลก),
มะเด่อื อทุ มุ พร (พทั ลุง, ตรงั , อดุ รธาน)ี
ชื่อวิทยาศาสตร : Ficus racemosa L.
ชอื่ วงศ : MORACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถึง 30 ม. เปลอื กเรียบ-แตกสะเกด็ รอน
เลก็ นอย สีครีม โคนตน มพี พู อนแผกวาง ตามสว นท่มี ชี ีวติ มนี ้าํ ยาง
สขี าวขนุ ตามสว นออ น ๆ มขี นสนั้ ใบเดย่ี ว เรยี งเวยี น รูปรี-ขอบ
ขนาน ยาว 8-15 ซม. เสน แขนงใบออกจากโคนใบ 1 คู ขอบใบ
เรยี บ ผวิ ใบดานลางมขี นประปราย-เกลยี้ ง กา นใบยาว 4-7 ซม.
ชอดอกและชอ ผลออกตามลาํ ตน และกงิ่ ใหญ หอ ยยาวถงึ 60 ซม
ผลทรงกลม-แกมแบน กวาง 3-5 ซม. ผิวเกลยี้ ง สุกสีแดงมจี ุด
ประสขี าว, ขึน้ ตามริมลาํ ธาร, ท่วั ประเทศ
สรรพคณุ
• ทัง้ ตน : ชวยขับปส สาวะ แกปสสาวะกะปรบิ กะปรอย ปส สาวะ
ขดั (N1)

352

• ผล เปลือก หรือราก : แกไ ขตวั รอน กระทุงพษิ ไข ชว ยถอนพษิ รากมะเดอ่ื อุทุมพร
ไขทกุ ชนดิ , รากมะเดือ่ อุทุมพรเปน หนึ่งในพิกดั ยาหา ราก/เบญจ • ตาํ รับยาแกต น ไข (ไขร ะยะแรก) : แกตน ไข (ไขเ บื้องตนหรอื ไข
โลกวเิ ชยี ร (NE3) ระยะแรก เชน ไขตวั รอน ไขกาฬ ไขพษิ ไขก ําเดา) (S3-44)
• ใบและผล : ในไทย ลาว กมั พูชา และตอนเหนือของรฐั เปรัค • ตํารับยาไขห ัด/ไขอสี กุ อใี ส/ไขอีดําอีแดง : แกไ ขห ดั ไขเหอื ด
ประเทศมาเลเซยี ตาํ พอกผวิ หนัง และตม นาํ้ ด่ืมรักษาผนื่ คนั บน (หัดเยอรมนั ) ไขอีสกุ อีใส ไขอดี ําอแี ดง กระทงุ พษิ ไข (S3-48)
ผิวหนงั ; ลําตนและใบ : ในกมั พูชาใชทาํ น้าํ มนั ทาผม; ลําตน :
ในกมั พูชา แชน้าํ ดืม่ ตานมาลาเรีย; ราก : ตม น้ําด่ืม เปนยาขับ มะตาด
ปสสาวะ (R13) ช่ือทองถิน่ : มะตาด สา นน้ํา (ตรัง)
• ตาํ รบั ยาหาราก (ยาเบญจโลกวิเชยี ร/ยาแกว หาดวง) : แกไ ข ชื่อวิทยาศาสตร : Dillenia indica L.
ตวั รอ น ปวดหัว ถอนพษิ ไข (N1-14) ช่อื วงศ : DILLENIACEAE
• ตํารับยาหาราก (สตู รพน้ื บาน) : แกไ ข ตัวรอ น แกป วดหวั ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถึง 20 ม. เปลอื กสนี ้าํ ตาลแดง ลอกเปน
(S1-06) แผนบาง ใบเดีย่ ว เรยี งเวียน รปู หอกกลับ ยาว 20-35 ซม. เสน
• ตํารบั ยาแกไ ขตัวรอน : แกไขตวั รอน ปวดหัว ถอนพษิ ไข ไข แขนงใบเหน็ ชดั เจนขา งละ 25-50 เสน ขอบใบจกั ฟน เล่อื ย แผน
หวดั ไขป อดบวม (S2-01) ใบดา นลางมีขนสากประปรายตามเสนแขนงใบ ดอกเดีย่ ว กลบี
• ตาํ รบั ยาแกไ ขไทฟอยดหรอื ไขร ากสาดนอย : แกไทฟอยดห รือ เลีย้ งและกลบี ดอกอยา งละ 5 กลีบ กลีบดอกสขี าว ดอกบานกวา ง
ไขร ากสาดนอย (S2-20) 13-17 ซม. ผลทรงกลมแบน สีเขียวอมเหลอื ง เกิดจากกลีบ
• ตํารับยาไขหวดั ใหญ : แกไขห วัดใหญ (S2-57)
• ตํารบั ยาแกทอ งเสยี แบบมไี ข : แกท องเสยี แบบมไี ข อาหาร
เปนพษิ (S3-36)
• ตาํ รับยาแกทองรวง-ทองเสยี -บิด : แกทองรวง-ทอ งเสีย แกบิด
ชว ยคุมธาตุ (S3-43)

353

มะตมู
ชือ่ ทอ งถิ่น : มะตูม (พษิ ณโุ ลก)
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Aegle marmelos (L.) Corrêa ex Roxb.
ช่อื วงศ : RUTACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตน ผลดั ใบ สงู ถงึ 15 เมตร ลาํ ตน อายุนอ ยและ
ก่งิ มีหนาม ใบเรยี งเวียน ใบประกอบมี 3 ใบยอ ย รูปไข ยาว 4-10
ซม. ใบยอ ยทป่ี ลายมขี นาดใหญท ี่สุด ปลายใบเรยี วแหลม ขอบใบ
หยกั มน ผิวใบเกลย้ี ง ขยี้ใบมีกลน่ิ หอม ดอกขนาดเลก็ สเี ขียวอม
เหลือง มีกลน่ิ หอม กลีบดอก 5 กลบี ผลรปู ไข-กลม กวา ง 8-16
ซม. เปลอื กแข็งมากสีเขียว ผลสุกเปลือกสเี หลืองเรือ่ ๆ เนอื้ ในสี
เหลอื งคลํ้า มนี ้ํายางสีนา้ํ ผง้ึ รอบเมลด็ , พบตามปา เบญจพรรณ
และปา ดบิ แลงแทบทุกภาค ยกเวน ภาคตะวนั ออกเฉียงใตแ ละ
ภาคใต
สรรพคุณ
• ผล : ชว ยบาํ รุงหัวใจ ชว ยขยายหลอดเลอื ด (N1)
• ตาํ รับยาโรคมะเร็งตบั /ฝใ นตับ/ตบั อักเสบ : รักษาโรคมะเรง็
ตบั (ระยะที่ 1–3), โรคฝใ นตับ, โรคตบั อักเสบ, โรคกาฬลงตับ
(มีอาการเพอ คลมุ คล่งั และนัยนตาเปน สีแดงรวมดว ย) (S3-74)

เกลี้ยงขยายตัวหุม กวา ง 8-12 ซม. ผลออนเน้อื เปรีย้ วปนฝาด ใช ผลมะตูมแหง
ทําแกงทานได, พบตามริมลาํ ธารในปาดงดิบท่วั ประเทศ
สรรพคณุ
• ตาํ รบั ยาลดไขมนั ในเลอื ด : ชวยลดไขมันในเลือด (S2-02)
• ตาํ รบั ยาขบั เสมหะในลําคอ-อก/แกโรคหอบหดื : ชว ยขบั
เสมหะในลําคอ-อก แกหอบหดื (S2-08)

354

มะนาวผี มะปรงิ
ช่ือทองถ่ิน : มะนาวผี (สระแกว) ชอ่ื ทองถน่ิ : ปรงิ มะปรงิ (พทั ลงุ , ตรัง)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Atalantia monophylla (L.) DC. ช่อื วทิ ยาศาสตร : Bouea oppositifolia (Roxb.) Meisn.
ชือ่ วงศ : RUTACEAE ชื่อวงศ : ANACARDIACEAE
ลักษณะเดน : ไมพ มุ -ไมตน สูงถึง 6 ม. ลําตน คดงอและเปนพอน ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถงึ 30 ม. ตามสวนตา ง ๆ เกล้ยี ง มีตาท่ี
เปลือกเรยี บ กง่ิ มหี นามเรยี วตรง ยาวถึง 4 ซม. ใบเด่ยี ว เรียง ซอกใบเปนเมด็ รปู ไข ใบเด่ียว เรียงตรงขาม รูปใบหอก-แกมขอบ
เวยี น รปู ไข-รูปรี ยาว 5-12 ซม. ปลายใบมน-หยกั เปนต่ิง และมี ขนาน ยาว 10-17 ซม. ปลายใบเรียวแหลม เสน กลางใบดานบน
รอยบมุ แผนใบเกล้ียง เนอื้ หนา มตี อมน้าํ มนั ใส ขยี้ใบมีกลนิ่ ฉนุ แผน ใบนนู เสน แขนงใบขา งละ 10-14 เสน ผลทรงกลม-รี ยาว
เสน ใบยอยแบบรางแหเหน็ ชัดเจน กลบี ดอกสีขาว 4 กลบี มกี ลิ่น 3-5 ซม. ผลสุกเน้อื เหลอื งฉํา่ น้าํ รสเปร้ียว-อมหวาน มี 1 เมล็ด
หอม ผลทรงกลม กวาง 1.5-2.5 ซม. ผวิ ขรุขระสีเขยี ว-อมเหลือง เนื้อในเมล็ดสมี วง, พบในปา ดงดิบใกลแ หลง นํา้ ทวั่ ประเทศ,
คลายผลมะนาว มี 4-8 เมลด็ , พบตามปา ดงดบิ แลงทวั่ ประเทศ มะปรางและมะยงชดิ ทป่ี ลกู เปนพืชสวน ลวนเปน พืชชนดิ เดียวกบั
สรรพคุณ มะปรงิ ซึง่ มที ี่มาจากพันธไุ มป า ท่ีไดร บั การคดั เลือกปรับปรุงสาย
• เปลอื กผล : แกไ ขขออักแสบ (S2) พันธุ แตยังมมี ะปรางปา (Bouea macrophylla Griff.) ซง่ึ พบ
• แกน หรือราก : แกไขป า หรือไขม าลาเรีย; เมลด็ : เขา ยารักษา ในปา ธรรมชาติในภาคใต มจี ุดตา งทมี่ ขี นาดใบใหญก วา ใบยาว
ริดสดี วงจมูก (E2) 15-25 ซม.
• ใบและผล : ชวยรกั ษาโรคทางเดนิ หายใจ แกอ าการจุกเสยี ด
แกทองเสยี ; น้ํามนั จากเปลอื กผล : ใชทาภายนอก เปนยาแก
โรคไขขอ อกั เสบ (R66)

ผลสุกของมะนาวผี ซา ย : เน้ือและเมลด็ มะปรงิ สกุ , ขวา : ราก
สรรพคุณ
• ตาํ รับยาแกไขต ัวรอน : แกไขตวั รอน ปวดหัว ถอนพษิ ไข ไข
หวัด ไขปอดบวม, สามารถใชมะปรางปา (Bou_mac) แทนได
(S2-01)
• ตํารบั ยาแกไขต วั รอ น : แกไข ตัวรอ น ไขเ ปล่ียนฤดู (S2-17)
• ตํารับยาไขหวดั ใหญ : แกไ ขห วัดใหญ (S2-57)

355

• ตาํ รับยาแกไ ขตัวรอ น : ชวยแกไข ตัวรอ น (S2-79)
• ตาํ รบั ยาประสะจนั ทนแดง : แกไข ตัวรอน รอนในกระหายน้ํา
ไขเซ่อื งซึม ไขเ ปล่ียนฤดู (S3-09)
• ตาํ รับยามหานลิ แทงทอง : แกไขตัวรอน ไขหดั ไขอสี กุ อีใส แก
รอ นในกระหายน้ํา แกปากเปอ ยเพราะพิษรอนหรือรอนใน
(S3-12)
• ตํารบั ยาแกพิษกินผิดสําแดง : แกพิษกินผดิ สาํ แดง กนิ ของ
แสลง (S3-35)
• ตาํ รบั ยาแกตน ไข (ไขระยะแรก) : แกต นไข (ไขเบ้ืองตนหรือไข
ระยะแรก เชน ไขต ัวรอ น ไขก าฬ ไขพ ิษ ไขกําเดา) (S3-44)

ใบของมะปรางปา (Bouea macrophylla Griff.)

มะพลับทอง มะพอก
ชือ่ ทอ งถ่ิน : มะพลับปา (สระแกว ), สาวดาํ (ตรัง) ชือ่ ทองถ่นิ : มะพอก (อุดรธานี)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Diospyros transitoria Bakh. ชอ่ื วิทยาศาสตร : Parinari anamensis Hance
ช่อื วงศ : EBENACEAE ชอ่ื วงศ : CHRYSOBALANACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น สงู ถึง 30 ม. เปลอื กเรียบสีดาํ อมเทาและมี ลักษณะเดน : ไมตน สูงถึง 30 ม. เปลอื กแตกเปนสะเก็ดสี่เหล่ียม
ชองอากาศ มขี นทย่ี อด กลบี เลี้ยงและผลออน ใบเด่ียว เรยี งสลบั ขนาดเล็ก ตามกิ่งออน ชอดอก กานใบ และแผน ใบดานลางมีขน
รูปไข- ร-ี ขอบขนาน ยาว 7-17 ซม. จุดเดนทมี่ แี ผนใบหนาคลา ย สขี าว-นํา้ ตาลหนาแนนแนบกบั ผิว ใบเดยี่ ว เรียงสลับ รูปไข-รี
แผน หนงั เกลีย้ ง เสนใบยอ ยแบบรางแหนนู เห็นชดั ทัง้ สองดาน กวา ง ยาว 6-15 ซม. ชอ ดอกออกทีป่ ลายกิ่งยาวถงึ 30 ซม. ดอก
และเสน กลางใบเปนรอ งทแ่ี ผนใบดานบน, ดอกแยกเพศ กลบี สีขาว ผลทรงคอ นขา งกลม-บดู เบ้ยี วเลก็ นอย กวา ง 4-5 ซม. ผวิ มี
เลย้ี งและกลีบดอกอยางละ 4 กลบี ดอกสขี าวครมี ผลทรง ชองอากาศสนี ้ําตาล-ขาวหนาแนน , พบตามปา เต็งรงั และปาดบิ
กลม-แปน กวา ง 3-4 ซม. ข่ัวผลมกี ลีบเลี้ยงตดิ คาง 4 แฉก ๆ ยาว แลง แทบทุกภาค ยกเวน ภาคใต
1.5 ซม. ขอบบดิ เปนคลน่ื ผลสุกสเี หลอื ง เนอื้ รสหวานทานได,
พบตามปาดงดิบแลงและปาดงดิบชน้ื ในภาคตะวนั ออก และภาค
ใต
สรรพคุณ
• เปลอื กตน หรอื ผลออน : แกบ ิด แกท องรว ง แกอาเจียน แกไข
มาลาเรีย ตําพอกชวยหามเลือด ชวยสมานบาดแผล หรอื ตมนาํ้
ลางแผล ชว ยฆา เชื้อโรคบาดแผลไดอ กี ดว ย (E2)

356

สรรพคุณ มะไฟ
• ราก : แกไขจ ับสั่น แกไข ถายพยาธิ; เถา : รักษากามโรค; ช่อื ทองถน่ิ : มะไฟ (พัทลุง, ตรงั , อดุ รธาน)ี ,
เปลอื ก : เปนยาชกู าํ ลัง รกั ษาแผลเนา เปอ ยใหแหง ; เนือ้ ไม : มะไฟปา (พิษณโุ ลก)
ถอนพษิ เบอ่ื เมา คุมธาตุ บํารุงธาต;ุ ใบ : แกหวดั คดั จมูก แก ช่อื วทิ ยาศาสตร : Baccaurea ramiflora Lour.
ปวดศรี ษะ รกั ษาบาดแผล แกหืด แกหิด แกคัน (R7) ชอ่ื วงศ : PHYLLANTHACEAE
• แกน : แกโ รคประดง ผื่นคัน แกน้ําเหลอื งไหลซึมตามผิวหนงั ลกั ษณะเดน : ไมต น สูงถึง 10 ม. เปลือกสีนํา้ ตาลแดง แตก
(NE3) สะเก็ดเล็กและบาง มีขนประปรายตามสวนออ น ๆใบเดี่ยว เรยี ง
• ตํารบั ยาแกไ อ : แกไ อ (NE2-167) เวยี น เปนกระจุกท่ีปลายกิง่ รปู รี-รปู ไขก ลับ ยาว 10-25 ซม.
มะแฟน ขอบใบหยกั มน-เรียบ กานใบยาว 4-7 ซม. ปลายบวม ชอดอก
ช่ือทอ งถิน่ : มะแฟน (อุดรธาน)ี แยกเพศแยกตน สีเหลอื งครมี ชอผลออกเปน กระจุกตามกิง่ ใหญ
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Protium serratum Engl. และลําตน หอ ยยาว 10-40 ซม. ดอกสเี หลืองออน ผลกลม-รูปรี
ชื่อวงศ : BURSERACEAE ยาว 2.5-4 ซม. สุกสีเหลอื ง-อมสม เมลด็ มีเยือ่ หุมสีขาวรสเปรีย้ ว
ลักษณะเดน : ไมตน ผลดั ใบ สูงถงึ 30 ม. เปลือกแตกสะเกด็ อมหวาน เมลด็ สีขาว-มว ง, พบตามปา ดงดบิ ทว่ั ประเทศ
สเ่ี หลยี่ ม-มน หนา-บาง เปลอื กในมนี ํา้ ยางสขี าว ตามสวนตา ง ๆ สรรพคุณ
เกลี้ยง ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ มีใบยอย 7-9 ใบ เรยี งตรง • ราก : แกเ สมหะ แกกาํ เดา บาํ รงุ ไฟธาตุ แกบ วม; ดอก : แกบิด
ขา ม รูปไข-แกมรูปขอบขนาน ยาว 8-17 ซม. โคนใบสมมาตร มี แกทอ งเสีย เจรญิ อาหาร ฆา เช้ือ ขับนา้ํ ดี ขบั นํา้ ยอ ย เปนยา
จุดเดนทมี่ ขี อบใบจกั ฟนเล่ือย และที่ปลายท้ังสองดา นของกานใบ สงบระงับ เปน ยาฝาดสมาน แกปวดประสาท (R6)
ยอ ยและรอยตอกบั แกนใบบวมพอง กา นใบยาว 1.5-2 ซม. ผล • ราก : แกไ ขต วั รอน ชว ยทาํ ใหตัวเย็น (N1)
ทรงกลม กวาง 2 ซม. มักสีสะเก็ดสีนํ้าตาล ผลสุกสีออก • ราก : แกไ ขตัวรอ น รกั ษาฝภ ายใน (NE2)
เหลือง-สีแดง เนื้อในขาวใส รสเปรยี้ วทานได, พบตามปา
เบญจพรรณและปาดงดิบแลง ท่วั ประเทศ
สรรพคุณ
• รากหรอื ผล : แกไขต ัวรอน ถอนพษิ ผิดสาํ แดง (NE3)
• เหงา : แกซ าง แกไขเ หนือ แกไขก าฬ ดับพิษไข แกบ ิดมกู เลือด
แกไ ขส ันนิบาต ชว ยเจริญอาหาร (R7)

357

ผลมะไฟสุก
• ตาํ รบั ยามหานลิ แทง ทอง : แกไขต วั รอ น ไขหดั ไขอสี ุกอีใส แก
รอ นในกระหายนํ้า แกปากเปอ ยเพราะพิษรอนหรอื รอ นใน
(S3-12)

มะไฟแรด เมล็ดท่ลี อนเน้อื ออกแลวของมะไฟแรดใชประกอบอาหาร
ชอื่ ทอ งถิน่ : นมงัว นมวัว (อดุ รธานี), เหมือดคน สรรพคณุ
(พทั ลงุ , ตรัง) • ราก : ชว ยถอนพษิ ผดิ สําแดง; เมล็ด : เผาไฟหรอื ตม แลว
ชือ่ วิทยาศาสตร : Scleropyrum pentandrum (Dennst.) กะเทาะเอาเนื้อในนาํ มาประกอบอาหาร เชน น้ําพริก หรือใส
Mabb. แกง (NE3)
ชอื่ วงศ : SANTALACEAE • ตํารับยาแกไ ขตัวรอ น : แกไ ขต วั รอ น ปวดหวั ถอนพิษไข ไข
ลักษณะเดน : ไมพุม สูงถงึ 7 ม. เปลอื กเรียบ โคนตน มีหนามยาว หวัด ไขปอดบวม (S2-01)
ไดถ ึง 7 ซม. ตามสว นออน ๆ มขี นส้ันหนานุม ใบเดี่ยว เรียงสลบั • ตาํ รับยาประสะจันทนแดง : แกไข ตวั รอน รอนในกระหายน้ํา
รูปร-ี รูปไข 6-18 ซม. ปลายใบแหลม-เรียวแหลม แผนใบดา นบน ไขเซื่องซึม ไขเ ปลีย่ นฤดู (S3-09)
มรี อยกดตามเสน ใบ ดานลางมขี นหนาแนน —ประปราย กา นใบ
ยาว 5-10 มม. บวมพอง ชอดอกคลา ยหางกระรอก ยาว 6-25
ซม. สีเขียว-เหลอื งอมสม หอ ยลงตามกิง่ และลาํ ตน ผลรูปไข ยาว
3-5 ซม. สุกสเี หลอื ง มเี มลด็ เดยี วเนื้อแขง็ รูปรี ยาว 2-3 ซม.

358

มะมว่ งปา่ มะเมา่ สาย

ชอื่ ทองถ่นิ : มะมวงคัน มะมวงปา (ตรงั ) ช่อื ทองถ่ิน : เมาสาย (พษิ ณุโลก)
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Mangifera caloneura Kurz ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Antidesma sootepense Craib
ชื่อวงศ : ANACARDIACEAE ชื่อวงศ : PHYLLANTHACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตน สูงถงึ 30 ม. เปลอื กแตกรองตามแนวยาว ลกั ษณะเดน : ไมพ มุ -ไมต น สูงถึง 9 ม. ตามกิ่งออ น ชอดอก กาน
ตามสวนตาง ๆ เกลี้ยง ใบเด่ียว เรยี งเวยี น รูปขอบขนาน ยาว ใบมีขนสน้ั หนาแนน -เกือบเกลยี้ ง ใบเดี่ยว เรยี งสลบั รปู ขอบ
10-34 ซม. เสน กลางใบที่แผนใบดานบนนนู เนอ้ื ใบหนา กานใบ ขนาน-รปู ไข ยาว 5-10 ซม. ปลายใบเรยี วแหลม มีขนส้ันตามเสน
ยาว 3-10 ซม. โคนบวมพอง ชอ ดอกยาวถึง 30 ซม. สีขาวอม กลางใบดานบน และเสน แขนงใบดา นลาง-เกือบเกล้ียง กานใบ
เหลอื ง ผลรูปไขปลายเบยี้ ว ยาว 4.5-7 ซม. สุกสเี หลืองอมเขียว ยาว 5-10 มม. ชอดอกแยกเพศ ยาว 3-10 ซม. สเี ขียวอมเหลือง
มกี ลนิ่ หอม เน้อื สเี หลืองรสเปร้ียว-อมหวาน ชอผลคลา ยชอ พรกิ ไทย ยาว 6-14 ซม. ผลทรงกลม กวา ง 3-5
สรรพคณุ มม. กา นผลยาว 2-4 มม. ผลสกุ สแี ดง รสเปรีย้ วอมหวานทานได
• ตํารับยาแกองคชาตตายไมเ กนิ 3 ป : แกองคชาตตายไมเ กนิ 3 สรรพคุณ
ป บํารุงองคชาต บํารุงกําลัง (S1-40) • ตํารับยาแกไ ขท ับระดู : แกไ ขท ับระดู (N1-123)

ผลมะมวงปา สกุ

359

มะระขีน้ ก มะสอย
ช่อื ทองถ่นิ : มะระขนี้ ก (พษิ ณุโลก) ชอื่ ทองถิน่ : เขยี วพุมใบมน (สระแกว )
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Momordica charantia L. ช่อื วิทยาศาสตร : Mallotus resinosus (Blanco) Merr.
ชอ่ื วงศ : CUCURBITACEAE ชอ่ื วงศ : EUPHORBIACEAE
ลักษณะเดน : ไมเถาลม ลุก ยาวถึง 4 ม. ตามสว นตา ง ๆ มขี นส้ัน ลกั ษณะเดน : ไมพมุ สงู ถงึ 1.5 ม. ตามกิง่ กานใบ แผนใบดาน
หนาแนน-ประปราย มีมอื พันออกทีซ่ อกใบ ใบเดีย่ ว เรียงเวยี น ใบ ลาง และชอ ดอกสีขนสั้นหนานมุ ใบเดย่ี ว เรยี งตรงขา ม แผน ใบคู
หยกั รปู ฝา มือ 5-9 แฉก กวาง 6-10 ซม. ปลายแฉกแหลม ขอบ ตรงขามมขี นาดตา งกันเลก็ นอย ใบรูปไขกลบั -แกมรี ยาว 7-16
หยักเวา และมีติ่งหนาม โคนใบเวาลึก เน้อื ใบบางออ นนุม กลีบ ซม. ขอบใบหยกั โคนใบมน-รปู ล่ิม มีเสนแขนงใบออกจากโคนใบ
ดอกสเี หลือง 5 กลบี บานกวา ง 3-4 ซม. ผลรูปรี ยาว 5-8 ซม. 1 คู และพบตอ ม 1 คู กา นใบยาว 0.7-1.5 ซม. ชอดอกตัง้ ข้ึนสงู
ปลายเรยี วแหลม ผิวเปนตุม -หนามขรุขระ มสี นั ตามแนวยาว 7-13 ซม. ผลรูป 3 พู กวา ง 1 ซม. ผิวมขี นและหนามสั้น
8-10 สนั เม่ือสกุ สเี หลืองสมแตกเปน 3 สว น เย้ือหมุ เมล็ดสแี ดง สรรพคณุ
สรรพคณุ • ทง้ั ตน : ลดการอกั เสบ อาการปวดบวมของบาดแผล เขา ยา
• ท้งั ตน : แกไขต ัวรอน (N1) รักษาโรครดิ สีดวงทวาร (E2)
• ตํารับยาโรคเอดส : แกโ รคเอดส (N1-192)
• ตํารบั ยาโรคไต : แกโ รคไต (N1-294)
• ตาํ รบั ยาเขียวหอม : แกไ ข ตวั รอ น รอนในกระหายน้ํา แกพิษ
ไขห ดั ไขเหอื ด (หัดเยอรมนั ) ไขอสี กุ อีใส (S3-02)
• ตาํ รบั ยาไขหัด/ไขอีสุกอใี ส/ไขอีดาํ อแี ดง : แกไขหัด ไขเหอื ด
(หดั เยอรมัน) ไขอ สี กุ อใี ส ไขอ ดี าํ อแี ดง กระทงุ พษิ ไข (S3-48)

ซาย : ดอกเพศเมยี , ขวา : ผลออ น

360

มะสอยใหญ่ มะหวด
ช่อื ทองถ่นิ : เขยี วพมุ ใบยาว (สระแกว) ชื่อทองถน่ิ : มะหวด (พษิ ณุโลก), มะหวดผี มะหวด
ชื่อวิทยาศาสตร : Mallotus calocarpus Airy Shaw นอ ย (สระแกว ), หมากหวด (อุดรธานี)
ชื่อวงศ : EUPHORBIACEAE ช่ือวทิ ยาศาสตร : Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh.
ลกั ษณะเดน : ไมพมุ สงู ถึง 3 ม. ตามกิง่ กานใบ แผน ใบดานลาง ช่อื วงศ : SAPINDACEAE
ชอ ดอกและผลสีขนสั้นหนานมุ ใบเดย่ี ว เรยี งตรงขาม แผน ใบคู ลักษณะเดน : ไมพ มุ -ไมต น สงู ถงึ 15 ม. เปลอื กแตกสะเก็ดบาง
ตรงขามมีขนาดตา งกนั ใบรูปไขกลับ-แกมรี ยาว 7-25 ซม. ขอบ ขนาดเลก็ ตามสวนตาง ๆ มขี นสน้ั หนานมุ ใบประกอบแบบขน
ใบหยกั ซฟ่ี น-เรียบ โคนใบรปู ลิม่ คลา ยมะสอย (Mal_res) จุดตา ง นก ใบยอ ย 3-6 คู เรียงตรงขาม รูปใบหอก-ขอบขนาน-ไขกลับ
ทีม่ ะสอยใหญไมมีเสน แขนงใบออกจากโคนใบ ชอดอกตง้ั สั้นกวา ยาว 7-20 ซม. กา นใบสนั้ ยาวไมเ กิน 5 มม. ชอดอกยาวถงึ 30
มาก ยาวไมเกิน 1.5 ซม. ผลรูป 3 พู กวาง 2 ซม. ผวิ มีขนหนา ซม. ดอกสีขาว ผลหยกั 3 พู แตละพรู ูปขอบขนาน ยาว 1.5-2.5
แนน ไมมีหนาม, พบตามปาดงดิบ เปน พชื ถิน่ เดยี ว พบเฉพาะทาง ซม. สุกสีแดง-สีดาํ เน้อื รสหวานทานได
ภาคตะวนั ออกของไทย
สรรพคุณ
• ทัง้ ตน : ลดการอกั เสบ อาการปวดบวมของบาดแผล เขา ยา
รักษาโรคริดสีดวงทวาร, มสี รรพคณุ คลายมะสอย สามารถใช
แทนกนั ได (E2)

สรรพคุณ ซา ย : ผลสกุ , ขวา : เปลอื กลาํ ตน

• ราก : แกท องอดื (N1)
• รากและใบ : รกั ษาโรคเกาท แกไขต ัวรอ น (NE2)
• ใบ : แกไ ตพิการ แกก ระษยั แกบวม ขบั ปส สาวะ เปนยาระบาย
ออน ๆ (R8)
• ผลสกุ : รสหวานหรอื ฝาดเลก็ นอยทานเปนผลไม ชวยแกไ ข
ซา ย : ผลออ น, ขวา : ชอ ดอกเพศผู มาลาเรยี ไขป า (E2)
• ตาํ รับยาโรคประดง : รกั ษาโรคประดง (NE2-018)

361

มะหาด บน : ผลสุก, ลา ง : แผนใบดา นลางของมะหาด
ชอ่ื ทองถ่ิน : มะหาด หาด (ตรัง), มะหาดใหญ มงั ตาน
(พษิ ณุโลก) ชอ่ื ทอ งถนิ่ : ทะโล (อุดรธานี)
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Artocarpus thailandicus C. C. Berg ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Schima wallichii (DC.) Korth.
ชือ่ วงศ : MORACEAE ชอ่ื วงศ : THEACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตนผลัดใบ สงู ถึง 20 ซม. เปลือกแตกสะเกด็ บาง ลักษณะเดน : ไมตน สูงถึง 35 ม. เปลือกแตกเปน รอ งลึกตามยาว
ทกุ สวนที่มชี ีวติ มีนาํ้ ยางสีขาวขนุ ตามกง่ิ ออ น กานชอ ดอก กา นใบ เปลอื กในมีเสีย้ นละเอียดสีขาว ระคายและคนั ตอ ผิวหนงั ตาม
และแผนใบดา นลา งมขี นส้นั สากคายสขี าว-นา้ํ ตาลออน (ถา หาด สว นออน ๆ มีขนส้ันนุม ใบเด่ยี ว รูปรี ยาว 9-18 ซม.ขอบใบจกั
Art_lac จะมขี นสน้ั นมุ สีน้าํ ตาลแดง และมีกานชอ ดอกเพศเมยี ฟน เลอื่ ย-เรียบ ดอกเด่ียว ออกตามซอกใบใกลย อดกานดอกยาว
หรือกา นผล ยาว 1-4 ซม.) ใบเดีย่ ว เรยี งเวียน รปู ร-ี ไขกลบั ยาว 2-7 ซม. กลบี เลีย้ งและกลบี ดอกอยางละ 5 กลบี ดอกสีขาว บาน
6-14 ซม. ขอบใบหยักซ่ีฟน -เรียบ แผน ใบดานลางมขี นหนา กวา ง 4 ซม. เกสรจาํ นวนมากสเี หลอื ง ผลกลม กวา ง 1.5-2 ซม.
แนน -เกือบเกลยี้ ง กา นชอ ดอกเพศเมยี หรือกานผล ยาว 0.3-1ซม. เม่ือแกแ หงแตก 5 ซกี
ผลคอนขา งกลม กวา ง 3-4 ซม. มขี นประปราย สกุ สสี ม เนอื้ ฉ่าํ นํ้า สรรพคุณ
รสหวานอมเปรี้ยวทานได • เปลือก : สมานธาตุ แกท องรวง; แกน : แกซ างโลหิต แกโ รค
สรรพคณุ กระษยั บาํ รงุ โลหติ แกไขทองเสีย; ดอก : แกไ ข บาํ รงุ หัวใจ
• แกน : นําไปทําปวกหาด แลวใชเขายาตาํ รบั ยาถาย (N1) (R7)
• ตาํ รับยาโรคลมชกั : แกโ รคลมชัก (N1-200) • กิ่งออ นและเนอื้ ไม : แกค ลน่ื ไส แกปวดหู (NE2)
• ตํารับยาปรบั ธาต/ุ ปวดเมื่อย/ปวดขอ-เอ็น : ชว ยปรับธาตุ แก
ปวดเมอื่ ย ปวดเขา -ขอ-เอน็ แกเอ็นพิการ (S2-26)
• ตาํ รับยาละลายลม่ิ เลือด : ชวยละลายล่มิ เลือด บรรเทาอาการ
เสนเลอื ดตบี (S2-30)
• ตาํ รับยาแกปวดเม่อื ยเสน เอ็น : แกปวดเมื่อยตามเสนเอน็ เสน
เอ็นอักเสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ-อมั พาต (S2-31)
• ตาํ รับยาโรคอัมพฤกษ- อมั พาต : รักษาอัมพฤกษ- อัมพาต
(S2-33)
• ตํารบั ยารกั ษากระดูกทับเสน : รักษาอาการกระดกู ทับเสน
(S2-66)
แกน มะหาด

362

มันนก มนั พาด
ชือ่ ทองถิน่ : หัวกะทาด (พิษณุโลก) ช่ือทอ งถนิ่ : มนั เทยี น มนั นก (พิษณโุ ลก), มนั แซง
ชื่อวิทยาศาสตร : Dioscorea birmanica Prain & Burkill (อดุ รธานี)
ชือ่ วงศ : DIOSCOREACEAE ชื่อวิทยาศาสตร : Dioscorea oryzetorum Prain & Burkill
ลักษณะเดน : ไมเ ถาลม ลุก ยาวถึง 15 ม. เถาจะแหง หลงั ผลแก ชื่อวงศ : DIOSCOREACEAE
มีรากสะสมอาหารใตดนิ (หวั ) เนอ้ื ในสีขาว ตามสว นออน ๆ มขี น ลกั ษณะเดน : ไมเถาลมลุก ยาวถึง 5 ม. เถาจะแหงหลังผลแก
สัน้ -เกลย้ี ง เถากลม ตน ออนมหี นาม ใบเด่ียว เรียงเวียน รูปหวั ใจ มีรากสะสมอาหารใตดนิ (หัว) รปู ร-ี เกือบกลม กวา งถงึ 7 ซม.
กวาง 10-15 ซม. มเี สน แขนงใบออกจากโคนใบ 7-11 เสน แผน เน้อื ในสขี าว-ครมี ตม ทานไดไ มค นั ตามสว นตาง ๆ เกลย้ี งและ
ใบดา นบนมรี อยกดตามแนวเสน ใบ กานใบยาว 5-10 ซม. เปน ไมมีหนาม เถากลม ใบเดย่ี ว เรียงเวียน รูปขอบขนานแคบ กวา ง
เหลี่ยม ผลรปู คอ นขางกลม กวาง 2-2.5 ซม. มปี กตามแนวต้ัง 3 1.5-2.5 ซม. ยาว 7-10 ซม. มเี สนแขนงใบออกจากโคนใบ 3-5
ปก ตดิ เปนชอ ผล ยาว 10-20 ซม. เสน กานใบยาว 0.7-2.7 ซม. ผลรูปกลมแบน กวาง 2-2.5 ซม.
สรรพคุณ มีปก ตามแนวต้ัง 3 ปก ติดเปนชอ ผล ยาว 3-5 ซม.
• หวั : สมานแผลภายใน บํารุงเสนเอ็น (N1) สรรพคุณ
• หัว : ตม /เผากิน บํารุงเสนเอน็ (N1)

ผลออนของมันนก กลางซาย : ผล, กลางขวา : เถาและโคนกานใบ, ลา ง : หวั ใตดิน

363

มันเสา
ชอ่ื ทองถิน่ : มันเสา (อุดรธาน)ี
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Dioscorea alata L.
ช่อื วงศ : DIOSCOREACEAE
ลักษณะเดน : ไมเ ถาลม ลกุ ยาวถึง 20 ม. เถาจะแหงหลงั ผลแก
มรี ากสะสมอาหารใตด ิน (หัว) เปน แทง ยาวหรือคอนขา งกลม ยาว
10-50 ซม. ตมทานไดไ มค นั ตามสวนตา ง ๆ เกลยี้ งและไมม ี
หนาม เถาและกา นใบมคี รบี สีด่ าน ใบเด่ียว เรยี งตรงขาม รูปไข
กวา ง ยาว 6-12 ซม. มเี สนแขนงใบออกจากโคนใบ 5-9 เสน กา น
ใบยาว 4-10 ซม. ผลรปู กลมแบน กวาง 2.5-4 ซม. มปี กตามแนว
ตงั้ 3 ปก ติดเปน ชอ ผล ยาว 10-20 ซม.
สรรพคณุ
• หัว : แกโรคไต มามอกั เสบ (NE3)

มา้ ทลายโรง บน : ผล, กลาง : ยอดมีขนสีสนมิ , ลา ง : เถา
ชอ่ื ทอ งถ่นิ : มากระทืบโรง (พิษณุโลก), มากระทบื สรรพคณุ
โรง มาทลายโรง (สระแกว ), มา กระทืบโรง • เถาหรือราก : บํารงุ กําลงั แกปวดเม่อื ย (E2)
มาทลายโรง แสมาทลาย ยา นเอน็ มา เอ็นมา (ตรัง) • เถา : บํารงุ กาํ ลงั (N1)
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Neuropeltis racemosa Wall. • ตํารับยาแกปวดเม่ือย-บํารงุ กาํ ลัง : แกป วดเมือ่ ย บาํ รุงกาํ ลงั
ชือ่ วงศ : CONVOLVULACEAE (E1-05)
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเน้อื คอนขา งแขง็ ยาวถึง 30 ม. เปลือกมี • ตาํ รบั ยาแกป วดเม่อื ย-กระดกู ทบั เสน : แกป วดหลงั ปวดเอว
ตุม-หนาม ยาวถึง 1.3 ซม. ไมพ บนํา้ ยางสีขาว ตามสว นออน ๆ มี ปวดไขขอ ปวดกระดกู แกก ระดูกทับเสน บํารงุ ธาตุ (E2-216)
ขนสัน้ สสี นมิ ใบเดี่ยว เรยี งเวยี น รูปรี-แกมขอบขนาน ยาว 6-17 • ตาํ รบั ยาอยไู ฟ/มดลูกเขาอู/ไสเ ลอ่ื น : ใชแทนการอยไู ฟ มดลูก
ซม. กา นใบยาว 1-2 ซม. ชอดอกออกตามกง่ิ ยาวถึง 10 ซม. ผลมี เขา อไู ว แกไ สเ ลือ่ นท้งั ชายและหญงิ (E3-01)
ปกรปู ไขกวา ง เนื้อบางคลา ยใบสีขาวอมเขยี ว ตดิ เมล็ดรปู กลม
บริเวณกลางปก กวา ง 7 มม. เมื่อแกแ หง แตก 5 ซีก

364
ดอกบานกวา ง 8-10 มม. มกี ลิน่ หอม ผลรปู ไข ยาว 2-3 ซม. ติด
เดย่ี วหรือคู เมอ่ื สกุ สเี หลืองสม
สรรพคุณ
• ตํารับยาโรคเบาหวาน : แกโรคเบาหวาน (S2-22)

บน : เถาสด, ลา ง : เถาแหง ของมาทลายโรง ซา ย : ผลออ น, ขวา : เปลือกลําตน ของมกู เขา
• ตํารับยาแกปวดเมือ่ ย/บํารงุ รางกาย/อมั พาต : แกปวดเมือ่ ย โมกเครือ
ตามเสน-ขอ -หลัง-เอว อมั พาต บาํ รงุ รางกาย ชวยใหเจรญิ ชื่อทอ งถน่ิ : เครอื ไสตัน (อดุ รธาน)ี , เดือยดิบ
อาหาร (E3-02) โมกเครือ (ตรัง), เถาล้นิ เสอื เครือไสต นั (พิษณโุ ลก),
• ตาํ รับยาแกปวดเมอ่ื ย : แกปวดเมื่อย (N1-57) ไสตัน ไสปลาไหล เครือไสตนั (สระแกว)
• ตาํ รับยากาํ ลังฮอสะพายควาย : บํารุงกาํ ลงั แกปวดเม่ือยตาม ชื่อวทิ ยาศาสตร : Amphineurion marginatum (Roxb.) D. J.
รา งกาย (S1-43) Middleton
• ตํารับยาโรคเบาหวาน : แกโรคเบาหวาน (S2-22) ชื่อวงศ : APOCYNACEAE
• ตํารบั ยาโรคประดงเลือด : แกประดงเลอื ด เลือดขน้ึ มอี าการ ลักษณะเดน : ไมเถาเนอื้ แข็ง ยาวถึง 20 ม. ทุกสวนทม่ี ีชวี ติ มีนา้ํ
คันตามผิวหนัง (S2-27) ยางสขี าวขนุ เปลือกสีนาํ้ ตาลแดงและมีชองอากาศ ตามขอเปน
• ตาํ รับยาโรคความดันโลหติ : ชวยลดความดันโลหิตสงู (S2-39) สนั นูน ตามสว นตาง ๆ เกลยี้ ง ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขา ม รูปขอบ
• ตํารับยาแกปวดเมื่อยกลามเน้ือ-เสนเอ็น/บาํ รงุ กาํ ลัง : แกป วด ขนานแกมรี ยาว 8-17 ซม. ปลายเสน แขนงใบจรดกันใกลข อบใบ
เมื่อยกลา มเน้ือ-เสนเอ็น บํารุงกําลัง (S2-61) มรี อยกดตามแนวเสนแขนงใบท่ีผิวใบดานบน ผิวเกล้ียง กานใบ
มกั มสี ีแดง กลีบเลี้ยงและกลบี ดอกอยา งละ 5 กลีบ ดอกสีขาว
มกู เขา ดอกบานกวาง 3 ซม. ผลแบบฝกติดคู เปนแทง ยาว 30-50 ซม.
ชื่อทอ งถนิ่ : มกู เขา (ตรัง) หนา 1 ซม. เมลด็ มพี ขู นท่ีปลายดา นหนึ่ง
ช่อื วิทยาศาสตร : Hunteria zeylanica (Retz.) Gardner ex
Thwaites
ชือ่ วงศ : APOCYNACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน สูงถงึ 20 ม. เปลือกเรียบ และมชี อ งอากาศ
ตามสว นท่มี ีชวี ิตมนี ้าํ ยางสีขาวขนุ และไมมขี น ใบเด่ียว เรยี งตรง
ขาม รปู รแี คบ-ขอบขนาน ยาว 7-15 ซม. ปลายใบเรยี วยาวคลาย
หาง เสนแขนงใบจาํ นวนมาก ปลายเสน ว่งิ ไปจรดเสนขอบใบใกล
ขอบใบ ผวิ ใบเกลยี้ ง กานใบยาว 1-2 ซม. กลบี ดอกสขี าว 5 กลีบ

365

ลา ง : ฝก แกของโมกเครือ ลาง : ฝก ออนของโมกแดง
สรรพคณุ สรรพคุณ
• ทั้ง 5 : แกโ รคบิด ทอ งรว ง (E2) • ตํารบั ยาแกองคชาตตายไมเ กิน 3 ป : แกองคชาตตายไมเ กิน 3
• ราก ใบ และเถา : บํารุงกาํ ลัง บาํ รงุ เสนเอ็น (N1) ป บาํ รุงองคชาต บํารงุ กาํ ลงั (S1-40)
• ราก : ชว ยขับระดูเสยี แกไข แกข ดั เบา (NE3) • ตาํ รับยาบํารงุ เลอื ด/หัวใจ/รา งกาย : บํารงุ เลือด ดมู เี ลอื ดฝาด
• ตํารับยาบํารงุ รกั ษามดลูก : ชว ยบํารงุ รกั ษามดลูก บํารงุ สตรี บาํ รุงหัวใจ บํารุงรางกายท้ังชาย-หญงิ แกอาการซูบผอม
หลงั คลอด มดลกู พกิ าร (S2-60) (S2-51)

โมกแดง
ชื่อทอ งถน่ิ : ไมม กู โมกแดง (ตรัง)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Wrightia dubia (Sims) Spreng.
ชอื่ วงศ : APOCYNACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพุม สงู ถึง 2 ม. ตามสว นตา ง ๆ มีน้าํ ยางสีขาว
ขนุ และไมม ีขน ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขา ม รปู ร-ี ไขก ลบั ยาว 7-20
ซม. กานใบยาว 2-10 มม. แผน ใบมีจดุ โปรงแสงท่วั ไป ชอ ดอก
ยาว 2.5-4 ซม. ออกทป่ี ลายกิ่ง มกี ลบี ดอก 5 กลีบ สแี ดงอม
ชมพู-สีขาว ดอกบานรปู กรวย กวา ง 4-5 ซม. ผลแบบฝก ติด 1 คู
เปน แทง ยาว 13-30 ซม. ผวิ ไมม ีชอ งอากาศ, พบตามปาดงดิบชื้น
ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ภาคตะวันออกเฉยี งใต และภาคใต

366

โมกมนั โมกใหญ่
ชอ่ื ทองถ่นิ : โมก โมกมัน (พัทลุง), โมกมัน ช่ือทอ งถิน่ : โมกหลวง (พิษณโุ ลก)
(อดุ รธานี) ช่ือวิทยาศาสตร : Holarrhena pubescens
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. Wall. ex G. Don
ชื่อวงศ : APOCYNACEAE ชือ่ วงศ : APOCYNACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต นผลัดใบ สูงถงึ 20 ม. เปลือกแตกเปนสะเก็ด ลักษณะเดน : ไมตน ผลดั ใบ สงู ถึง 15 ม. เปลอื กเรยี บ-เปน
หนา ทกุ สวนมีนํา้ ยางสีขาว ตามสว นตา ง ๆ มขี นสน้ั หนาแนน ใบ สะเกด็ หนาเลก็ นอ ยและมชี องอากาศหนาแนน ทุกสวนมีนํา้ ยางสี
รปู รี-รปู ขอบขนาน ยาว 6-15 ซม. ดอกสีขาวครมี กลีบดอก 5 ขาวขุน ตามสว นตา ง ๆ ขนสั้นนุม ใบเดี่ยว เรยี งตรงขาม รปู รี
กลีบ ดอกบานกวา ง 4-5 ซม. กลางดอกมีจบี เปนกะบังมกั มีสีชมพู ยาว 10-20 ซม. แผน ใบบาง กลบี ดอกสีขาว 5 กลีบ กลางดอกสี
กะบงั จกั เปน แฉกไมส มา่ํ เสมอ ผลเปน ฝก เปน แทง ยาว 10-30 ซม. เหลอื ง ดอกบานกวา ง 3-4 ซม. มีกลิน่ หอม ผลออกเปน ฝก คู หอย
หนา 2-3 ซม. ผวิ มีชอ งอากาศและขนส้ัน เมอ่ื แกแ หงแตก 2 ซกี ลง ยาว 18-30 ซม. หนา 6 มม. มชี อ งอากาศกระจาย เมล็ดมีพู
เมลด็ มพี ขู นติดทป่ี ลายดานหน่งึ ขนติดทปี่ ลายดา นหนง่ึ
สรรพคณุ สรรพคณุ
• เปลือกหรอื ยาง : แกพิษแมลงสตั วกดั ตอย (NE3) • เปลือกและใบ : รกั ษาโรคหดิ (NE3)
• ตํารับยาโรคมะเรง็ ตับ/ฝในตับ/ตบั อกั เสบ : รกั ษาโรคมะเรง็ • เนื้อไม : แกไ ขม าลาเรีย (N1)
ตับ (ระยะท่ี 1–3), โรคฝในตับ, โรคตบั อกั เสบ, โรคกาฬลงตบั • ตํารบั ยาไขก ําเดาใหญ : แกไ ขก ําเดาใหญ (S2-47)
(มีอาการเพอคลมุ คลั่งและนยั นต าเปนสีแดงรว มดวย) (S3-74)

367

เมอื่ ยดาํ เมอื่ ยดูก

ช่อื ทองถ่นิ : เถาเม้ือย (พิษณุโลก), เม่อื ยดํา (ตรัง, ชอ่ื ทองถิ่น : เม่ือยแดง (ตรงั , พัทลงุ )
พัทลงุ ) ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Gnetum macrostachyum Hook. f.
ชื่อวิทยาศาสตร : Gnetum montanum Markgr. ชื่อวงศ : GNETACEAE
ชอ่ื วงศ : GNETACEAE ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนอ้ื แข็ง ยาวถึง 20 ม. เนื้อไมดา นในมีลายสี
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนื้อแขง็ ยาวถึง 20 ม. เนอื้ ไมดานในมลี ายสี นํ้าตาลแดง เปลือกเรยี บ-มีชองอากาศนูนกระจายท่วั (จุดตา งจาก
นาํ้ ตาลดาํ เปลือกมีชอ งอากาศจาํ นวนมาก-แตกสะเก็ดหนา ใบ เมื่อยดํา Gne_mon) ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขา ม รปู รีแกมขอบขนาน
เดย่ี ว เรียงตรงขา ม รปู ไข-รูปรแี กมขอบขนาน ยาว 10-20 ซม. ยาว 8-16 ซม. ผิวใบเรียบ เกลีย้ ง เน้ือใบหนา ใบแหงสีนํ้าตาล
ผิวใบเกลีย้ ง จดุ เดนของเมอ่ื ยดาํ อยูทีม่ ีเน้ือใบหนา แผนใบดา นบน ชอผลหอ ยลงยาวถึง 10 ซม. ผลรปู รี ยาว 2-3 ซม. ปลายมนมตี ่ิง
มรี อยกดตามแนวเสน แขนงใบ และใบแหง มสี ดี ํา, ชอ ดอกเพศผู แหลม ไมม กี านผล โคนผลมขี นสนี ้ําตาล ยาวถงึ 5 มม. ผลสกุ สี
แยกแขนง ชอยอ ยยาว 5-15 ซม. ตงั้ ขน้ึ ชอ ดอกเพศเมียออก แดง, พบตามปา ดบิ แลงและปา ดิบชน้ื ทว่ั ทุกภาค ยกเวน ภาค
เด่ียวหรอื เปนกระจุก หอ ยลงยาว 15-30 ซม. ผลรูปรีปลายแหลม เหนอื
ยาว 2-3 ซม. มกี า นผลยาว 5-10 มม. โคนกานไมม ีขน ผลสกุ สี สรรพคุณ
แดง ผลแหง สดี ํา, พบตามปา ดิบแลง ปาดิบชื้น และปา ดบิ เขาทว่ั • เถา : แกป วดเม่อื ย บาํ รงุ กาํ ลัง (S3)
ประเทศ • ตาํ รับยาโรคประดงเลือด : แกป ระดงเลือด เลอื ดขึน้ มอี าการ
สรรพคณุ คนั ตามผวิ หนัง (S2-27)
• เถา : แกปวดเมือ่ ย (N1) • ตํารบั ยาแกปวดเม่ือยกลา มเนือ้ -เสนเอ็น/บํารุงกาํ ลัง : แกปวด
เม่อื ยกลามเน้ือ-เสนเอน็ บํารุงกําลัง (S2-61)

หนาตัดเถาเมอ่ื ยดาํ หนาตดั เถาเม่ือยดูก/เมื่อยแดง

368

เม่าไข่ปลา เม่าสรอ้ ย
ชื่อทอ งถ่นิ : เมาไขป ลา (พษิ ณโุ ลก) ชื่อทองถนิ่ : เม็ดขาวสาร (อดุ รธานี), เมา สรอ ย
ชือ่ วิทยาศาสตร : Antidesma ghaesembilla Gaertn. (พิษณโุ ลก)
ชือ่ วงศ : PHYLLANTHACEAE ชื่อวิทยาศาสตร : Antidesma acidum Retz.
ลักษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 15 ม. ตามสว นออน ๆ และชอ ดอกมี ชือ่ วงศ : PHYLLANTHACEAE
ขนสั้น ใบเด่ียว รูปรีกวาง ยาว 5-10 ซม. โคนใบมน-เวา ปลายใบ ลักษณะเดน : ไมพ ุม สงู ถึง 6 ม. ตามสวนออ น ๆ และชอดอกมี
มน-มีต่งิ ส้นิ แผน ใบดานลางมขี นประปราย-เกลี้ยง ใบออนรสฝาด ขนส้ันหนาแนน-ประปราย ใบเดี่ยว รปู ร-ี ไขก ลับ ยาว 4-10 ซม.
อมเปรยี้ ว กา นใบยาว 1-2 ซม. ชอ ดอกแยกเพศ คลา ยหาง โคนใบรปู ลิ่ม-มน แผนใบดานบนมรี อยกดตามแนวเสนแขนงใบ
กระรอก ยาว 3-7 ซม. ชอ ดอกเพศผสู ีครีม ชอผลคลายชอ พรกิ แผน ใบดา นลา งเกลย้ี ง-มีขนประปราย เนอื้ ใบหนา ใบออนรส
ไทย ผลยอยทรงกลม กวา ง 5 มม. กา นผลยาว 2 มม. ผลออ นสี เปรี้ยว กา นใบยาว 2-7 มม. บวมหนา ชอดอกแยกเพศ คลา ยหาง
เขยี วออ น สกุ สีแดง-ดาํ รสเปร้ียวอมหวานทานได กระรอก ยาว 5-10 ซม. ชอดอกเพศผูส ีเหลืองอมเขยี ว ชอ ผล
คลา ยชอ พริกไทย ผลยอ ยทรงกลม กวาง 5 มม. กานผลยาว 2-3
มม. ผลออ นสเี ขียวออ น สกุ สแี ดง-ดาํ รสเปรย้ี วอมหวานทานได
สรรพคณุ
• ใบ : รกั ษาและบํารงุ สตรหี ลังคลอดบุตร (NE3)
• ตาํ รบั ยาแกไขทบั ระดู : แกไขทับระดู (N1-159)

สรรพคณุ
• ผลสุก : ทานชวยระบาย ถา ยทอ ง; ยอดออนและผลดิบ-สุก : มี
รสเปร้ยี วอมหวาน ทานเปนผัก ใชป รุงอาหาร หรอื ทานเปนผล
ไม (NE3)
• ใบสด : บดเปนยาพอกแผลสด เปนยาสมานแผล และแกบวม
บรรเทาความเจ็บปวดจากกระดกู หัก ชาวอาขา และเยาใชร าก
และใบหรอื ท้ังตน ตาํ คั้นนา้ํ ทาหรือตม อาบแกอ าการคัน อาการ
บวม อกั เสบ ตม ดืม่ เปน ยาบาํ รุงกาํ ลงั ชวยขับปส สาวะ (R18)
• ตํารับยาแกไ ขทับระดู : แกไขท บั ระดู (N1-123)

369

เมา่ เหลก็ ยมหอม
ชอื่ ทองถิน่ : เมา เหลก็ (ตรงั ) ช่ือทอ งถิ่น : ยมหอม (พษิ ณุโลก)
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Diospyros racemosa Roxb. ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Toona ciliata M. Roem.
ชือ่ วงศ : EBENACEAE ชอ่ื วงศ : MELIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถึง 20 ม. เปลือกแตกเปนรอ งลกึ ตามยาว ลักษณะเดน : ไมต น สงู ถึง 40 ม. เปลือกแตกสะเก็ดตามแนว
สดี ํามีเน้ือแขง็ หนาคลา ยถาน ท่ีปลายยอด กลีบดอก กลบี เล้ียง ยาว ตามสว นออน ๆ มีขนสัน้ ใบประกอบแบบขนนก ใบยอ ยขา ง
และผลออ นมขี นสน้ั นมุ ใบเด่ยี ว เรียงสลับ รูปใบหอก-ขอบขนาน ละ 7-15 ใบ เรียงสลบั รูปไข- ใบหอก ยาว 7-16 ซม. โคนเบีย้ ว
ยาว 15-25 ซม. แผน ใบหนาคลา ยแผนหนงั เกล้ียง เสนกลางใบ ปลายใบเรยี วแหลม กานใบยอยยาว 1-2 ซม. ชอ ดอกยาวถงึ 50
เปนรองท่ีแผนใบดา นบน กานใบยาว 1-1.5 ซม., ผลทรงกลม ซม. ดอกสขี าว กลีบเล้ยี งและกลบี ดอกมี 5 กลบี ผลรปู รยี าว ยาว
กวาง 2.5-5 ซม. ขั่วผลมกี ลีบเลย้ี งติดคา ง 4 แฉก ๆ ยาว 1-1.5 2-3 ซม. ผวิ มีชองอากาศ เม่ือแกแ หง แตกเปน 5 ซกี แกนกลางมี
ซม. กลบี เลี้ยงยกขึ้นไมแนบตดิ ผล, พบตามปาดงดบิ ชนื้ ในภาคใต หา เหลี่ยม เมลด็ มีปกท้ังสองดา น
สรรพคณุ สรรพคณุ
• ตํารบั ยาบํารุงกาํ ลงั : ชว ยบาํ รุงกําลัง (S2-74) • เปลอื ก : แกลม บํารงุ เลือด, หรือใชเขายาตํารบั ยาหอมนวโกฐ
(N1)
• ราก : ตม น้าํ ดม่ื เปนยาบาํ รุงหัวใจ บํารุงธาตุ ถอนพษิ ผดิ สําแดง
แกพิษเบือ่ เมา แกเ มาสรุ า แกไ ขทกุ ชนิด; ใบ : กินเปนยา
ถอนพิษเบ่อื เมา ลดความรอน ลน้ิ แข็งกระดาง; เถา : ตม นํ้าดื่ม
หรือถอนพิษผิดสําแดง ถอนพษิ ตานซาง (R18)

ซาย : แผน ใบดานลาง, ขวา : ฝลของเมา เหลก็ บน : ผลออ น, ลางขวา : ผลแกแ หงแตก

370

ยมหิน ยอดิน
ชอื่ ทอ งถิ่น : ยมหนิ (อุดรธานี) ชอ่ื ทองถ่ิน : ยารากเหลอื ง ยอแหยง (พิษณุโลก)
ชื่อวิทยาศาสตร : Chukrasia tabularis A. Juss. ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Morinda angustifolia Roxb.
ชือ่ วงศ : MELIACEAE var. angustifolia
ลักษณะเดน : ไมต น ผลัดใบ สงู ถึง 30 ม. เปลือกแตกเปนรอ งลกึ ชื่อวงศ : RUBIACEAE
ตามยาว ตามสว นตา ง ๆ มขี นสนั้ หนานมุ คลา ยกาํ มะหยี่ ใบ ลักษณะเดน : ไมพ ุม สงู ถึง 4 ม. ตามสว นตาง ๆ เกล้ียง ใบเดีย่ ว
ประกอบแบบขนนก 1-2 ชัน้ ใบยอ ยขา งละ 10-15 ใบ รูป เรยี งตรงขา มต้งั ฉาก รปู ใบหอก ยาว 13-25 ซม. โคนใบสอบเรียว
ไข-แกมใบหอก ยาว 4-15 ซม. โคนใบเบ้ยี ว ปลายใบหยกั เปนติ่ง ปลายใบเรยี วแหลม กา นใบยาว 5-10 มม. ชอ ดอกเปน กระจุก
ส้นั กานใบยอ ยยาว 4-8 มม. ชอดอกตงั้ ข้ึน ยาวถงึ 50 ซม. กลีบ กลม กลบี ดอกสีขาว มี 5 กลีบ เปนหลอดยาว 1.6-3 ซม. ผลคอน
ดอกสเี หลอื งออน 5 กลีบ ผลรกี วา ง ยาว 4-5 ซม. ปลายมีจะงอย ขางกลม ยาว 1-1.5 ซม., พบตามปา เบญจพรรณและปาดบิ แลง
แหลม เปลอื กแขง็ มีชองอากาศนนู สีนํ้าตาล เม่อื แกแตกเปน 3-5 ที่ระดบั ความสงู 500- 1,000 เมตรจากน้ําทะเล
เสีย่ ง เมลด็ มปี ก สรรพคุณ
สรรพคณุ • ราก : แกไ ข บาํ รงุ กําลัง; ใบ : แกเชื้อรา (N1)
• เปลอื ก : ชว ยสมานแผล รักษาสวิ อกั เสบ (NE3)

ซา ย : ผลออน, ขวา : ชอ ดอก

371

ยอปา่ รากยอปา
ชอ่ื ทอ งถนิ่ : ยอเถอื่ น (พทั ลุง, ตรัง), ยอปา ยางแดง
(อดุ รธาน,ี พิษณุโลก) ชอ่ื ทองถิน่ : ยางแดง (พษิ ณโุ ลก)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Morinda coreia Buch.-Ham. ชื่อวทิ ยาศาสตร : Dipterocarpus turbinatus C. F. Gaertn.
ชือ่ วงศ : RUBIACEAE ชือ่ วงศ : DIPTEROCARPACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 15 ม. เปลอื กแตกรองลึกตาม ลกั ษณะเดน : ไมตนไมผ ลดั ใบ สูงถงึ 40 ซม. เปลือกแตกเปน
ยาว-ส่เี หลย่ี มหนา ที่ขอก่ิงออนมีหูใบรปู สามเหลย่ี ม ใบเดยี่ ว เรยี ง สะเก็ด เนือ้ ไมม ีน้าํ มันยางกลิ่นหอม ใบรปู ไข- ขอบขนาน ยาว
ตรงขามตงั้ ฉาก รูปรี-หอกกลับ ยาว 13-25 ซม. โคนใบสอบเรียว 15–20 ซม. ผวิ ใบเกลีย้ ง ใบแหง มันวาวเปนสนี ้าํ ตาลทองแดง
แผน ใบดา นลา งเกลีย้ ง-มีขนสั้นหนานุม กา นใบยาว 1-2 ซม. ชอ ผลกลมรี มี 2 ปกรปู ขอบขนาน, พบตามปา ดงดบิ แลงท่ัวไป
ดอกเปนกระจกุ กลม กานชอ ดอกยาว 2-6 ซม. ดอกรูปดอกเขม็ ยกเวนภาคใต
กลีบดอกสขี าว 4-5 กลีบ หลอดกลบี ดอกยาว 1-1.5 ซม. ผลก สรรพคณุ
ลม-แกมรี ยาว 3-4.5 ซม. ผวิ เรยี บเห็นชองผลยอยรูปหลาย • ยาง : แกป วดฟน (N1)
เหลยี่ ม, พบตามปาผลัดใบและชายปา ดงดิบ ในพ้นื ทีด่ นิ ปนทราย • นํ้ามนั จากตน : รกั ษาแผลพพุ อง แผลเปอ ย (NE2)
หรือดินลูกรังทวั่ ประเทศ

สรรพคุณ
• เน้อื ไม : แกโรคดีซาน (N1)
• ราก : แกเบาหวาน รักษาโรคกระเพาะ)
• ตาํ รับยารกั ษาฝหรอด/ฝอกั เสบเร้อื รงั : รกั ษาฝอกั เสบ ฝเรอื้ รัง
ลดการขยายตัวของฝ (“ฝห รอด” เปนภาษาไทยใต คือ ฝทเ่ี ปน
ตลอด มีการอักเสบเร้อื รงั ) (S1-01)
• ตํารับยารกั ษามดลูกเคลือ่ น/บํารงุ โลหติ : รักษามดลกู เคล่อื น
บาํ รุงโลหิต (S2-45)

372

ซา ย : ยอดและกา นใบออนมขี นสขี าว, ขวา : การขุดเจาะน้ํามัน
ยางแดง

ยางนา ยางนา
ช่อื ทองถ่ิน : ยาง ยางนา (ตรัง, อุดรธานี) • เปลือก : ชว ยฟอกโลหติ แกปวดขอ แกต บั อักเสบ (NE3)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don • ตาํ รบั ยารกั ษากลาก/เกล้อื น/สงั คงั /ตกขาว : รักษาโรคผวิ หนัง
ชื่อวงศ : DIPTEROCARPACEAE จากเช้อื รา เชน กลาก เกลอ้ื น สังคงั ตกขาว แกอ าการคนั ท่ี
ลกั ษณะเดน : ไมตน ไมผลดั ใบ สูงถงึ 50 ซม. เปลอื กแตกเปน ผิวหนังเร้ือรัง ผดผืน่ คนั (S1-17)
สะเก็ด เนื้อไมม ีนา้ํ มันยางกลนิ่ หอม ใบรูปไข-ขอบขนาน ยาว • ตํารับยารักษาโรคเหงือกและฟน : รกั ษาโรคเหงอื กและฟน
15–25 ซม. ผวิ ใบดานลางและกานใบมขี นนมุ หนาแนน ผลก (S2-88)
ลม-รูปไข ยาว 2–3 ซม. มีครีบตามแนวยาว 5 ครีบ มี 2 ปกรปู
ขอบขนาน, พบตามปาดงดิบในเขตทีร่ าบน้ําทว มถึงหรือในหุบเขา
ทว่ั ประเทศ
สรรพคณุ
• เปลือก : ตมนํ้าดมื่ เปน ยาบํารงุ รา งกาย ฟอกเลือด บาํ รงุ โลหติ
แกต ับอักเสบ และใชท าถนู วดขณะรอน ๆ เปน ยาแกป วดตาม
ขอ; เมลด็ และใบ : มีรสฝาดรอน ตมใสเกลอื ใชอ มแกปวดฟน
ฟนโยกคลอน, น้าํ มันยาง 1 สว น ผสมกบั แอลกอฮอลกนิ 2
สว น แลวนาํ มารบั ประทาน (R67)

ยางมนั หมู
ชอ่ื ทองถนิ่ : ยาง (ตรัง)
ช่อื วิทยาศาสตร : Dipterocarpus kerrii King
ชอ่ื วงศ : DIPTEROCARPACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต นไมผ ลดั ใบ สงู ถึง 50 ซม. เปลอื กแตกเปน
สะเกด็ เน้อื ไมม ีน้าํ มนั ยางกลิน่ หอม ทยี่ อดมหี ใู บรูปเรียวโคง ก่ิง
ออน กา นใบ และผิวใบเกลย้ี ง ใบรูปรี ยาว 9–15 ซม. ใบแหง สี
นาํ้ ตาลทองแดง ผลกลมแบน มี 2 ปกรูปขอบขนาน , พบตาม
ปา ดงดิบชืน้ ในเขตภาคใต

373

ยางมนั หมู ยางยงู
สรรพคุณ ซม. ผิวใบและก่ิงออนเกลี้ยง ผลรูปขอบขนาน ยาว 4–5 ซม
• ตาํ รบั ยารักษากลาก/เกลอื้ น/สังคัง/ตกขาว : รกั ษาโรคผวิ หนัง มีครีบตามแนวยาว 5 ครีบ ผลมี 2 ปกรปู ขอบขนาน, พบตาม
จากเชอ้ื รา เชน กลาก เกล้อื น สงั คัง ตกขาว แกอ าการคันที่ ปา ดงดบิ ช้ืนในเขตภาคใต
ผวิ หนังเร้ือรัง ผดผ่นื คนั (S1-17) สรรพคุณ
• ตาํ รบั ยารักษาโรคเหงือกและฟน : รกั ษาโรคเหงือกและฟน • ตํารับยารักษากลาก/เกลื้อน/สังคงั /ตกขาว : รักษาโรคผวิ หนงั
(S2-88) จากเชือ้ รา เชน กลาก เกลือ้ น สงั คัง ตกขาว แกอ าการคันที่
ผวิ หนังเร้อื รัง ผดผืน่ คนั (S1-17)
ยางยงู • ตํารับยารกั ษาโรคเหงอื กและฟน : รักษาโรคเหงอื กและฟน
ชื่อทอ งถิ่น : - (S2-88)
ชื่อวิทยาศาสตร : Dipterocarpus grandiflorus
(Blanco) Blanco
ชอื่ วงศ : DIPTEROCARPACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน ไมผ ลัดใบ สูงถึง 40 ซม. เปลือกเรยี บ-แตก
สะเก็ดใหญ เนอ้ื ไมม ีนํ้ามันยางกล่ินหอม ใบรปู ไข ยาว 10–25

374

ยางวาด ย่านขลง

ชือ่ ทอ งถ่นิ : ยาง (พัทลงุ ) ชื่อทอ งถน่ิ : ขลง ยา นขลง (ตรงั )
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Dipterocarpus chartaceus Symington ชื่อวทิ ยาศาสตร : Coptosapelta flavescens Korth.
ชื่อวงศ : DIPTEROCARPACEAE ชือ่ วงศ : RUBIACEAE
ลักษณะเดน : ไมต นไมผลดั ใบ สูงถงึ 40 ซม. เปลอื กแตกสะเกด็ ลักษณะเดน : ไมเ ถาเนอ้ื แขง็ ยาวถงึ 20 ม. ตามสว นออน ๆ มี
หรอื รองตื้นตามแนวยาว เน้ือไมมนี า้ํ มันยางกล่นิ หอม กิ่งออนและ ขนสั้น ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขา ม รปู ร-ี ไขกลับ ยาว 6-13 ซม. ปลาย
กา นใบมขี นส้นั ใบรูปไข- รี ยาว 8–13 ซม. ผวิ ใบเกลย้ี ง ผลรปู ใบหยักเปน ติง่ เรียวแหลม กานใบยาว 1 ซม. ชอดอกออกท่ีซอก
กลมรี มี 2 ปกรูปขอบขนาน, พบตามปา ดงดิบในเขตทีร่ าบใกล ใบใกลปลายก่งิ และปลายก่งิ ชอยาวถงึ 7 ซม. กลีบดอกสขี าว-สี
ชายทะเลและปา ชายหาดในภาคใต ครมี เปน หลอดยาว 1-1.3 ซม. ปลายแยก 5 แฉก รปู แถบ ยาว 1
สรรพคุณ ซม. คลายดอกเข็ม กลีบเล้ยี งตดิ ทน ผลทรงกลม เกลี้ยง เมื่อแก
• ตาํ รับยารกั ษากลาก/เกลอ้ื น/สงั คัง/ตกขาว : รักษาโรคผิวหนัง แหง แตกเปน 2 พู เมล็ดจาํ นวนมาก มีปก , พบทีพ่ มา ลาว
จากเชื้อรา เชน กลาก เกลือ้ น สังคัง ตกขาว แกอ าการคนั ที่ เวยี ดนาม และภูมภิ าคมาเลเซยี ในไทยพบทัว่ ไปตามชายปา ดงดิบ
ผิวหนงั เรื้อรงั ผดผ่นื คนั (S1-17) ในระดับความสงู ต่ํา ๆ จนถงึ ประมาณ 900 ม.
• ตาํ รบั ยารกั ษาโรคเหงอื กและฟน : รักษาโรคเหงือกและฟน สรรพคณุ
(S2-88) • ราก : รกั ษาโรคมะเร็ง (S1)
• ราก : ยาถา ยพยาธติ วั กลมทอ่ี ยตู ามผิวหนงั เชน พยาธิตัวจ๊ีด
(S2)

เถาของยานขลงทีข่ ัดเปลือกออกแลว

375

ย่านนมควาย

ชอื่ ทองถนิ่ : กลวยมสุ ัง กลว ยหมสู ัง (ตรัง, พัทลงุ ) หนา ตดั เถายานนมควาย
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Uvaria grandiflora Roxb. ex Hornem. ย่านปด
var. grandiflora ชอ่ื ทองถ่ิน : เถามหาพลงั (สระแกว)
ชือ่ วงศ : ANNONACEAE ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Stephania japonica
ลักษณะเดน : ไมเถาเน้อื แขง็ ยาวถงึ 30 ม. เปลอื กมรี อยปริแตก (Thunb.) Miers var. discolor (Blume) Forman
ตามแนวยาว ตามสวนตาง ๆ มขี นสน้ั นมุ สนี ํ้าตาลแดง มีชอ ง ช่อื วงศ : MENIISPERMACEAE
อากาศ ใบเดี่ยว เรียงสลบั รปู ขอบขนาน-ไขก ลับ ยาว 12-23 ซม. ลักษณะเดน : ไมเ ถาเนือ้ ออน เถามีนํ้ายางใส ไมม หี วั ใตด ินชัดเจน
มเี สนแขนงใบขางละ 14-17 เสน ดอกเด่ียว กลบี ดอกสีแดง 6 ใบรปู หวั ใจ แผนใบดานลา งและกิง่ ออ นมีขนสน้ั หยิกงอหนาแนน
กลีบ รูปขอบขนาน ดอกบานกวา ง 8-10 ซม. เกสรสีครีม ผลรปู กานใบติดแบบใบบวั , พบตามชายปาดงดบิ ทว่ั ประเทศ
ทรงกระบอก ยาว 6-8 ซม. ผิวขรุขระ ติดเปนกลุม ถึง 30 ผล/ สรรพคณุ
กลมุ ผลสุกสีเหลือง • เปลอื ก : บํารงุ กําลัง (E2)
สรรพคุณ
• ทั้ง 5 : บํารงุ โลหติ (S3)
• ตํารบั ยาบํารุงกําลัง : ชวยบาํ รงุ กาํ ลัง (S2-74)

376

ย่านเอน็ ดานในของผลยา นเอ็น
ช่ือทองถนิ่ : ยา นเอน็ เถาเอ็น (ตรงั ) ยายกงั้ เลก็
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Ipomoea rubens Choisy ชอ่ื ทอ งถ่ิน : พญาวานร (ตรัง)
ชือ่ วงศ : CONVOLVULACEAE ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Justicia grossa C. B. Clarke
ลักษณะเดน : ไมเ ถาลมลกุ ยาวถึง 15 ม. เถากลม ตามสว นตาง ช่ือวงศ : ACANTHACEAE
ๆ มขี นสน้ั นุม สขี าว ยอดออนมีนํา้ ยางสขี าว ใบเด่ยี ว เรียงสลบั รูป ลักษณะเดน : ไมพ ุม สงู ถึง 2 ม. ตามสวนออน ๆ และชอ ดอกมี
หัวใจ-คอนขางกลม ยาว 12-20 ซม. โคนใบเวา ลกึ มีเสนแขนงใบ ขนสั้น ตามขอ บวม ใบเด่ียว เรยี งตรงขามต้ังฉาก รปู ใบหอก-รี
ออกโคนใบ 3-4 คู กา นใบยาว 10-20 ซม. ดอกรปู แตร สชี มพอู ม แคบ ยาว 9-17 ซม. ใบแกผวิ เกลย้ี ง ผิวใบดา นบนเปน มนั เงาและ
มวงคลายดอกผักบงุ บานกวาง 6-8 ซม. ผลมีกลบี เลี้ยงหนา 5 มีเสน กลางใบและเสน แขนงใบนนู กา นใบยาว 1-3 ซม. ชอ ดอก
กลบี หุมเปนรูปหยดนํา้ ยาว 4 ซม. ผลกลม กวา ง 1.5 ซม. มี ออกท่ีปลายกิ่งตงั้ ข้ึน ยาวถึง 17 ซม. ดอกยอ ยออกรอบขอ กลีบ
เมลด็ อยูภายใน ดอกสีเขยี วอมขาว ยาว 1.2-1.5 ซม. ปลายกลบี แยก 2 แฉกบน
สรรพคุณ และ 3 แฉกลา ง ดานใบมจี ุดสมี วง ใบประดับรูปไขยาวถึง 8 มม.
• ตํารับยาขับเสมหะในลาํ คอ-อก/แกโรคหอบหดื : ชวยขบั
เสมหะในลําคอ-อก แกห อบหืด (S2-08)
• ตาํ รบั ยาโรคอัมพาตระยะแรก : แกอาการก่ึงอมั พาตหรือ
อมั พาตระยะแรก กลามเน้ือออ นแรง เดนิ ยืนไมปกติ เหน็บชา
(S2-24)
• ตํารับยาปรบั ธาต/ุ ปวดเมอื่ ย/ปวดขอ -เอน็ : ชว ยปรบั ธาตุ แก
ปวดเมอื่ ย ปวดเขา-ขอ-เอน็ แกเ อน็ พกิ าร (S2-26)
• ตํารับยาแกป วดเม่อื ยเสนเอน็ : แกป วดเมื่อยตามเสน เอน็ เสน
เอน็ อกั เสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ-อมั พาต (S2-31)
• ตาํ รบั ยาโรคอมั พฤกษ-อัมพาต : รกั ษาอัมพฤกษ-อัมพาต
(S2-33)
• ตาํ รบั ยาแกป วดเมื่อย/ชาตามปลายมอื -เทา : แกปวดเมื่อย
ตามรางกาย แกอ าการชาตามปลายมือ ปลายเทา (S2-36)
• ตาํ รับยาซอ มแซม/เสริมสรา งเสน เอ็นพกิ าร : ชว ยซอ มแซม
และเสริมสรา งเสน เอน็ ทพี่ กิ าร (S2-53)
• ตํารบั ยารักษากระดกู ทบั เสน : รักษาอาการกระดกู ทับเสน
(S2-66)

377

ดอกของยายกงั้ เลก็
สรรพคุณ
• ใบและยอดออ น : แกปวดเมือ่ ย ลดความดนั โลหติ สูง รกั ษา
ระบบประสาท ขบั ปสสาวะ (S2)

รกฟา้ บน : ผลของรกฟา , ลา ง : เปลอื กตนอายมุ าก
ชอ่ื ทองถ่ิน : เซอื ก (อุดรธานี) สรรพคณุ
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Terminalia alata B. Heyne ex Roth • เปลอื ก : แกทองเสยี แกอาเจยี น บํารุงหวั ใจ ลดความดันโลหติ
ช่อื วงศ : COMBRETACEAE ลา งบาดแผล ชวยฆา เช้ือ และสมานแผล (NE3)
ลกั ษณะเดน : ไมตนผลัดใบ สงู ถงึ 35 ม. เปลือกแตกเปนรอ ง • แกน ปุม หรือปมทล่ี ําตน และผล : แกคุดทะราด แกเสมหะ แก
ลึก-สะเก็ดรปู สเ่ี หลี่ยมเมื่ออายุมาก ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขาม-เกือบ โลหติ แกก าํ เดา แกรดิ สีดวงทวารหนกั (ทําใหห ัวริดสีดวงแหง)
ตรงขาม รูปรี-ขอบขนาน ยาว 15-23 ซม. โคนใบและปลายใบมน แกไ ขท บั ระดู บํารุงโลหติ (R7)
แผนใบดานลางเกลี้ยง-มีขนหนาแนน และทีเ่ สน กลางใบใกลโ คนมี
ตอมหูด 1 คู กา นใบยาว 7-12 มม. ชอดอกคลายหางกระรอก
ยาวถงึ 15 ซม. สเี หลืองอมเขียว ผลรูปขอบขนานแกมรี ยาว 4-6
ซม. มปี กบิดเปนคล่ืนตามแนวยาว 5 ปก

378

รสสคุ นธ์
ชือ่ ทองถ่นิ : เครอื เขาไฟ (พิษณโุ ลก), เชอื กเขาไฟ
ปดคาย (ตรงั ), รสสุคนธ ลิ้นแรด ลิ้นเสือ (สระแกว )
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Tetracera loureiri (Finet & Gagnep.)
Pierre ex Craib
ชอ่ื วงศ : DILLENIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเน้ือแข็ง ยาวถึง 30 ม. เปลือกลอกแผน
บาง-แตกสะเกด็ ส่ีเหล่ยี มบางในเถาอายุมาก ตามกงิ่ แผนใบมขี น
สน้ั สากคาย ใบเดยี่ ว เรียงเวยี น รปู รี-ไขกลบั ยาว 6-15 ซม. ขอบ
ใบจกั ฟนเล่อื ย โคนใบสอบ กานใบยาว 0.5-1 ซม. โคนกานโอบ
กงิ่ ชอ ดอกยาวถงึ 20 ซม. กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกอยา งละ 5
กลบี กลีบดอกและเกสรเพศผสู ขี าว ผลรปู รยี าว 7-10 มม. ปลาย
เปน จะงอยแหลม ตดิ 3 ผล/กลมุ

ซา ย : เปลือกของเถาอายุมาก, ขวา : หนา ตดั เถา
สรรพคุณ
• เถาหรอื ราก : รักษาอาการปวดไขขอ ปวดหวั เขา (E2)
• เถา : แกตกขาว (N1)
• ดอก : บํารุงหวั ใจ แกว งิ เวยี น ใชเขา ตํารบั ยาหอม (NE3-235)
• ตาํ รบั ยาแกปวดเมือ่ ย-กระดกู ทับเสน : แกป วดหลัง ปวดเอว
ปวดไขขอ ปวดกระดกู แกก ระดกู ทบั เสน บาํ รงุ ธาตุ (E2-216)
• ตาํ รบั ยาขบั นว่ิ ในไต-ทางเดินปส สาวะ : ชวยขับนิว่ ในไต และ
ทางเดนิ ปส สาวะ (S2-13)

ระงบั พิษ
กางปลาแดง สมเสรจ็ ระงับ ระงับพิษ

(ตรงั , พัทลงุ )
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Breynia glauca Craib
ชือ่ วงศ : PHYLLANTHACEAE
ลักษณะเดน : ไมพุม สงู ถึง 5 ม. ตามสว นตา ง ๆ เกล้ียง ใบเด่ยี ว
เรยี งสลับระนาบเดยี ว รปู ร-ี ไขก วาง ยาว 3.3-7.5 ซม. แผนใบ
ดา นลา งมีนวลเหน็ ชดั เนอื้ ใบบางออนนุม กา นใบยาว 3-5 มม.
ดอกแยกเพศ ออกเปนกระจกุ ตามซอกใบ ดอกเพศเมียอยูดา นบน
กงิ่ ดอกเพศผอู ยใู ตก่ิง ผลออกเด่ียว ๆ ทรงกลม กวาง 6.5-8 มม.
กา นผลยาว 5-8 มม. สุกสีแดง มีกลีบเลี้ยง 6 กลบี ติดท่ีขวั่ ผล
สรรพคณุ
• ราก : บาํ รงุ โลหติ (S3)
• ตํารบั ยาแกองคชาตตายไมเ กิน 3 ป : แกองคชาตตายไมเกนิ 3
ป บํารุงองคชาต บาํ รุงกาํ ลงั (S1-40)
• ตํารบั ยาไขอสี ุกอีใส : แกโรคอสี ุกอีใส หรือไขสุกใส (S2-38)

บน : ชอดอก, กลาง : ขนสากคายบนผิวใบ, ลา ง : ผลออ น

379

แผน ใบดานลางของระงบั พษิ

ระย่อม รากของระยอม
ชื่อทองถนิ่ : ระยอ ม (พษิ ณโุ ลก), ระยอ มเลก็ รงั
(อดุ รธานี) ชือ่ ทอ งถ่ิน : รัง ฮัง (อดุ รธาน)ี
ชื่อวิทยาศาสตร : Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex ชื่อวทิ ยาศาสตร : Shorea siamensis Miq.
Kurz ชื่อวงศ : DIPTEROCARPACEAE
ช่อื วงศ : APOCYNACEAE ลกั ษณะเดน : ไมต นผลดั ใบ สูงถงึ 30 ม. เปลอื กแตกรอ งลึกตาม
ลักษณะเดน : ไมพ มุ เต้ยี สูงถึง 40 ซม. มีเหงา ใตด นิ ตามสว นท่มี ี ยาว ตามกิ่งออ น กา นใบ แผน ใบและชอ ดอกมขี นสนั้ -เกลีย้ ง ใบ
ชีวติ มนี า้ํ ยางสีขาวขนุ ตามกิง่ ออ น ใบ ชอดอกและผลเกลยี้ ง ใบ เดย่ี ว เรียงเวยี น รปู ไข- แกมรปู ขอบขนาน ยาว 8-20 ซม. โคนใบ
เดี่ยว เรียงตรงขา มหรือรอบขอ มี 2-3 ใบ/ขอ รปู ร-ี หอกกลบั ยาว เวาลึก กานใบยาว 4-9 ซม. ใบกอ นรวงสสี ม -แดง กลบี เลย้ี งและ
10-25 ซม. ชอดอกเปนกระจกุ หนาแนนท่ีปลายกงิ่ มีกา นชอยาว กลีบดอกอยางละ 5 กลีบ กลบี ดอกสเี หลอื ง เรยี งซอ นกันมโี คน
4-10 ซม. หลอดกลีบดอกสีชมพู ยาว 2 ซม. กลีบดอกสขี าว 5 ปองคลา ยทรงหมอ ดนิ เผา ผลมปี กรูปหอกกลับ ยาวถงึ 9 ซม. มี
กลบี ผลออกเปนคู รปู ไข ยาว 1 ซม. โคนผลเชอ่ื มตดิ กนั สุกสดี าํ ปกยาว 3 ปก และปก สัน้ 2 ปก ผลรูปไข ยาว 2 ซม.
สรรพคุณ
• ราก : แกโ รคเบาหวาน แกไข (N1)
• ราก : แกปวด แกไขตวั รอ น เปน ยากลอ มประสาทชว ยใหน อน
หลบั (NE3)
• ตาํ รบั ยาโรคอัมพฤกษ- อมั พาต : รกั ษาอมั พฤกษ- อัมพาต
(S2-32)
• ตํารบั ยาโรคความดนั โลหิต : ชวยลดความดนั โลหิตสงู (S2-39)
• ตาํ รับยาแกน ํ้านมแหง /ขบั นํ้านม : แกน้ํานมแหง ชว ยขับ
นา้ํ นมในสตรหี ลงั คลอด (S3-50)

380

สรรพคณุ ดา นในสีเหลอื ง-อมนํ้าตาล ผลเปนแทง ยาว 4-5 ซม. โคนกลม
• เปลือก : แกนํ้าเหลอื งเสยี (NE3) ปอ ง แหง แตก 2 ซีกตามยาว, พบตามชายปา ดงดบิ ท่วั ประเทศ
• ราก : ตม น้ําดื่มเปนยาแกอ าการปวดทอง อาหารไมย อย แก คลายกบั สรอยอินทนลิ (Thu_gra) แตส รอ ยอินทนลิ แผนใบดา น
อาเจียน และอาการแพทอ ง (R18) ลางมีขน และขอบใบชว งโคนจัก 1-3 พู
• ตาํ รบั ยาโรคลมชกั : แกโ รคลมชกั (N1-200) สรรพคณุ
• แกพษิ เบือ่ เห็ด ลางพิษสารเคมี ยาฆา หญา ยาฆา แมลงทเ่ี ขา สู
รา งกาย แกอ าการเมาคา ง, ชวยฟอกโลหติ แกไข แกร อ นใน
รักษาโรคเบาหวาน (NE3)
• ใบ เถา หรอื ราก : ขบั พิษจากสารเคมี หรอื แกอาการเมาสุรา
(S3)
• ใบ : ตมนาํ้ ดม่ื ขับปสสาวะ หรอื ใชส ดตาํ พอกรักษาผน่ื คันแพ
ลมพษิ (N1)
• ตํารบั ยาโรคเบาหวาน/ลดน้ําตาลในเลือด : รกั ษาเบาหวาน
ลดนํ้าตาลในเลือด แกม ือเทา ชา (NE3-253)
• ตาํ รบั ยาแกพษิ กินผดิ สาํ แดง : แกพษิ กินผดิ สําแดง กนิ ของ
แสลง (S3-35)

บน : ผลจวนแกของรัง, ซา ย : ใบใกลรวง, ขวา : ดอก
รางจดื
ชือ่ ทอ งถ่นิ : รางจืด (พัทลุง, ตรัง, อุดรธาน,ี
พษิ ณโุ ลก)
ชื่อวิทยาศาสตร : Thunbergia laurifolia Lindl.
ชือ่ วงศ : ACANTHACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาลม ลุก ยาวถึง 20 ม. ตามขอ บวม ตามสวน
ตา ง ๆ เกลีย้ ง ใบเดี่ยว เรยี งตรงขาม รปู ไข- แกมใบหอก ยาว
7-18 ซม. ขอบจกั ซฟ่ี น ต้นื หาง ๆ โคนใบมน-ตดั มเี สน แขนงใบ
ออกจากโคน 1 คู ชอ ดอกแบบชอ กระจะ กลีบเลย้ี งสนี ํา้ ตาลอม
เขียว แยก 2 แฉก กลีบดอกเปน หลอดรปู แตร สมี วงอมน้าํ เงนิ -สี
ขาว หลอดยาว 3-4 ซม. ปลายแยก 5 แฉก บานกวาง 6-7 ซม.

381

รางแดง ซาย : แกนของเถาอายมุ าก, ขวา : เปลอื กของเถาอายุมาก
ช่ือทองถน่ิ : คนทดี ํา (ตรัง), เครอื ปลอก (อดุ รธาน)ี ,
เถารางแดง เถาวัลยเ หลก็ (สระแกว ), รางแดง
(พิษณุโลก)
ชอื่ วิทยาศาสตร : Ventilago denticulata Willd.
ช่ือวงศ : RHAMNACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนอ้ื แข็ง ยาวถงึ 30 ม. ตามกงิ่ ออ นและชอ
ดอกมีขนสน้ั เถามลี ายตามแนวยาว เถาอายมุ ากแตกเปน รองตน้ื
แกมรางแหต ามแนวยาว ใบเดยี่ ว เรียงสลบั รูปใบหอก-ขอบ
ขนาน ยาว 9–17 ซม. มเี สนใบยอยเรยี งตามแนวขวาง และผลมี
ปกแบนแถบ ยาว 4–6 ซม. ติดเมลด็ กลมทป่ี ลายดา นหนึ่ง, มี
ลักษณะคลา ยเครือปลอก (Ven_har) แตรางแดงมีจุดตางที่มีขอบ
ใบหยกั ซฟ่ี น หรือจักฟน เลอ่ื ย, แกนของเถาอายุมากมักจะพบแกน
ไมสดี ําไดเ หมือนกับเครอื ปลอก ทําใหบ างคนเรียกวา คนทีดํา
สรรพคุณ
• ทั้ง 5 : แกป วดเมือ่ ย ขบั ปส สาวะ (E2)
• เถา : แกก ษยั บํารงุ ไต (N1)
• เถา : ยาอายุวัฒนะ บํารุงกาํ ลงั (NE3)
• ตํารับยาโรคความดนั โลหิต : ชวยลดความดันโลหิตสูง (S2-39)
• ตํารบั ยาบาํ รงุ กาํ ลัง/ชูกาํ ลงั : ชว ยบาํ รงุ กําลงั ชกู ําลังใหมี
เรีย่ วแรงทาํ งาน (S2-59)
• ตาํ รับยาแกปวดเม่ือยกลา มเนือ้ -เสน เอ็น/บํารงุ กําลงั : แกป วด
เม่ือยกลา มเนื้อ-เสน เอ็น บาํ รงุ กําลงั (S2-61)

ผลแกข องรางแดง ราชครดู าํ
ช่ือทอ งถน่ิ : ชิงดอกเดยี ว (ตรัง)
ชื่อวิทยาศาสตร : Goniothalamus macrophyllus (Blume)
Hook. f. & Thomson
ชอ่ื วงศ : ANNONACEAE
ลักษณะเดน : ไมพุม สูงถึง 7 ม. ตามสวนออ น ๆ มีขนส้นั หนา
แนน สนี ้าํ ตาล ใบเดีย่ ว เรียงสลับระนาบเดยี ว รูปขอบขนาน-หอก
กลบั ยาว 17-35 ซม. เสน แขนงใบในแตล ะขาง 14-25 เสน เปน
รอยกดที่ดานบนแผน ใบ ปลายเสนวง่ิ ไปจรดกันใกลข อบใบ กาน
ใบยาว 1.5-3 ซม. อวบหนา ดอกเดี่ยว ออกตามลาํ ตน และกง่ิ
ใหญ กลบี เล้ียง 3 กลบี สนี ้ําตาล กลีบดอกสเี ขยี ว 6 กลีบ เรียงตวั
คลา ยรปู ไขป ลายแหลม ยาว 3-4 ซม. เนอ้ื หนา ผลรูปรี ยาว 2
ซม. ปลายมีตง่ิ แหลม ติดมากถึง 17 ผล/กลมุ , พบตามปาดงดบิ
ช้ืน ในภาคใต
สรรพคุณ
• ตํารับยาโรคภูมิแพ : แกโ รคภมู แิ พ (S2-19)
• ตํารบั ยาแกปวดเมอ่ื ย/ชาตามปลายมือ-เทา : แกปวดเม่ือย
ตามรา งกาย แกอาการชาตามปลายมอื ปลายเทา (S2-36)

382
• ตาํ รับยารักษามดลูกเคลื่อน/บาํ รุงโลหิต : รกั ษามดลกู เคลอ่ื น
บํารงุ โลหิต (S2-45)
• ตาํ รบั ยาบาํ รงุ กาํ ลัง/ชูกาํ ลัง : ชว ยบาํ รงุ กําลงั ชูกาํ ลงั ใหมี
เรีย่ วแรงทํางาน (S2-59)
• ตํารับยาบํารุงรกั ษามดลกู : ชวยบํารงุ รักษามดลูก บาํ รุงสตรี
หลังคลอด มดลกู พกิ าร (S2-60)
• ตาํ รบั ยาแกป วดเมื่อยกลามเนอื้ -เสนเอน็ /บํารงุ กําลงั : แกปวด
เมือ่ ยกลา มเน้อื -เสนเอน็ บํารุงกําลงั (S2-61)

ผลออนของราชครดู ํา ผลและกา นชอผล
ราชดดั สรรพคุณ
ชื่อทอ งถิน่ : ราชดัด (พทั ลุง, ตรงั ) • ตาํ รับยาหอมนวโกฐ : แกค ลื่นเหียนอาเจยี น วิงเวียน ลมจกุ
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Brucea javanica (L.) Merr. แนนในอก แกล มปลายไข แกอาการสะบัดรอ นสะบดั หนาว
ชื่อวงศ : SIMAROUBACEAE หรอื ครน่ั เนื้อคร่ันตวั รอนวบู วาบเหมือนจะเปนไข บํารงุ
ลักษณะเดน : ไมพ ุม สูงไดถงึ 2 ม. ตามก่งิ แกนใบ กานใบ แผน ประสาท (S3-01)
ใบ และชอ ดอกมขี นสน้ั หนาแนน ใบประกอบขนนกปลายคี่ ยาว
ถงึ 35 ซม. ใบยอย 7-15 ใบ เรียงตรงขาม-สลับ รปู ไขก วา ง-แกม
ขอบขนาน ยาว 3.5-10 ซม. ขอบใบจักฟน เลื่อย ชอดอกตัง้ ข้นึ
ยาวถึง 33 ซม. ดอกสีขาวอมเขียว-สแี ดงเขม ผลรปู ไข ยาว 6 มม.
ติด 1-4 ผล/กระจกุ , สวนตาง ๆ มรี สขม

383

ราชพฤกษ์ เปลือกลาํ ตน ราชพฤกษ
ช่อื ทอ งถิ่น : คูน (พิษณโุ ลก), ราชพฤกษ คนู (ตรงั , ราม
พัทลงุ ) ชือ่ ทองถ่ิน : พิลงั กาสา (ตรัง), พิลงั กาสา ราม
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Cassia fistula L. (พทั ลงุ )
ชื่อวงศ : FABACEAE ชื่อวทิ ยาศาสตร : Ardisia elliptica Thunb.
ลกั ษณะเดน : ไมตนผลัดใบ สูงถงึ 20 ม. เปลอื กสขี าว ชือ่ วงศ : PRIMULACEAE
เรียบ-แตกสะเกด็ ขนาดเล็ก ตามสว นออน ๆ มขี นสั้น ใบประกอบ ลักษณะเดน : ไมพ ุม สงู ถงึ 4 ม. ตามสวนตา ง ๆ เกลยี้ ง รอยตอ
ขนนกปลายคู ยาว 30-40 ซม. ใบยอ ย 6-12 ใบ เรียงตรงขาม รูป ระหวางกิง่ กบั ลาํ ตน บวม ใบเดยี่ ว เรียงเวยี น รูปไขก ลับ-รี ยาว
ไข- รี ยาว 7-15 ซม. ชอดอกหอ ยลง ยาว 20-60 ซม. กลบี ดอกสี 6-13 ซม. ขอบใบเรียบ แผน ใบเนื้อหนา ดา นลา งมจี ดุ สีเขม
เหลือง 5 กลีบ ผลแบบฝกเปนแทงกลมยาว 30-60 ซม. หนา 2 กระจาย เสน แขนงใบไมช ัดเจน ชอดอกหอยลง ยาวถึง 5 ซม.
ซม. ผวิ เกล้ียง แกสีดาํ อมนาํ้ ตาล เมล็ดรูปรีแบน มีเน้อื สดี าํ หมุ มี กลบี เล้ียงและกลบี ดอก 5 กลีบ กลบี ดอกสีชมพู ผลกลมแบน
กลิ่นเหม็นฉนุ กวา ง 6 มม. สุกสแี ดง-ดํา
สรรพคุณ สรรพคณุ
• เนือ้ หมุ เมล็ดสดี ํา : ยาถา ย; ใบ : แกช ้ําใน (N1) • ตาํ รับยาโรคไมเกรน/วงิ เวยี นศีรษะ : แกโรคไมเกรน แกวิง
• ตาํ รับยาถาย : ยาถา ย ยาระบาย แกทอ งผูก แกจกุ เสียดแนน เวยี นศีรษะ (S2-21)
ทอง (S1-20) • ตาํ รบั ยารักษาตอมลูกหมากโต : แกตอ มลูกหมากโต (S2-48)
• ตํารับยาขับเสมหะ : ชว ยขับเสมหะในอกและลาํ คอ (S2-05) • ตํารับยาไขร อ นในกระหายนาํ้ /ทอ งเสยี แบบมีไข : แกไ ขร อน
• ตํารับยาแกไ ขตวั รอ น : แกไข ตัวรอน ไขเ ปลยี่ นฤดู (S2-17) ในกระหายนา้ํ แกทองเสยี แบบมีไข แกไ ขอ าเจยี น แกไ ขนอนไม
• ตาํ รบั ยาวัยทอง : รักษาอาการวัยทอง รักษาเลือดลมใหเ ปน หลับ (S3-47)
ปกติ (S2-25)
• ตํารบั ยาปรบั ธาต/ุ ปวดเมื่อย/ปวดขอ-เอน็ : ชวยปรับธาตุ แก
ปวดเมอื่ ย ปวดเขา-ขอ -เอน็ แกเอ็นพิการ (S2-26)
• ตาํ รับยาแกป วดเมอื่ ยเสน เอ็น : แกป วดเม่อื ยตามเสนเอ็น เสน
เอ็นอกั เสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ-อัมพาต (S2-31)
• ตาํ รับยาลา งโรคกอนการรกั ษาโรคระบบเสน เอน็ : ชวยชาํ ระ
ลา งระบบภายในรางกายกอ นการรักษาโรคที่เก่ยี วกับระบบเสน
เอน็ อัมพฤกษ อมั พาต (S2-55)
• ตํารบั ยาแกทองผกู : แกทอ งผกู ชวยระบายทอง (S3-37)
• ตํารับยาแกป ลายไข (ไขระยะปลาย) : แกป ลายไข (ไขใ นระยะ
ปลาย : เปนไขตวั รอ น ไขกาฬ ไขก ําเดา มาแลว หลายวัน ชวย
ทําใหห ายไขเ ร็วข้ึน ชว ยแกธ าตุ คมุ ธาตุใหสมดลุ เปนยาระบาย
ออน ๆ และชวยใหเจรญิ อาหาร) (S3-45)
เนื้อในของฝกสดี าํ

384
ปลายของดอกตมู สีขาว กา นดอกยอ ยยาว 15–25 มม.
สรรพคุณ
• เหงา หรือเมลด็ : บํารงุ หวั ใจ แกว ิงเวยี น (E2)
• เหงา หรือเมลด็ : ขับลมในลําไส ชวยยอ ยอาหาร (NE2)
• ตํารับยาโรคริดสดี วงทวาร ชนดิ เลอื ดออก : รกั ษาโรคริดสดี วง
ทวาร ชนดิ มเี ลอื ดออก (S2-40)
• ตํารับยาโรครดิ สดี วงทวาร : แกริดสีดวงทวาร (S2-41)
• ตาํ รับยาแกน ้ํานมแหง /ขับนํา้ นม : แกน ํ้านมแหง ชว ยขับ
นํา้ นมในสตรหี ลงั คลอด (S3-50)

เมลด็ แหง ของราม/พลิ งั กาสา ผลสกุ และเมลด็ ของเรวใหญ
เร่วใหญ่
ชอื่ ทองถน่ิ : ขา คม (อุดรธาน,ี สระแกว), เรว
(พทั ลงุ ), เรว เรวใหญ (ตรัง)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Alpinia mutica Roxb. var. nobilis (Ridl.)
I. M. Turner
ชื่อวงศ : ZINGIBERACEAE
ลักษณะเดน : ไมลมลุกมเี หงาใตดิน ใบประกอบแบบขนนก สงู
2–3 ม. มใี บยอยขา งละ 3-5 ใบ รปู ใบหอก ยาว 30–70 ซม. ชอ
ดอก กา นใบ และแผน ใบดา นลา งมขี นส้นั นมุ ชอ ดอกออกที่ปลาย
ใบ กลีบเลี้ยงกลบี ดอกสีขาว ผลทรงกลมกวาง 1.5–2 ซม. มีขน
หนาแนน คลา ยกบั ขา ปา (Alp_mal_mal) แตเ รวใหญม จี ุดตา งท่ี

385

ๅษีผสมแก้ว สรรพคณุ
ชอ่ื ทองถิ่น : การบรู เถา (พิษณุโลก), ฤาษผี สม • ท้ัง 5 : รักษาโรคไต บาํ รุงหัวใจ บาํ รงุ กาํ ลงั แกไ ขต วั รอน แกลม
ตานนกกด (ตรงั ), ฤาษีผสมเสรจ็ (สระแกว) วิงเวยี น ยาอายวุ ัฒนะ (E2)
ช่อื วทิ ยาศาสตร : Uvaria micrantha (A. DC.) Hook. f. & • เถา : ขบั ลม แกท องอดื ทองเฟอ แกผดผื่น บํารุงเสนเอน็ (N1)
Thomson • ตํารบั ยาบาํ รงุ กําลงั : ชวยบํารงุ กําลัง (S2-74)
ชอื่ วงศ : ANNONACEAE ละอองไฟฟา้
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนือ้ แข็ง ยาวถึง 20 ม. เปลือกเถามีรอยปริ ชือ่ ทองถิ่น : หัสแดง (พทั ลงุ ) วา นไกน อ ย (อสี าน)
ตามแนวยาว ตามสว นออน ๆ ชอดอกและกา นใบมขี นนมุ สีสนิม ชอ่ื วิทยาศาสตร : Cibotium barometz (L.) J. Sm.
ใบเดี่ยว เรียงสลบั ระนาบเดียว รปู ขอบขนาน ยาว 5-12 ซม. ชอ่ื วงศ : CIBOTIACEAE
ปลายใบเรยี วแหลม ขย้ใี บมีกลิน่ หอม กา นใบยาว 2-5 มม. ดอก ลกั ษณะเดน : ไมล มลุก กลุมเฟน มีลําตนสั้นอยชู ดิ ผิวดิน ตาม
เดยี่ ว กลีบดอกสีเหลอื งคลา้ํ 6 กลีบ ดอกบานกวาง 2-2.5 ซม. ลําตน และโคนกานใบมขี นยาวปกุ ปยุ สีน้าํ ตาลทอง คลา ยขนลกู ไก
ผลรปู ไข- ขอบขนาน ยาว 1-3 ซม. ผวิ เรียบ มีกานผลยาว 1-2.5 กานใบสีนํา้ ตาลช็อกโกแลต ใบประกอบแบบขนนก 2 ชัน้ ยาวถงึ
ซม. ผลสกุ สีเหลือง 2 ม. ใบประกอบยอยยาวถึง 60 ซม. ขา งละ 12-20 ใบ เรยี งสลบั
ใบยอยหยกั เปนพแู บบขนนกลกึ เกอื บถงึ เสน กลางใบ ยาวถงึ 10
ซม. ขอบใบแตล ะพูจกั ฟน เลือ่ ย แผนใบดานลางมีนวลขาว กลมุ
อบั สปอรเ กดิ ท่ขี อบใบยอยดานลาง
สรรพคณุ
• ตํารบั ยาเขียวหอม : แกไ ข ตัวรอ น รอนในกระหายน้าํ แกพษิ
ไขห ดั ไขเหือด (หดั เยอรมนั ) ไขอ ีสกุ อใี ส (S3-02)

บน : ดอก, ลาง : เนื้อไม ลําตน/หวั ถกู ปกคลุมดว ยขนปกุ ปยุ สีน้าํ ตาลทอง

386

ลาย ลิน้ กวาง
ชือ่ ทอ งถิ่น : คอมเขียว (อดุ รธาน)ี ชอื่ ทองถน่ิ : คอนตหี มา (ตรัง), คอนหมาแดง
ชือ่ วิทยาศาสตร : Microcos paniculata L. (สระแกว), ลน้ิ กวาง (อดุ รธาน)ี
ช่อื วงศ : MALVACEAE ชื่อวทิ ยาศาสตร : Ancistrocladus tectorius (Lour.) Merr.
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถงึ 15 ม. ลาํ ตนมพี โู คง เวาและคดงอ มี ชื่อวงศ : ANCISTROCLADACEAE
ขนส้นั นมุ ตามกง่ิ ออ น ชอดอกและกานใบ ใบรูปไข- ไขก ลบั ยาว ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนือ้ แขง็ ยาวถึง 20 ม. กิง่ ชว งปลายมีตะขอ
9-17 ซม. ปกติขอบใบเรยี บ หายากท่หี ยกั แตไมชัดเจน ปลายใบ เกีย่ วมว น ตามสวนตา ง ๆ เกล้ยี ง ใบเดี่ยว เรยี งเวยี นเปน กระจกุ ท่ี
เรียวแหลม-เปนต่ิงคลายหาง แผนใบเกลี้ยง หรอื มีขนประปราย ปลายก่ิง รปู หอกกลับ-แกมแถบ ยาว 15-55 ซม. แผน ใบเน้อื หนา
เฉพาะตามเสนแขนงใบดา นลาง (จดุ ตางจากพลับพลา เกลี้ยงและมันเงา โคนใบสอบเรียว กา นใบไมมีหรือยาวไมเกนิ 1
Mic_tom) เสน แขนงใบออกจากโคนใบ 1 คู ชอดอกยาว 3-15 ซม. กลบี ดอกสีขาวอมเขยี วหรือแดงเขม มี 5 กลบี ดอกบานกวา ง
ซม. ดอกสีเหลอื งครีม มีกลบี ดอก 5 กลบี ผลกลม กวา ง ยาว 1 1.2 ซม. ผลมปี ก รูปหอกกลบั ยาวถึง 6 ซม. แบง เปนปกยาว 3
ซม. ผิวเกลย้ี ง ผลสกุ สีดํา เน้ือรสเปรย้ี วอมหวานทานได, พบตาม ปก และสนั้ กวา 2 ปก ผลออ นปกสีแดง
ปาเส่อื มโทรม ชายปา ดงดบิ ทวั่ ทุกภาค สรรพคณุ
สรรพคุณ • ราก : แกโ รคบิด ไขจ บั สน่ั , รากลิ้นกวางผสมกบั รากชา งนา ว
• เนื้อไม : แกโ รคกระเพาะ (NE2) หรือยาตัวอื่น ตม น้าํ ดืม่ แกป วดเม่อื ย; ใบ : ตม นาํ้ อาบแกบ วม
• แกน : รกั ษาโรคหอบหืด (NE2) ตามตัว แกเม็ดผืน่ คนั ตามผิวหนัง (E2)
• ตํารับยาโรคกระเพาะ : รกั ษาโรคกระเพาะ (NE2-017) • ราก : แกโรคบดิ แกไขจ ับสั่น (ไขม าลาเรยี ) (NE2)
• ตํารบั ยาแกไ ขตวั รอน : แกไ ขตัวรอน ปวดหวั ถอนพิษไข ไข
หวัด ไขปอดบวม (S2-01)
• ตํารับยารกั ษากระดูกทบั เสน : รักษาอาการกระดูกทับเสน
(S2-04)

ผลออ นของลาย ผลออ นของล้ินกวาง/คอนตีหมา

387

หนาตัดของเถาลิ้นกวาง/คอนตีหมา ใบของลิเภาใหญท ่ีกําลงั สรา งสปอร
• ตาํ รับยาปรบั ธาตุ/ปวดเมอ่ื ย/ปวดขอ -เอน็ : ชวยปรับธาตุ แก ลูกขา่
ปวดเมอ่ื ย ปวดเขา-ขอ-เอ็น แกเอน็ พกิ าร (S2-26) ชือ่ ทองถน่ิ : ไอแหวง บรแิ หวง ฝนแสนหา (ตรัง)
• ตํารบั ยาแกป วดเมื่อยเสนเอน็ : แกป วดเมอ่ื ยตามเสน เอน็ เสน ชอ่ื วิทยาศาสตร : Cinnamomum sintoc Blume
เอ็นอักเสบ บรรเทาอาการอัมพฤกษ- อมั พาต (S2-31) ช่อื วงศ : LAURACEAE
• ตาํ รับยาโรคอัมพฤกษ-อัมพาต : รกั ษาอมั พฤกษ-อมั พาต ลักษณะเดน : ไมตน สงู ถึง 20 ม. เปลือกเรียบ มกี ลิ่นหอมแรง
(S2-33) ใบเดีย่ ว เรียงตรงขา ม รปู ร-ี ขอบขนาน-ใบหอก ยาว 7-18 ซม.
• ตํารับยารักษากระดกู ทบั เสน : รกั ษาอาการกระดูกทบั เสน ปลายใบเรียวแหลม-เรยี วยาว เสนแขนงใบออกใกลโคนใบ 3 เสน
(S2-66) ผิวใบเกลี้ยง แผน ใบดา นบนเรียบและเห็นเสน ใบยอ ยไมชัด เนือ้ ใบ
หนาแข็งและกรอบ ขยใ้ี บมีกล่นิ หอมแรงกวา สมลุ แวง (Cin_bej)
ลิเภาใหญ่ และสุรามะริด (Cin_sub) ชอ ดอกยาว 10-15 ซม. กลีบรวมสขี าว
ชื่อทองถ่ิน : ยา นลเิ ภา หญายายเภา (สระแกว ) ครีม มขี นสั้น ผลคอ นขางกลม กวาง 1 ซม. ปลายบมุ มถี วยรอง
ชอื่ วิทยาศาสตร : Lygodium salicifolium C. Presl ผลยาวเทา กับผล สีเขียว ขอบถวยหยกั ต่งิ แหลมไมส มาํ่ เสมอ
ชื่อวงศ : LYGODIACEAE จาํ นวนมาก ต่ิงยาวถงึ 3 มม., พบตามปาดบิ ช้ืนและปา ดิบเขา
ลกั ษณะเดน : ไมเถาลม ลกุ กลุมเฟน มลี าํ ตนเปนเหงาส้นั ใตดนิ ระดบั ตํา่
เถายาวไดถ ึง 10 ม. เปนสเ่ี หลี่ยม-เกอื บกลม ตามกา นใบและแกน สรรพคณุ
ใบมีขนสน้ั สนี า้ํ ตาล ใบประกอบแบบขนนก 2 ช้นั กานใบท่ีติดเถา • ตาํ รบั ยาโรคความดันโลหิต : ชว ยลดความดนั โลหิตสูง (S2-39)
ส้ันมาก ยาว 2-5 มม. ปลายเปน ตุม แตกใบประกอบยอ ย เพียง 1 • ตํารบั ยาแกปวดเมื่อยกลามเน้ือ-เสน เอน็ /บํารุงกําลงั : แกปวด
คู ใบยอยมขี างละ 2-5 ใบ เรยี งสลับ รปู แถบยาว ยาวถงึ 14 ซม. เมอื่ ยกลา มเนือ้ -เสน เอ็น บํารงุ กาํ ลงั (S2-61)
โคนใบมน-หยักคลา ยตง่ิ หู สรางสปอรบนต่ิงท่ีขอบใบ ยาวถงึ 7
มม.
สรรพคุณ
• ทัง้ 5 : แกป ระดงเขาขอ -เขาเสน แกไ ขทบั ระดู (E2)

388
เล็บมือนาง
ช่อื ทอ งถ่นิ : เล็บมือนาง (ตรัง, สระแกว), สะมัง
เลบ็ มือนาง (อดุ รธานี)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Combretum indicum (L.) DeFilipps
ชือ่ วงศ : COMBRETACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเน้ือแข็ง ยาวถึง 30 ม. ตามกิง่ ออนและชอ
ดอกมีขนส้ันนมุ เปลือกลอกเปนแผนบางสนี ํา้ ตาลออน ใบเดีย่ ว
เรียงตรงขา ม รปู ร-ี แกมขอบขนาน ยาว 8-15 ซม. ปลายใบเรยี ว
แหลม มรี อยกดตามแนวเสน ใบทแี่ ผนใบดา นบน มขี นสน้ั ตามแนว
เสนใบดานลา ง กา นใบยาว 5-10 มม. ชอดอกหอยลง ยาวถึง 15
ซม. ดอกบานใหมม ีสขี าวแลว เปลย่ี นเปน สีชมพ-ู แดง มกี ล่ินหอม
มี 5 กลีบ โคนเปน หลอดเรยี วยาว 4-10 ซม. มกี ลิ่นหอม ผลรปู
กระสวย ยาว 3-4 ซม. ปลายแหลม มสี นั ตามแนวยาว 5 สัน
สรรพคุณ
• ท้งั 5 : รักษาโรคผวิ หนงั ชวยสมานบาดแผล (E2)
• ราก : แกพิษโลหิตรอน; เปลอื ก : ใชเ ปน ยาขบั ปสสาวะ แก
ปสสาวะพกิ าร แกน ว่ิ และรดิ สีดวงทวารภายใน; แกน : แก
ริดสีดวงทวาร; ใบ : แกบ าดแผล แผลตดิ เชอื้ ; ดอก : แกโรคตา
ตาเปย ก ตาแฉะ; ผลออ น : แกเสมหะ แกล ม แกไ ข (R18)
• เนอ้ื ในเมล็ด : ถายพยาธใิ นเด็ก (S2)
• เมล็ด : ขับพยาธไิ สเดอื น (NE5)

กลางซา ย : แผนใบดานลาง, กลางขวา : ผลออน, ลาง : เปลือก ซาย : ผลของเลบ็ มอื นาง
ลาํ ตนของลกู ขา /ไอแหวง

389

เล็บเหยยี่ ว สรรพคุณ
ชอ่ื ทองถน่ิ : กาํ ลังเสอื โครง เล็บแมว เล็บเหย่ยี ว • เถา : บาํ รงุ กาํ ลัง (N1)
นอ ย (พิษณโุ ลก), เล็บแมว (อุดรธานี), เลบ็ เหยยี่ ว • ราก : แกฝ  รกั ษาสิวอกั เสบ (NE3)
แสงขัน (ตรัง), หนามเลบ็ แมว (สระแกว) • ตาํ รบั ยาแกไขห ัด/ไขอ ีสุกอีไส : แกไ ขห ัด ไขอ ีสกุ อีไส
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Ziziphus oenopolia (L.) Mill. var. (N1-239)
oenopolia • ตํารับยาแกกษัยไตพิการ : แกกระษัย ไตพกิ าร บํารุงไต, ชวย
ชือ่ วงศ : RHAMNACEAE ขบั ปสสาวะ (S2-09)
ลักษณะเดน : ไมพมุ รอเล้อื ย ยาวถงึ 15 ม. เปลือกเรยี บ-แตก • ตาํ รบั ยาขับนิว่ ในไต-ทางเดนิ ปส สาวะ : ชว ยขบั นว่ิ ในไต และ
สะเก็ดเล็กนอ ย ตามก่งิ มหี นามแหลมคม กิ่งออ นและแผน ใบดาน ทางเดินปสสาวะ (S2-13)
ลา งมขี นสั้นหนาแนน -ประปราย ใบเด่ยี ว เรยี งสลับ รปู ไข-รปู รี โลด
ยาว 3-6 ซม. เห็นรอยกดตามแนวเสน ใบทีผ่ ิวใบดา นบน มเี สน
แขนงใบออกจากโคนใบ 1 คู ขอบใบจักฟน เล่อื ยเล็กนอ ย-เรียบ เหมอื ดคนใหญ (พษิ ณโุ ลก),
ดอกขนาดเลก็ สเี ขียวอมเหลือง ผลทรงกลม กวาง 0.7-1 ซม. ผิว เหมอื ดสม (อุดรธาน)ี
เกลี้ยง มี 1 เมลด็ แขง็ คลา ยเมลด็ พุทรา สุกเปลยี่ นเปนสีนํ้าตาล-ดํา ช่ือวิทยาศาสตร : Aporosa villosa (Lindl.) Baill.
รสเปรยี้ วอมหวานทานได, พบตามชายปาผลัดใบและปาดบิ ทัว่ ช่ือวงศ : PHYLLANTHACEAE
ประเทศ ลักษณะเดน : ไมพุม-ไมต นผลดั ใบ สูงถงึ 15 ม. ลาํ ตนมกั บิดและ
แตกก่ิงต่ํา เปลอื กเปนรองลึกตามยาว กิง่ ออ น แผนใบดานลา ง
และผลมีขนหนานมุ คลา ยกาํ มะหยี่สขี าว ใบเด่ียว เรียงเวยี น รปู
รี-รีกวา ง ยาว 8.5-22 ซม. ขอบใบเรยี บ-หยักเล็กนอ ย กานใบยาว
2-3 ซม. มี 1 รองตื้นดา นบน และพบตอม 1 คทู ป่ี ลายกา น ผลรูป
รี-รูปกระสวย ยาว 1 ซม. ไมมีกา นผล เม่ือแกแ ตก 2 ซกี มเี มลด็
เดียว เย่ือหุม เมลด็ สีสม , พบตามปา ผลดั ใบ หรอื ชายปาดงดิบแลง
ในพน้ื ท่ีดนิ ปนทรายหรือลกู รงั ทั่วประเทศยกเวนภาคใต
สรรพคณุ
• เปลือก : แกไ อ (NE3)
• ตํารับยาโรคไต : แกโรคไต (N1-287)
• ตาํ รบั ยาโรคไต : รักษาโรคไต แกปสสาวะพิการ (N1-153)

390

โลดทะนง รากของโลดทะนง
ชอ่ื ทองถ่ิน : นางแซง โลดทะนง (อดุ รธานี) เลือดแรด
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Trigonostemon reidioides ชื่อทอ งถ่นิ : เลอื ดแรด (สระแกว ), หนั (ตรัง)
(Kurz) Craib ชือ่ วิทยาศาสตร : Knema globularia (Lam.) Warb.
ชือ่ วงศ : EUPHORBIACEAE ชอื่ วงศ : MYRISTICACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพุม สูงถึง 2 ม. มรี ากสะสมอาหารอวบหนา ลกั ษณะเดน : ไมตน สูงถงึ 30 ม. เปลอื กแตกสะเก็ดบาง เปลือก
เนื้อสขี าว ตามก่งิ ออน กา นใบ แผน ใบ ชอ ดอกและผลมีขนสั้นนุม ช้นั ในมนี ํา้ ยางสแี ดงใส ตามสวนออน ๆ และชอ ดอกมขี นคลา ยขุย
ใบเดี่ยว เรียงเวยี น รปู ใบหอก-ขอบขนาน-รปู แถบ-ไขกลับ สีสนมิ หนาแนน ใบเด่ียว เรยี งสลบั รูปขอบขนาน ยาว 6-16 ซม.
5.5-16 ซม. ชอ ดอกตั้งขน้ึ ยาว 9-27 ซม. กลีบเล้ียงและกลีบดอก กวาง 2.3-4 ซม. แผน ใบดานลา งสีเขียวนวล เสน กลางใบนูนทีผ่ ิว
มีอยางละ 5 กลบี กลีบดอกสีแดงเลือดนกหรือสขี าว ดอกบาน ใบดา นบน กานใบยาว 1-2 ซม. มรี องดานบน กลีบรวมสีเหลอื ง
กวา ง 1 ซม. ผลกลมแบน กวา ง 1-1.5 ซม., พบตามปาผลดั ใบ ครมี 3 กลีบ เนื้อหนา บานกวาง 1-1.2 ซม. เกสรสีแดงเขม ผล
หรอื ชายปา ดงดิบแลง ในที่โลงมดี นิ ปนทราย ทั่วประเทศยกเวน รปู ร-ี กลม ยาว 1.5-2 ซม. ผลสุกสีเหลือง แตกออก 2 ซกี มี 1
ภาคใต เมล็ด เย่ือหุมเมล็ดสีแดงหุม เมล็ดมิดถงึ ปลาย, พบตามปา ดงดบิ
สรรพคณุ แลงและปาดงดิบชนื้ ทั่วประเทศ
• ราก : แกป วดบวม ฟกชา้ํ เคล็ดขัดยอก ถอนพิษยาเบอื่ เห็ดเมา
ถอนพษิ งู (NE3)
• ราก : ทาํ ใหเ บ่อื เหลา ชวยเลิกเหลา ทาํ ใหค ลื่นไสอาเจียน ทาํ ให
ลาํ ไสข ยอ น (เชน ใชล า งทอ งคนกนิ เหด็ พิษ กินสารพิษชนดิ ท่ี
ไมใ ชยาฆา แมลง ยาฆาหญา น้าํ ยาลางหองนา้ํ นํ้ามันเชือ้ เพลิง
ทินเนอร เปน ตน) (S3)

391

สรรพคณุ ลําดวนดง
• เปลือกตน : ขับเลือดเสีย ขบั ลมิ่ เลือด หา มใชกบั สตรมี คี รรภ ชื่อทองถ่นิ : กลวยอีเห็น (อุดรธานี), กลว ยอเี หน็
(E2) พญารากดาํ ตน (สระแกว)
• ตาํ รบั ยาโรคผวิ หนงั จากเชื้อรา/แกค ันจากการแพ : ยาข้ีผ้งึ ช่ือวทิ ยาศาสตร : Mitrephora tomentosa Hook. f. &
หรือยาหมองทารกั ษาโรคผวิ หนังจากเชอื้ รา เชน กลาก เกลอื้ น Thomson
แกอ าการคนั ตามผิวหนังท่ัวไปจากอาการแพ ผ่ืนคนั คันจาก ช่อื วงศ : ANNONACEAE
แมลงสัตวก ดั ตอย (S2-64) ลักษณะเดน : ไมตน สูงถึง 25 ม. เปลอื กเรยี บ-แตกปรเิ ลก็ นอ ย
ลําดวน ตามแนวยาว ตามกิง่ ออน กานใบ แผนใบดา นลา ง ชอ ดอกและผล
ชื่อทองถิ่น : ลําดวน (สระแกว ) มขี นสั้นหนานุม สสี นิม ใบเดย่ี ว เรียงสลบั ระนาบเดียว รูปไข-ขอบ
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Melodorum fruticosum Lour. ขนาน ยาว 10-20 ซม. โคนใบมน-เวา เล็กนอ ย ขอบใบมีขน
ช่อื วงศ : ANNONACEAE ปลายใบเรยี วแหลม กลบี ดอกสเี หลอื งออ น 6 กลีบ กลบี ดอกวงใน
ลักษณะเดน : ไมพ มุ -ไมต น สงู ถงึ 15 ม. เปลือกเรยี บ ตามสว น งุมปลายกลบี จรดกนั มลี ายสีมวงแดง ดอกบานกวาง 5 ซม. ผล
ตาง ๆ เกลี้ยง ใบเดี่ยว เรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนาน-แกม รูปรีปลายกลม ยาว 2-3 ซม. ผิวขรขุ ระเล็กนอ ย ติดถึง 25 ผล/
รี ยาว 7-12 ซม. แผนใบดา นบนมนั เงา ดานลา งสีเขียวนวล เสน กลุม กานผลยาว 4-5 ซม. สุกสเี หลอื ง มี 3-7 เมลด็ , พบตาม
แขนงใบเรียบแบนบนแผนใบทง้ั สองดาน กา นใบยาว 1 ซม. ดอก ปาดงดบิ แลง ท่วั ประเทศยกเวน ภาคใต
ออกเดี่ยว ตามซอกใบ หอ ยลง กา นดอกยาว 2-3 ซม. กลบี ดอกสี สรรพคณุ
เหลืองครีม 6 กลบี เนอ้ื หนา รปู ไขกวา ง ยาว 1.7 ซม. ปลาย • ทง้ั 5 : บํารงุ หวั ใจ แกล มวิงเวียน (E2)
แหลม มกี ล่ินหอมแรงชวงบา ย ผลรูปกลม-รี ยาว 1-1.5 ซม. ติด • แกน : บาํ รุงกาํ ลัง (NE3)
เปน กลุม ถึง 25 ผล/กลุม สกุ สดี ํา มี 1-2 เมลด็ เนอ้ื ผลรสหวาน
อมเปรีย้ วทานได, พบตามปา ดงดบิ แลงในภาคตะวันออกเฉียง
เหนือ ภาคตะวนั ออกและภาคกลาง
สรรพคุณ
• ดอก : บํารงุ หัวใจ บาํ รงุ เลือด หรอื ใชเขา ยาตํารับยาเกสรท้งั
เกา ; ผลสุก : รสหวานทานได (E2)

392

ลาํ พูปา่ ว่านกีบแรด
ชือ่ ทองถิ่น : ตุมเตน (อดุ รธานี), ลําพูปา (ตรงั ) ชอ่ื ทองถน่ิ : กดู ชาง วา นกีบเเรด (อุดรธานี), วา นกบี แรด (ตรงั ,
ชือ่ วิทยาศาสตร : Duabanga grandiflora (DC.) พิษณุโลก)
Walp. ชื่อวิทยาศาสตร : Angiopteris evecta (G. Forst.) Hoffm.
ชื่อวงศ : LYTHRACEAE ช่ือวงศ : MARATTIACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถึง 35 ม. เปลอื กแตกเปนสะเกด็ ตามยาว ลกั ษณะเดน : ไมล ม ลกุ กลมุ เฟน ลาํ ตนสน้ั สูงถึง 20 ซม. กวางถงึ
กิง่ ออนเปน สี่เหล่ียม ตามสวนตาง ๆ เกลีย้ ง ใบเดย่ี ว เรยี งตรง 25 ซม. ทล่ี ําตน มีโคนกานใบเกา ตดิ ทนดคู ลายกบี เทา แรด มีขน
ขาม รูปขอบขนาน ยาว 15-35 ซม. โคนกลมหรือเวา ตน้ื แผน ใบ แบบเกลด็ สีน้าํ ตาลปกคลมุ หนาแนน ตามโคนกา นใบและโคนกาน
ดา นลางสเี ขยี วนวล เนื้อใบหนา ชอ ดอกออกปลายกง่ิ กลบี เล้ยี ง ใบยอยบวมหนา ใบประกอบแบบขนนก 2 ชัน้ ยาว 1.5-3 ม. ใบ
และกลบี ดอกอยา งละ 6-7 กลีบ กลบี ดอกสีขาว ดอกบานกวา ง ประกอบยอ ยมีขางละ 4-8 ใบ เรยี งสลบั ใบยอ ยมีขา งละ 10-20
8-10 ซม. มีกลน่ิ เหม็นคลายปส สาวะแมว ผลรูปไขก วาง ยาว 3-4 ใบ รูปขอบขนาน ยาว 5-15 ซม. ขอบจกั ฟน เล่อื ยถี่ กลมุ อบั ส
ซม. มีเกล้ียงตดิ ทน แกแหงแตก 6-7 ซกี ปอรส ีน้าํ ตาลเกิดไปตามขอบใบดานลา ง
สรรพคุณ
• เปลอื ก : แกโ รคซาง (NE3)
• เมลด็ : ตม กบั นํ้าดืม่ เปนยาแกปวดทอง โรคกระเพาะอาหาร
อาหารไมยอ ย อาหารเปนพิษ; กิง่ และตน : สบั เปน ชน้ิ เล็ก ๆ
ตม กับนํ้ากินเปน ยาแกอ าการชํ้าใน (R68)

393

เหงาตากแหงของวา นกบี แรด วา นดกั แด
สรรพคณุ ว่านนางตดั
• เหงา : แกท อ งรว ง บํารงุ กําลัง แกเ จ็บตา (NE2) ช่ือทอ งถิ่น : วานนางตัด (ตรัง)
• เหงา : ตม ในน้ําสะอาด หรอื ดองเหลา กรองเอานํา้ หรอื เหลา มา ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Labisia pumila (Blume)
ดม่ื แกปวดหลงั ปวดเอว ลดความดนั โลหติ (R34) Fern-Vill. var. pumila
• ตํารบั ยาแกไ ขต ัวรอน : แกไขตัวรอน ปวดหัว ถอนพษิ ไข ไข ชื่อวงศ : PRIMULACEAE
หวัด ไขปอดบวม (S2-01) ลักษณะเดน : ไมล ม ลกุ สงู ถงึ 25 ซม. ลาํ ตนทอดคลาน-ตง้ั ตรง
• ตํารับยาแกไขต วั รอ น : แกไ ข ตัวรอน ไขเปลี่ยนฤดู (S2-17) ใกลผ ิวดิน ยาวถึง 15 ซม. ตามสว นออ น ๆ ชอดอก และแผนใบ
• ตํารบั ยารกั ษามดลูกเคล่อื น/บํารุงโลหติ : รกั ษามดลกู เคลื่อน ดา นลา งมเี กล็ดสนี าํ้ ตาลแดง ใบเดย่ี ว เรียงเวียน รปู หอกกลับ-รูป
บํารงุ โลหติ (S2-45) รี ยาว 5-20 ซม. โคนสอบเรยี วจนถงึ ลําตน ไมมีกา นใบ เสนแขนง
ใบจํานวนมาก ตน อายนุ อยแผน ใบมีลายสขี าว-ชมพูตามเสนกลาง
วา่ นดกั แด้ ใบและขอบใบและมีขอบใบจักฟนเลอื่ ยดวย ชอดอกยาว 2-8 ซม.
ชอ่ื ทองถิ่น : กระเจียวตวั เมีย เสนหจันทรข าว กลบี ดอกสขี าว-อมชมพู มี 5 กลบี ผลกลม กวาง 4 มม. สกุ สแี ดง
(พิษณุโลก) มีเมล็ดเดยี ว, พบตามทช่ี มุ ชน้ื หรอื รมิ ลาํ ธารในปา ดบิ ชน้ื ทางภาคใต
ช่อื วทิ ยาศาสตร : Stahlianthus campanulatus Kuntze สรรพคุณ
ช่ือวงศ : ZINGIBERACEAE • ตํารบั ยาบาํ รงุ กาํ ลัง : ชวยบํารุงกําลัง (S2-74)
ลักษณะเดน : ไมล ม ลุก มเี หงา สั้นใตด นิ สงู ถงึ 30 ซม. ใบเด่ียว
เรยี งสลับ มี 2-3 ใบ/กอ ใบรปู ใบหอก ยาว 12-30 ซม. แผนใบ
ดา นลางมีขนสน้ั ประปราย กานใบยาว 5-20 ซม. โคนกานใบโอบ
กับกา นใบอนื่ อยางหลวม ๆ ชอ ดอกเกิดท่ียอดกลางกอหรอื แทง
ชอดอกกอนเกดิ ใบ กา นชอ ดอกสัน้ กวา 4 ซม. มีใบประดบั สเี ขยี ว
รปู ไข ยาว 2-4 ซม. หอ ซอ นกันคลา ยถวย สงู ถงึ 7 ซม. ปลายใบ
ประดบั แหลมงอนโคงออกเลก็ นอ ย กลบี ดอกสีขาว ดานลางเปนก
ลีบปาก ยาว 2-3 ซม. ปลายแยก 2 แฉก มีแตมสีเหลืองตรงกลาง,
พบตามปา เตง็ รงั ในจังหวดั พษิ ณุโลกและเพชรบรู ณ
สรรพคณุ
• เหงา : แกปวด แกบวม (N1)

ซาย : ตน อายุนอยของวา นนางตดั , ขวา : ตนท่ีมอี ายุมาก

394

ชอดอกของวานนางตดั หวั ทีเ่ กดิ บนเถาของวานพระฉิม/กลิ้งกลางดง

วา่ นพระฉมิ วา่ นพร้าว
ชื่อทองถิน่ : กล้งิ กลางดง (สระแกว , พษิ ณโุ ลก) ชื่อทอ งถ่นิ : เขียวสะอ้นื (สระแกว )
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Dioscorea bulbifera L. ชื่อวทิ ยาศาสตร : Molineria trichocarpa (Wight) N.P.
ชื่อวงศ : DIOSCOREACEAE Balakr.
ลกั ษณะเดน : ไมเถาลมลุก ยาวถงึ 25 ม. มีหัวใตด ิน ทรง ชื่อวงศ : HYPOXIDACEAE
กลม-ทรงกระบอก ยาว 10-20 ซม. และมีหัวเกดิ ตามซอกใบหรอื ลักษณะเดน : ไมลมลกุ สูงถงึ 40 ซม. ไมมีลาํ ตน ใบเดยี่ ว เรยี ง
ชอดอก ทรงกลม-แกมแบน กวา งถึง 15 ซม. เน้อื ในสีเหลือง ผวิ สี เวียนกระจกุ ชดิ ผิวดนิ รปู รีแคบ ยาว 15-30 ซม. กานใบยาว
นา้ํ ตาลมจี ดุ สีขาวท่ัวไป เถากลมไมมีหนาม ตามสว นตาง ๆ เกลย้ี ง 3-15 ซม. จุดเดน ท่ีมีเสน แขนงใบเรยี งตามแนวยาวจาํ นวนมาก
ใบเด่ยี ว เรยี งสลบั รูปไขกวาง-เกอื บกลม ยาว 7-18 ซม. เสน และแผน ใบพับจบี ตามแนวเสนแขนงใบ คลา ยใบตนกลา มะพรา ว/
แขนงใบออกจากโคน 3-5 คู มรี อยกดตามแนวเสนใบที่แผนใบ กลว ยไมดนิ บางชนดิ ตามกา นใบและชอดอกเกล้ียง-มขี นยาว
ดา นบน กา นใบมขี อบบางคลายครบี ผลรูปขอบขนาน ยาว 2.5-5 ประปราย ชอ ดอกแบบกระจะ ดอกยอ ยเรียงหาง สีเหลอื ง ชอ
ซม. มี 3 ปก ดานขางตามแนวยาว เม่ือแกแหงแตก 3 ซีก, พบตาม ดอกยาวไมเ กนิ 10 ซม., ผลรปู กระสวยเรยี ว ยาว 2 ซม.
ท่โี ลง ชายปาท่วั ประเทศ สรรพคุณ
สรรพคณุ • หวั หรอื ราก : บาํ รุงกาํ ลัง (E2)
• หัวทเี่ กดิ บนเถาหรือหวั ใตดิน : ชว ยลดไข ขับปส สาวะ แกนํ้า
เหลืองเสีย (E2)
• หวั ทีเ่ กิดตามเถา : แกป วดเมื่อย (N1)

395

ชอดอกของวา นพราว

ว่านพังพอน วา นพังพอน
ชอ่ื ทอ งถน่ิ : คา งคาวดาํ ดอกใหญ คา งคาวขาว (ตรงั ) ว่านมหาเมฆ
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Tacca integrifolia Ker Gawl. ช่ือทองถน่ิ : กระเจยี วชา ง (พษิ ณโุ ลก), วา นมหาเมฆ
ชือ่ วงศ : DIOSCOREACEAE (ตรัง), วา นหอมใหญ, ขมิ้นดํา (สระแกว)
ลักษณะเดน : ไมลมลกุ สูงถึง 80 ซม. มีเหงา อยใู ตด นิ ใบเดย่ี ว ชอ่ื วิทยาศาสตร : Curcuma aeruginosa Roxb.
เรยี งเวียนเปนกระจกุ ที่ผวิ ดิน รูปใบขอบขนาน ยาว 30-50 ซม. ชื่อวงศ : ZINGIBERACEAE
ผวิ ใบเกลยี้ งและมนั เงา เสนแขนงใบเปนรอยกดทผ่ี วิ ใบดานบน ลักษณะเดน : ไมลม ลกุ สูงถงึ 60 ซม. มเี หงา สน้ั ใตด นิ เน้ือใน
โคนมน-เบยี้ ว กานใบยาว 25-50 ซม. คลายเนระพสู ไี ทย เหงา สีขาวและใจกลางสีมวงอมนํา้ เงนิ (จุดตา งจากอาวแดง
(Tac_cha) มีจุดตา งที่วา นพังพอนมีใบประดบั 2 คู โดยทง้ั 2 คูชู Cur_ang) ตามสว นตาง ๆ เกล้ียง ใบเดย่ี ว รูปร-ี แกมขอบขนาน
ต้ังขึน้ คลายพงั พาน/แมเ บยี้ คบู นสขี าวและมขี นาดใหญแ ละยาว ยาว 30-50 ซม. แผน ใบเกลย้ี งทง้ั สองดาน กา นใบเปน กาบโอบ
กวา คูล างประมาณ 2 เทา กนั แนน กบั กานใบอ่นื เปน ลําสงู ไดถงึ 40 ซม. ปกตชิ อ ดอกแทง
สรรพคุณ ข้ึนจากดนิ กอนแทงใบในชว งปลายฤดูรอน-ตนฤดูฝน ใบประดบั
• ตาํ รบั ยาแกค ัน : แกอ าการคันตามผิวหนงั (S2-28) ซอ นกนั เปน ชน้ั สงู ถึง 17 ซม. (ไมรวมกานชอดอก) ใบประดบั ชว ง
• ตาํ รับยาบาํ รุงกําลัง : ชวยบํารงุ กําลงั (S2-28) บนสีชมพเู ขม อมแดง ใบประดบั ชวงลา งสีเขียว ดอกสเี หลือง กาน
ชอ ดอกสูงไดถงึ 10 ซม.
สรรพคุณ
• เหงา : แกปวดขอ ปวดกระดูก (N1)
• ตาํ รบั ยาขบั น่ิว-โรคไต-ตบั : ขบั นิว่ ในถงุ น้ําดี นวิ่ ในระบบทาง
เดนิ ปสสาวะ แกป ส สาวะขน แกโรคไต แกโรคตบั (E2-217)
• ตาํ รับยาริดสีดวงทวาร : รักษาริดสดี วงทวาร (E2-217)
• ตํารับยาโรครดิ สีดวงทวาร : แกรดิ สีดวงทวาร (S2-41)

396

• ตํารับยารกั ษามดลกู เคลอื่ น/บาํ รงุ โลหิต : รักษามดลกู เคลอ่ื น วา่ นสากเหล็ก
บาํ รงุ โลหติ (S2-60) ช่อื ทองถิ่น : พราวนกคมุ วา นสากเหลก็ (ตรงั ),
• ตาํ รับยาบํารงุ รกั ษามดลกู : ชว ยบาํ รุงรกั ษามดลกู บํารุงสตรี วา นสากเหลก็ (พทั ลงุ )
หลงั คลอด มดลกู พิการ (S2-60) ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Molineria latifolia (Dryand. ex W. T.
Aiton) Herb. ex Kurz var. latifolia
ช่ือวงศ : HYPOXIDACEAE
ลักษณะเดน : ไมล มลุก สงู ถงึ 1 ม. ไมม ลี ําตน ใบเดีย่ ว เรียงเวียน
กระจุกชดิ ผิวดิน รปู รแี คบ ยาว 30-60 ซม. กานใบยาว 10-40
ซม. จุดเดนที่มเี สน แขนงใบเรียงตามแนวยาวจํานวนมาก และ
แผน ใบพบั จบี ตามแนวเสนแขนงใบ คลายใบตน กลา มะพรา ว และ
คลายกับตองกาย (Mol_cap) มีจุดตา งที่ตามกา นใบ และชอดอก
เกลย้ี ง-มขี นยาวประปราย กานชอดอกยาวไมเ กิน 5 ซม. ดอกสี
เหลือง ผลรูปไขปลายเรียวยาว ยาวทง้ั หมด 3-4 ซม. ผลสุกสีขาว
มีเมล็ดสีดาํ รสเปรีย้ วอมหวาน เมื่อดื่มนาํ้ ตามจะหวานตดิ ล้ิน เปน
ผลไมป า

เนือ้ ในของเหงา วานมหาเมฆ เน้อื ในและเมลด็ ของวานสากเหล็ก

397

สรรพคณุ ดอกของวา นสาวหลง
• ตํารับยาแกปวดเมื่อย/ชาตามปลายมือ-เทา : แกปวดเม่ือย ว่านสาวหลงใต้
ตามรางกาย แกอ าการชาตามปลายมือ ปลายเทา (S2-36) ชอ่ื ทอ งถ่ิน : วานสาวหลง (ตรงั )
• ตาํ รบั ยารกั ษามดลกู เคลือ่ น/บาํ รงุ โลหิต : รักษามดลูกเคล่ือน ช่อื วิทยาศาสตร : Amomum biflorum Jack
บาํ รงุ โลหิต (S2-45) ช่ือวงศ : ZINGIBERACEAE
• ตํารับยาลางโรคกอนการรักษาโรคระบบเสน เอ็น : ชว ยชาํ ระ ลักษณะเดน : ไมลมลกุ สงู ถึง 1.3 ม. มีเหงา ใตด ิน ตามกานใบ
ลา งระบบภายในรางกายกอนการรกั ษาโรคทเี่ กยี่ วกบั ระบบเสน และแผนใบดานลางมขี นสนั้ หนานุม และตามสว นตา ง ๆ มีกลนิ่
เอ็น อัมพฤกษ อมั พาต (S2-45) หอมโดยเฉพาะทเ่ี หงาและราก ใบประกอบแบบขนนก ใบยอ ย
• ตาํ รบั ยารักษามดลกู พิการ-อักเสบ/ขับน้ําคาวปลา : แกม ดลกู ขา งละ 3-5 ใบ เรียงสลบั รูปแถบยาว-ขอบขนาน ยาว 20-40
พกิ าร มดลกู อักเสบ ชว ยบํารุงรักษามดลูก บาํ รุงสตรหี ลังคลอด ซม. ลักษณะตาง ๆ คลา ยกับวา นสาวหลง (Amo_sch) มาก แยก
ชว ยขับนํา้ คาวปลา ขับเลอื ดเสีย (S3-45) ชนิดจากกันยาก เทาที่มขี อมูลขณะนพ้ี บวา วานสาวหลงใตม กี ารก
วา่ นสาวหลง ระจายพนั ธตุ ามธรรมชาติในภาคใตแ ละภาคตะวนั ตกเฉยี งใต, มี
นา้ํ มันหอมระเหยที่มกี ลนิ่ คลายกันมาก สามารถใชแทนกันได
แหนง (อุดรธานี, พษิ ณโุ ลก) สรรพคณุ
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Amomum schmidtii (K. • ทง้ั 5 : มีน้ํามนั หอมระเหย ชวยรกั ษาโรคผิวหนงั อาการแพมี
Schum.) Gagnep. ผื่นคัน ใชผสมทํายาน้ํามัน/ครีมทา หรือใชปรุงแตงกล่ินใน
ช่อื วงศ : ZINGIBERACEAE ยาดอง (S1)
ลกั ษณะเดน : ไมล ม ลกุ สูงถงึ 1.3 ม. มีเหงาใตดนิ ตามกา นใบ • ตํารบั ยาผน่ื คนั จากอาการแพ/โรคเจด็ : รักษาโรคผวิ หนัง
แผน ใบดา นลา งมีขนสัน้ หนานุม และตามสวนตาง ๆ มีกล่ินหอม ทัว่ ไป แกอ าการแพม ีผืน่ คนั หรอื โรคเจด็ (อาการมีตมุ นํ้าเหลอื ง
โดยเฉพาะทีเ่ หงาและราก ใบประกอบแบบขนนก ใบยอยขางละ พพุ องคนั ตามผิวหนงั ) (S2-07)
3-5 ใบ เรียงสลับ รูปแถบยาว-ขอบขนาน ยาว 20-40 ซม. ปลาย
ใบเรียวยาวคลายหาง กานใบยอยยาว 2-3 ซม. ชอดอกแทง ขนึ้
จากเหงาใตด นิ ทั้งชอ ยาวถึง 6 ซม. ใบประดบั สแี ดงอมน้ําตาลอยู
ระดับผิวดิน กลีบปากสขี าวรปู พดั ตง้ั ขน้ึ กวา ง 3 ซม. มีแถบสี
เหลืองกลางกลีบและมจี ุดประสแี ดงทับบนแถบสเี หลืองบริเวณ
โคนแถบ โคนกลีบดอกเปนหลอดยาว 3.5-4.5 ซม. ผลทรงกลมมี
ขนและหนามสน้ั , พบตามปา ดงดิบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคตะวนั ออก
สรรพคณุ
• เหงา : ขบั เลือด ขับลม (N1)
• ท้ังตน : มกี ลิน่ หอม ขยี้แชกบั นํ้าซาวขา วใชสระผม ชวยบาํ รงุ
หนังศรี ษะ (NE3)

398

เหงาของวา นสาวหลงใตใ ชในยาดองสูตรพนื้ บา น

วา่ นหาวนอน รากสะสมอาหารของวา นหาวนอน
ช่อื ทองถน่ิ : วานนกคมุ (พษิ ณุโลก) สกณุ ี
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Kaempferia rotunda L. ช่อื ทองถ่ิน : สมอแหน (สระแกว )
ชื่อวงศ : ZINGIBERACEAE ชือ่ วิทยาศาสตร : Terminalia calamansanai (Blanco)
ลกั ษณะเดน : ไมล มลุก สูงถึง 30 ซม. มีเหงาส้นั และรากสะสม Rolfe
อาหารอยใู ตดิน มขี นส้นั ตามแผนใบดา นลาง ใบประดับและกลีบ ชื่อวงศ : COMBRETACEAE
เลีย้ ง ใบเด่ียว ออก 2-3 ใบ/กอ แผน ใบชขู ึน้ (ไมแ นบติดผวิ ดนิ ) ลกั ษณะเดน : ไมต นผลดั ใบ สูงถึง 30 ม. เปลอื กแตกเปน รอ ง
ใบรปู รแี คบ-รปู ใบหอก ยาว 12-25 ซม. กวา ง 4-6 ซม. ผวิ ใบดาน รา งแหตามแนวยาว แตกกงิ่ เปนชน้ั คลา ยตน หูกวาง ใบเดีย่ ว เรียง
ลา งสีมว งแดงและมีขนสั้น ดา นบนมักมลี ายสีขาว กา นใบยาว 3-5 เวยี น รปู รี-หอกกลบั ยาว 9-14 ซม. แผนใบดานลา งเกลี้ยงหรอื มี
ซม. โคนกา นใบเปนกาบอัดแนน กับกา นใบอน่ื สูง 6-10 ซม. ชอ นวล มีตอ ม 1 คูบนกานใบ ผลรปู รี สงู 1.5 ซม. ดานขางเปน 3
ดอกแทงข้ึนมาจากเหงา ใตด ินในชวงไมม ีใบในฤดรู อ น หรอื ออก เหลีย่ ม และมปี กออกดา นขา ง 2 ปก ยาว 2 ซม.
พรอ มกับใบออน กลบี ดอกเห็นชดั 4 กลีบ รูปไขกลับ ยาว 4-5 สรรพคณุ
ซม. กลีบคูลาง (กลบี ปาก) เฉพาะที่โคนกลบี หรอื ทง้ั กลีบเปน สี • เปลือก : ขับปส สาวะ; แกน : ถอนพษิ ; ผลแก : เปน ยาเยน็ ใช
มวงอมชมพู หลอดกลบี ดอกยาว 5 ซม. กานชอ ดอกสัน้ มาก เขา ยาชว ยลดไข (E2)
สรรพคุณ
• เหงา : แกฟ กซํา้ (N1)

399

บน : ผลแกของสกณุ ี สนกระ

สนกระ สนสองใบ
ชือ่ ทองถน่ิ : กระดูกไก กระดกู ไกข าว กระดูกไกป า ชือ่ ทอ งถนิ่ : สน (ฉะเชงิ เทรา, พิษณุโลก)
(ตรงั ), กาํ ลงั ทรพี กระดูกไก (สระแกว ) ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Pinus latteri Mason
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Prismatomeris tetrandra (Roxb.) K. ชอื่ วงศ : PINACEAE
Schum. subsp. malayana (Ridl.) J. T. Johanss. ลักษณะเดน : ไมตน สูงถึง 40 ม. เน้อื ไมมชี ันเหนียวใส เปลอื ก
ช่อื วงศ : RUBIACEAE แตกแบบรองลกึ ตามแนวยาว ตนอายมุ ากแตกแบบชองสี่เหลี่ยม
ลักษณะเดน : ไมพ ุม สูงถงึ 3 ม. กิง่ ออนและใบเกลยี้ ง กิ่งสีขาวมี เนอ้ื หนา ใบเรยี งเวยี นเปน กระจกุ ชว งปลายกิ่ง ใบประกอบแบบ
รองเลก็ นอย ใบเดยี่ ว เรียงตรงขา ม รปู รี-ใบหอก ยาว 5-10 ซม. กระจุกมใี บยอย 2 ใบ/กระจกุ ใบยอ ยเปน เสนเรยี ว ยาว 12-23
แผน ใบเรียบ เสน แขนงใบและเสนกลางใบทีผ่ ิวใบดานบนนูน ซม. ผลมีเกลด็ ซอ นกนั เปนแทง รูปกรวยแหลมยาว-รปู ไข กวา ง
กลบี ดอกสีขาวเปน หลอด ปลายแยก 5 แฉก (คลา ยดอกเขม็ ) 3-6 ซม. ยาว 7-11 ซม. เม่อื แกเกล็ดทซ่ี อ นกันจะอาออกปลอย
คลา ยตะไหล (Pri_tet_tet) มีจดุ ตางท่สี นกระมีหลอดกลบี ดอก เมลด็ ทม่ี ปี กปลิวออกมา
ยาว 1-2 ซม. (สั้นกวาตะไหล) สรรพคุณ
สรรพคณุ • ตํารับยานาํ้ มันชันตะเคียน : รักษาบาดแผลอกั เสบเรือ้ รงั แผล
• ตาํ รบั ยาแกไ ข/แกร อ นใน : แกไ ข ตัวรอ น แกร อนใน (S1-25) หนองพุพอง แผลเบาหวาน/กดทบั แผลไฟไหม/นาํ้ รอนลวก
• ตาํ รับยารกั ษากระดกู ทบั เสน : รกั ษาอาการกระดูกทบั เสน (E1-02)
(S2-66) • ตาํ รับยาโรคหอบหดื : แกโ รคหอบหืด (N1-154)


Click to View FlipBook Version