The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-21 23:27:58

พืชป่าสมุนไพร

พืชป่าสมุนไพร

250

ชมุ แสงแดง ชุมเห็ดเทศ
ชอื่ ทอ งถน่ิ : ไมโอบ กระบกคาย (สระแกว) ชอ่ื ทอ งถิ่น : ชุมเห็ดเทศ (สระแกว)
ชื่อวิทยาศาสตร : Homalium grandiflorum Benth. ชอื่ วิทยาศาสตร : Senna alata (L.) Roxb.
ชื่อวงศ : SALICACEAE ชือ่ วงศ : FABACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน สูงถึง 30 ม. เปลือกแตกสะเก็ด กงิ่ และใบ ลกั ษณะเดน : ไมพมุ สูงถงึ 4 ม. กง่ิ เกลี้ยงมีเหลย่ี มเลก็ นอ ย ใบ
เกล้ียง ใบเดย่ี ว เรียงสลบั รูปไข ยาว 10–18 ซม. ขอบใบจกั ฟน เรียงเวียน ใบประกอบแบบขนนก ยาว 40–80 ซม. มใี บยอ ย
เลือ่ ย เสน ใบยอ ยแบบรา งแห เหน็ ชดั ดานลาง ชอ ดอกยาว 10–15 7–10 คู จดุ เดนที่ใบยอยรปู ขอบขนาน ยาว 4–15 ซม. ปลายใบ
ซม. มขี นนมุ ดอกสขี าวอมเขยี ว กลบี เลยี้ งและกลบี ดอก 7-8 กลม ชอดอกออกท่ปี ลายก่งิ ต้ังข้ึน สูง 30–50 ซม. ใบประดับสี
กลีบ, ชอบขึน้ ตามรมิ หวย นา้ํ ตาล ดอกสเี หลอื ง ผลแบบฝก ยาว 10–20 ซม. ผิวเปน 4
สรรพคุณ เหล่ยี มตามแนวยาว
• แกนหรอื ราก : รกั ษาโรคดซี าน (E2) สรรพคณุ
• ใบ : ชว ยขบั ปสสาวะ เปนยาระบาย รกั ษาโรคกลาก-เกล้อื น
(E2)
• ตาํ รบั ยาโรคความดนั โลหติ : ชว ยลดความดนั โลหติ สงู (S2-39)
• ตํารบั ยาโรคผวิ หนงั จากเชือ้ รา/แกค นั จากการแพ : ยาขีผ้ ้ึง
หรอื ยาหมองทารกั ษาโรคผวิ หนงั จากเช้อื รา เชน กลาก เกลือ้ น
แกอาการคันตามผิวหนังทว่ั ไปจากอาการแพ ผน่ื คนั คนั จาก
แมลงสตั วกดั ตอย (S2-64)
• ตํารับยาโรคกรดไหลยอน : แกโรคกรดไหลยอ ย (S2-65)

เชียด 251
ช่ือทองถิน่ : ซิงไคตน (อุดรธานี), อบเชย (พทั ลุง, กลาง : ผลออ นของเชียด, ลาง : เปลือก
พิษณุโลก), อบเชย เชียด (ตรัง)
ชื่อวิทยาศาสตร : Cinnamomum iners Reinw. ex Blume
ชื่อวงศ : LAURACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถึง 20 ม. ตามก่ิง ชอดอก และใบเกลย้ี ง
เปลือกเรยี บและมกี ลิน่ ฉุน ใบเดย่ี ว เรียงตรงขาม รปู ขอบ
ขนาน-ใบหอก ยาว 15–20 ซม. มเี สนแขนงใบออกจากโคนใบ 1
คู ชอ ดอกสขี าวอมเขียว ผลรูปรแี กมทรงกระบอก ยาว 1–1.5
ซม. มีกลบี เลย้ี งเรยี งซอ นกนั ติดที่ขั้วผล 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม,
เปลือกของเชยี ด สามารถใชแทนอบเชยจีน (Cinnamomum
cassia) อบเชยญวน (Cinnamomum camphora) หรอื อบเชย
เทศ/อบเชยลงั กา (Cinnamomum verum) ได เนอ่ื งจาก
เปลอื กมคี ณุ สมบัตทิ างยาใกลเคียงกนั แตค วรใชสายพันธหุ รอื
แหลง ผลติ ทใ่ี หเปลอื กที่มกี ลน่ิ หอมหรอื มีน้ํามนั ระเหยในปรมิ าณ
มาก เพราะมีความผันแปรภายในชนดิ เดยี วกัน
สรรพคุณ
• เปลอื ก : ชวยบํารุงหัวใจ ใชเ ขายาปรุงเปน ยาลม (N1)
• ใบหรือเปลือก : ชวยถอนพษิ ของตน ยางนอง (Antiaris
toxicaria) (NE2)
• ตาํ รับยาแกองคชาตตายไมเ กิน 3 ป : แกอ งคชาตตายไมเ กนิ 3
ป บาํ รุงองคชาต บาํ รุงกําลัง (S1-40)
• ตํารับยาโรคอมั พฤกษ- อมั พาต : รักษาอมั พฤกษ- อมั พาต
(S2-33)
• ตาํ รบั ยาโรคความดันโลหิต : ชวยลดความดนั โลหิตสงู (S2-39)
• ตาํ รับยาไขกาํ เดาใหญ : แกไขกําเดาใหญ (S2-47)
• ตํารับยาบาํ รุงเลอื ด/หวั ใจ/รางกาย : บํารุงเลอื ด ดมู เี ลอื ดฝาด
บาํ รงุ หวั ใจ บํารงุ รางกายทัง้ ชาย-หญิง แกอาการซบู ผอม
(S2-51)
• ตาํ รบั ยาบํารงุ โลหติ ระดู : บํารุงโลหติ ระดู (S2-56)
• ตาํ รบั ยารักษาอาการบวมอักเสบจากพษิ บาดแผล/แผล
อกั เสบ : รักษาอาการบวมอกั เสบจากพิษบาดแผล รักษาแผลผุ
พอง เปนหนอง (S2-67)
• ตํารบั ยาอทุ ัยโอสถ : แกไขตวั รอน แกรอนในกระหายน้ํา แก
ออนเพลยี ละเห่ียใจ เพม่ิ ความสดชนื่ บาํ รงุ หวั ใจ (S3-22)

252

โชน ชํามะเลยี ง

ชอ่ื ทองถ่นิ : โชน (ตรงั ) ชือ่ ทองถ่ิน : ชํามะเลียง (ตรงั )
ชือ่ วิทยาศาสตร : Dicranopteris linearis (Burm. f.) ชื่อวิทยาศาสตร : Lepisanthes fruticosa (Roxb.) Leenh.
Underw. var. linearis ชื่อวงศ : SAPINDACEAE
ชือ่ วงศ : GLEICHENIACEAE ลกั ษณะเดน : ไมพ มุ สงู ถงึ 5 ม. เปลือกเรียบ ใบเรยี งเวียน ใบ
ลกั ษณะเดน : ไมล ม ลกุ กลมุ เฟน มีเหงา เลื้อยอยใู กลผ วิ ดิน แตก ประกอบแบบขนนก ใบยอย 5–7 คู เรยี งเกือบตรงขาม รูปขอบ
กิ่งและใบตัง้ ตรง สูงถงึ 2.5 ม. ตามเหงา ก่งิ และใบออ น มขี นสี ขนาน ยาว 7–23 ซม. มหี ูใบรูปกลม 1 คู ออกที่โคนกา นใบ ชอ
น้าํ ตาลทอง แตกก่ิงเปนรูปตวั Y ใบประกอบแบบขนนก ยาวถึง ดอกออกตามลาํ ตน หรอื กิง่ ใหญ ดอกสีแดงอมมวง ผลทรงกลม
40 ซม. มีใบยอยออกขางละ 30–100 ใบ ใบยอยรูปแถบยาว ยาว แบนดา นขางเลก็ นอ ย ยาว 3 ซม. สกุ สีดาํ ผวิ มันเงา เน้อื ผลรส
ถึง 5 ซม. ใบยอ ยชวงปลายใบคอย ๆ สน้ั ลง แผนใบดานลา งนวล หวานเปนผลไม
ไมมกี า นใบยอ ย สรา งสปอรดา นลา งแผน ใบ สรรพคณุ
• ตาํ รับยาแกไขต ัวรอ น : รากใชเขายา ชว ยแกไข ตัวรอ น
(S2-79)

สรรพคุณ
• รากและหนอ : ขับปส สาวะ ระงบั ประสาท (S2)
• ใบ : ในประเทศฟล ิปปน สใชเ ปนยารกั ษาโรคหดื หอบ แกไ ข
หรอื ตําแลว พอกเพ่ือลดไข รกั ษาแผลอักเสบ หรือแผลเปอ ย; ใน
ภาคใตของไทยใช ราก ตม เปนยาขับปสสาวะ สงบประสาท
และชว ยการหมุนเวียนของโลหติ ; เหงา : มรี สขม เนอ้ื เปน แปง
ถากินมากจะเปน พิษสะสมตอ ลาํ ไส (R79)

253

หใู บทโ่ี คนกานใบ ของชํามะเลียง

แซะ ฝกออ นแซะ
ชอ่ื ทองถ่นิ : กาแซะ แซะ (ตรงั ), มะคา ขห้ี มู เฒ่าหลงั ลาย
(อดุ รธานี) ชื่อทอ งถนิ่ : ยายคลงั (ตรงั )
ชื่อวิทยาศาสตร : Callerya atropurpurea (Wall.) Schot ช่อื วทิ ยาศาสตร : Pseuderanthemum graciliflorum (Nees)
ชื่อวงศ : FABACEAE Ridl.
ลักษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 30 ม. เปลอื กเรียบ ก่งิ ออนและชอ ช่อื วงศ : ACANTHACEAE
ดอกมขี นส้ัน ใบเรยี งเวียน ใบประกอบแบบขนนกปลายค่ี ใบยอ ย ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สงู ถงึ 2 ม. กิ่งออ นและใบเกล้ยี ง ใบเดยี่ ว
4–6 คู เรยี งตรงขา ม รปู ไข- ใบหอก ยาว 7–17 ซม. ปลายใบเรียว เรียงตรงขา มตง้ั ฉาก รูปรี-ไขก ลบั ยาว 10–20 ซม. แผนใบดา น
แหลม ผวิ ใบเกลย้ี ง ชอดอกตั้งขึน้ กลีบดอกสีแดงเขม-ชมพูอม บนมีรอยกดตามแนวเสนแขนงใบ ชอ ดอกออกทีป่ ลายกง่ิ ตัง้ ข้ึน
มวง ผลแบบฝกแบนดา นขาง รปู รี-ใบหอก-ขอบขนาน ยาว 7–14 ยาวถึง 20 ซม. ดอกสีมวง กลีบดอกเปนหลอดคลา ยดอกเข็ม ยาว
ซม. เปลือกฝก สเี ขียวออ นหรอื สีแดงอมมวงเขม หนาคลายแผน 3–5 ซม. ปลายกลบี ดอกแยก 2 แฉกชีข้ ึ้นบน และ 3 แฉกชล้ี ง
หนัง ผวิ เกล้ยี ง บวมตามตําแหนงเมล็ด สรรพคุณ
สรรพคุณ • ตาํ รบั ยาสตรีสาวเสมอ : บาํ รุงรักษาระบบภายในของสตรี ชวย
• เน้ือไมห รอื ราก : แกซ าง (NE3) กระชับรางกาย (S2-15)
• ตาํ รบั ยาโรคซาง : แกโ รคซางในเด็ก (NE3-009)
• ตาํ รบั ยาโรคเกา ท : รกั ษาโรคเกาท แกปวดขอ ปวดเขา แกพ ษิ
ในกระดกู บาํ รุงกระดกู (S2-03)

254

เฒาหลงั ลาย สรรพคณุ
ดนั หมี • แกน หรือราก : เปน ยาอายุวฒั นะ รกั ษาโรคไต แกพ ษิ ผิดสําแดง
ชอ่ื ทองถ่นิ : กานเหลือง บุหร่ีหนัง (สระแกว), (E2)
ดันหมี ดคี วาย (ตรงั ) • ตํารบั ยาแกปวดเม่ือย/ชาตามปลายมือ-เทา : แกป วดเมือ่ ย
ช่ือวิทยาศาสตร : Gonocaryum lobbianum (Miers) Kurz ตามรางกาย แกอ าการชาตามปลายมอื ปลายเทา (S2-36)
ช่อื วงศ : ARDIOPTERIDACEAE ดปี ลากงั้ ปา่
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถึง 10 ม. เปลอื กเรียบ ก่งิ ออ นและใบ ชื่อทองถ่นิ : ดปี ลากั้ง ดปี ลากั้งปา (อดุ รธานี)
เกลี้ยง ใบเรียงสลับ รปู รี ยาว 10–20 ซม. จดุ เดนทม่ี กี านใบสี ชื่อวทิ ยาศาสตร : Cystacanthus vitellinus
เหลือง-อมสีสม ยาว 1 ซม., ดอกเล็กสเี ขียวออน ผลรูปไข- รยี าว (Roxb.) Y.F. Deng
ยาว 4–5 ซม. สกุ สีดาํ ผวิ มันเงา ชื่อวงศ : ACANTHACEAE
ลักษณะเดน : ไมพุม สงู ถึง 2 ม. ก่งิ เปน ส่ีเหลยี่ ม ตามกิ่งออ นและ
ใบเกลีย้ ง ใบเดยี่ ว เรียงตรงขามต้งั ฉาก รูปร-ี หอกกลบั ยาว 8–21
ซม. จดุ เดนอยทู ่โี คนใบสอบเรียวและบดิ เปนคลืน่ ผิวใบดานบน

255
ดหี มี
ช่ือทองถิน่ : หาํ เมย (อดุ รธานี)
ชอื่ วิทยาศาสตร : Cleidion javanicum Blume
ชือ่ วงศ : EUPHORBIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถงึ 30 ม. เปลือกเรียบ กง่ิ ออ นและใบ
เกลยี้ ง ใบเดี่ยว เรียงเวยี น รูปรี-ไขก ลับ ยาว 10–17 ซม. ขอบใบ
หยกั ซ่ฟี น หา ง กานใบยาว 4–8 ซม. ปลายกานบวม ผลรูปรีแนว
ขวาง กวาง 2–2.5 ซม. มีสองพู ปลายผลมีตง่ิ ยาว, ชอบข้ึนตาม
ปาดงดบิ ใกลแหลงน้าํ

มนั เงา มีรอยกดตามแนวเสนแขนงใบ กลบี ดอกรปู แตรสชี มพูอม สรรพคณุ
สม ผลแบบฝกเปนแทงยาว 2.5–4 ซม. มรี อ งตามแนวยาว 4 รอง • ใบและเนอ้ื ไม : แกไ ขต วั รอ น ถอนพษิ ไข แกป วดหัว; ใบออน :
เมือ่ แกจะแตกอา คลายฝก ตอยต่งิ มรี สขม ใชปรงุ อาหาร เชน ออ ม หรอื แกง (NE2)
สรรพคุณ • ใบ เนอ้ื ไม หรอื ราก : แกไ ขตวั รอ น แกไขมาลาเรยี (NE3)
• ยอดออ น : แกดีซา น, ยอดมรี สขมอมหวาน ทานเปนผักสดกับ • ราก : มรี สฝาด ในฟล ิปปน ส ใชรากตมน้ํารบั ประทานเปนยาขับ
ลาบ-กอย (รสชาติคลา ยกบั ตน ดปี ลาก้ัง (Phlogacanthus ประจาํ เดือนและทําใหเ กิดการแทงลูก แกลมอณั ฑพฤกษ ขับลม
pulcherrimus) ซ่งึ เปน ผกั ทน่ี ยิ มกินในบางจงั หวัดของภาค รกั ษาโรคตา บาํ รงุ นํ้าเหลอื ง; เถา : ตม นาํ้ ดื่ม แกปวดเมอ่ื ย ผสม
อีสานและเหนือ) (NE3) กับรากตูมกาขาวเปนยาระบาย ขบั โลหติ บาํ รุงหวั ใจ แกไ ข แก
ซางตาเหลือง (R14)

256

ดูกไก่ย่าน เดือยไก่

ชอ่ื ทองถิน่ : กําลังหนุมาน ตน กน กระดกู บงั ชือ่ ทอ งถิ่น : เดอื ยไก (สระแกว )
(สระแกว), ตองแหง (พัทลุง) ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Benkara fasciculata (Roxb.) Ridsdale
ชื่อวิทยาศาสตร : Hedyotis capitellata Wall. ex G. Don ชือ่ วงศ : RUBIACEAE
var. capitellata ลกั ษณะเดน : ไมพุม สงู 1–3 ม. ตามก่ิง ใบ และผล มีขนสั้นหนา
ชือ่ วงศ : RUBIACEAE แนน มีหนามออกเปน คูต ามกิ่ง ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รปู ร-ี ขอบ
ลกั ษณะเดน : ไมลมลุกรอเลื้อย ยาวถึง 3 ม. ก่งิ มีขนสัน้ -เกล้ียง ขนาน ยาว 3–8 ซม. กลีบเล้ียงและกลีบดอกอยา งละ 5 กลีบ
และเปนส่ีเหลยี่ ม มีหใู บที่ระหวางกานใบคูตรงขาม ปลายหูใบเปน กลีบดอกเปน หลอด ยาว 2–3 ซม. สขี าว-เหลืองออน ผลทรงกลม
เสน แหลม 1 เสน สีมวง ใบเดย่ี ว เรียงตรงขา ม รปู รี-รูปใบหอก กวา ง 7–10 มม.
ยาว 3–9 ซม. กานใบยาวไมเ กนิ 5 มม. สีมว ง ชอ ดอกยาวถึง 10 สรรพคณุ
ซม. ออกทปี่ ลายก่ิง ดอกขนาดเล็กสีขาว-สีครีม ยาว 5–7 มม. • ใบ ราก หรอื ลาํ ตน : รักษาโรคผวิ หนัง รักษาบาดแผล แผล
อักเสบ (E2)

สรรพคณุ แดง
• เถาหรือราก : บํารงุ กาํ ลงั กระตนุ กาํ ลัง (E2) ช่อื ทองถ่ิน : แดง (อดุ รธาน,ี พิษณโุ ลก)
• ราก : แกโ รคธาตพุ กิ าร แกบ ิด แกอ าการมนึ เวยี นศีรษะ; ใบ : ชอื่ วิทยาศาสตร : Xylia xylocarpa (Roxb.) W.
แกไขปา ตําพอกแผลสดลดการอักเสบจากพษิ งูกดั แผลชา้ํ บวม Theob. var. kerrii (Craib & Hutch.) I. C. Nielsen
บวมตามขอและกลามเนอ้ื โรคปวดเอว กระดูกหัก กระดูกแตก; ชอ่ื วงศ : FABACEAE
เครอื : ทบุ แลว คั้นเอาน้ํา ทารกั ษาแผลไฟไหมน า้ํ รอ นลวกแลว ลกั ษณะเดน : ไมตนผลัดใบ สูงถงึ 40 ม. เปลอื กแตกรอ นเปน
พนั ผา ไว (R58) แผนบาง ตามก่ิงออน ใบและฝกมีขนส้ันหนานุม ใบประกอบ
• ตาํ รบั ยาโรคไสเ ลอ่ื น : รกั ษาโรคไสเ ลอื่ นท้งั ชายและหญิง หรือ แบบขนนก มีชอใบยอย 1 คู ใบยอย 3–5 คู เรียงตรงขาม
โรคไขลงฝก (S2-68)

257
โดไ่ ม่รู้ล้ม
ชอ่ื ทองถนิ่ : โดไมร ูลม (สระแกว, อดุ รธาน,ี
พิษณุโลก), โดไมร ูล ม หญาปราบ หญาสาบ ทนดี
(ตรงั )
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Elephantopus scaber L. var. scaber
ช่ือวงศ : ASTERACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมล มลุก สงู ถึง 40 ซม. ทกุ สว นมขี นสขี าวสากคาย
ใบเรียงเวียน ออกเปนกระจกุ ชดิ ผิวดนิ รปู หอกกลับ ยาว 10–20
ซม. ขอบใบจักฟนเลอื่ ย โคนใบสอบ ไมมีกานใบ ผิวใบดานบนมี
รอยกดเปนรอ งตามแนวเสนใบ ชอดอกสูงถึง 40 ซม. มใี บประดับ
3 ใบรองชอ ดอกยอยคลายถวย ดอกสมี ว ง

รูปรี-ใบหอก ยาว 7–17 ซม. ชอดอกกระจกุ แนน ทรงกลมสขี าว
ครมี ผลแบบฝกแบนเปลือกแขง็ คลายไม รูปขอบขนาน เบย้ี วและ
โคง เลก็ นอย ยาว 12–20 ซม.
สรรพคุณ
• เปลอื ก : ชว ยสมานแผล เขา ยาแกโ รคลมชัก ลมบา หมู (N1)
• เปลือก : แกไอ (NE3)
• เปลือกและแกน : แกป วดฟน แกนา้ํ ลายเหนียว แกกระหายนา้ํ
ขบั ปสสาวะ แกบ ดิ แกท องรว ง แกไ อ ทาํ ใหชมุ คอ ดับพิษรอน,
ใชภายนอกเปนยาหามเลอื ด แชน้าํ ใชลางบาดแผลเรอ้ื รัง (R9)
• ตํารับยาโรคลมชัก : แกโ รคลมชกั (N1-200)
• ตาํ รบั ยาแกฟกชาํ้ -เคลด็ ขดั ยอก : รักษาอาการฟกช้าํ ช้าํ ใน
เคลด็ ขัดยอก ตกจากท่สี งู รถชน (NE3-013)
• ตํารับยาโรคดีซา น : รักษาโรคดีซาน (NE3-044)

258

สรรพคณุ สรรพคุณ
• ยางจากลาํ ตน หรอื ผล : แกทองเสีย แกบิด ปดธาตุ รกั ษาแผล • ราก : ขับลม แกทองอืดทอ งเฟอ (N1)
นา้ํ กัดเทา สมานบาดแผล ชวยหามเลือด; ทุกสว น : แกท อ งรว ง • ตํารับยาแกปวดเมอ่ื ย : แกปวดเม่อื ย (N1-57)
แกบดิ ลดไข แกไ ขมาลาเรยี สมานแผล แกก ามตายดา น บํารุง ตรชี วา
ความกาํ หนัด บํารุงธาตุ ชูกําลัง แกมุตกติ ระดูขาว เปน ยาอายุ ชอ่ื ทองถ่นิ : อัคคที วาร (อุดรธาน)ี , อคั คีทวาร
วัฒนะ แกอ าเจยี น (R7) อัคคที ะลัก (สระแกว)
• ทัง้ ตน : บาํ รุงรา งกาย บาํ รุงกําลงั แกรอนในกระหายนํา้ บาํ รงุ ช่อื วิทยาศาสตร : Rotheca serrata Steane & Mabb.
หวั ใจ แกกษยั ชวยขบั เหง่ือ แกอ าการออนเพลยี ทําใหอ ยาก ชื่อวงศ : LAMIACEAE
อาหาร บาํ รุงเลอื ดสําหรบั สตรที ปี่ ระจาํ เดือนมาไมปกติ (N1) ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สงู 1–2 ม. กงิ่ ออ นเปน สีเ่ หลี่ยม ก่งิ และชอ
• ทง้ั 5 : บาํ รุงกําลงั ยาอายวุ ัฒนะ (E2) ดอกมขี นสนั้ หนาแนน ใบเดี่ยว เรียงตรงขา มต้ังฉาก รปู ไขก ลับ
• ทัง้ 5 : แกเ หนบ็ ชา บาํ รงุ หัวใจ บาํ รงุ กาํ หนัด (NE3) ยาว 15–25 ซม. ขอบใบจกั ฟนเลอ่ื ยหา ง แผนใบดา นลา งคอ นขาง
• ตํารับยาแกป วดเมอื่ ย-บาํ รงุ กําลงั : แกป วดเม่ือย บาํ รุงกําลงั เกลี้ยง ชอดอกรูปกรวยแหลม ออกทปี่ ลายกง่ิ ตั้งขึ้น ยาว 20–40
(E1-05) ซม. กลีบดอกแยก 5 แฉก แบงเปน 4 กลีบชขี้ ึน้ บน สขี าวอมเขยี ว
• ตํารับยากาํ ลงั ฮอ สะพายควาย : บาํ รงุ กาํ ลัง แกป วดเมอ่ื ยตาม และ 1 กลบี ชล้ี งลาง สมี วง
รางกาย (S1-43)
• ตาํ รบั ยาขับน่ิวในไต-ทางเดนิ ปสสาวะ : ชวยขับน่วิ ในไต และ
ทางเดินปส สาวะ ชวยลา งไต รกั ษาทางเดนิ ปสสาวะอกั เสบ
(S2-14)
• ตาํ รับยาบํารุงรักษามดลูก : ชวยบาํ รุงรกั ษามดลกู บํารงุ สตรี
หลังคลอด มดลูกพิการ (S2-60)
• ตํารบั ยาแกปวดเมอื่ ยกลา มเน้ือ-เสนเอ็น/บาํ รงุ กําลงั : แกปวด
เมอ่ื ยกลา มเน้อื -เสนเอ็น บํารุงกาํ ลงั (S2-61)

ตดหมาต้น
ตดหมาตน (พิษณุโลก)

ช่ือวิทยาศาสตร : Saprosma consimile Kurz
ชื่อวงศ : RUBIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพมุ สูง 50–100 ซม. ก่ิงออ นและใบเกล้ยี ง ใบ
เดี่ยว เรียงตรงขา มตั้งฉาก รูปไข- รี ยาว 3–8 ซม. แผนใบดานบน
มันเงา มีเสนกลางใบนูน กา นใบยาวไมเกนิ 3 มม. จดุ เดน ท่เี มื่อ
ขยใ้ี บจะมีกลน่ิ เหม็น, ดอกสขี าว มี 4 กลีบ บานกวาง 8–10 มม.
กา นดอกสนั้ มาก ดอกตูมสีมวง

สรรพคณุ
• ใบ ราก และลาํ ตน : รกั ษาริดสีดวงทวาร (NE3)
• ใบหรอื ราก : รดิ สดี วงทวาร (NE5)
• ตํารบั ยาริดสดี วงทวาร : รักษาริดสดี วงทวาร (E2-220)
• ตํารบั ยาโรคริดสีดวงทวาร : รักษาริดสดี วงทวาร (S2-41)
(S2-42)

259

ตองกาย สรรพคณุ
ชื่อทองถิน่ : พรา วนกคมุ วานสากเหลก็ (ตรงั ), • หัว : แกปวดเมือ่ ย (N1)
หวายกอ วานสากเหล็ก (พิษณโุ ลก) • ตํารับยาแกปวดเม่ือย/ชาตามปลายมือ-เทา : แกปวดเม่ือย
ชือ่ วิทยาศาสตร : Molineria capitulata (Lour.) Herb. ตามรา งกาย แกอ าการชาตามปลายมอื ปลายเทา (S2-36)
ชื่อวงศ : HYPOXIDACEAE • ตํารับยารกั ษามดลกู เคลอ่ื น/บํารงุ โลหติ : รักษามดลกู เคล่อื น
ลกั ษณะเดน : ไมล มลกุ สงู ถึง 1 ม. ลาํ ตนสน้ั อยูชิดผิวดิน ใบ บาํ รงุ โลหติ (S2-45)
เดยี่ ว เรียงเวยี นกระจุกชิดผิวดิน รูปรแี คบ ยาว 40–90 ซม. กา น • ตาํ รบั ยาลางโรคกอ นการรกั ษาโรคระบบเสน เอน็ : ชว ยชาํ ระ
ใบยาว 15–40 ซม. จดุ เดน ทม่ี เี สน แขนงใบเรียงขนานกันตามแนว ลางระบบภายในรางกายกอ นการรกั ษาโรคทีเ่ ก่ียวกบั ระบบเสน
ยาวจาํ นวนมาก และแผนใบพบั จบี ตามแนวเสน แขนงใบ คลายใบ เอ็น อมั พฤกษ อัมพาต (S2-55)
ตนกลา มะพราว ตามกานใบ ชอดอกและผลมีขนยาวปุกปยุ สขี าว • ตํารับยารักษามดลกู พิการ-อักเสบ/ขบั นา้ํ คาวปลา : แกม ดลกู
อมน้าํ ตาล ชอดอกต้ังขึน้ กานชอดอกยาว 10–25 ซม. ดอกยอย พิการ มดลกู อักเสบ ชวยบํารุงรักษามดลูก บํารงุ สตรีหลงั คลอด
ออกเปนกระจุกแนน คอ นขางกลม ดอกสีเหลอื ง ผลรูปไข ยาว ชวยขับน้าํ คาวปลา ขับเลอื ดเสีย (S3-51)
1–1.5 ซม., มีสรรพคณุ ใกลเคียงกบั วานสากเหล็ก (Mol_lat_lat) ตองข้าวต้ม
มกี ารเก็บมาใชทําสมุนไพรแทนกนั ได ช่ือทอ งถนิ่ : เล็ดชา ง (ตรงั )
ชื่อวิทยาศาสตร : Stachyphrynium latifolium
(Blume) K. Schum.
ชอ่ื วงศ : MARANTACEAE
ลักษณะเดน : ไมล มลกุ สงู ถงึ 2 ม. มีเหงา ใตด นิ ใบแตกกระจุก
เปนกอ กา นใบยาว 0.9–1.7 ม. เกลย้ี ง ปลายกา นบวมพอง ใบรูป
ไข ยาว 25–60 ซม. แผนใบดานลา งมีนวลขาว เนื้อใบคลายไป
ตองกลวย ชอ ดอกออกจากเหงา ท่ีโคนกอ รูปทรงเรียวยาว ยาว
10–15 ซม. ใบประดบั ซอ นกนั แนน สีนาํ้ ตาลหรอื เขียวออ น ดอก
สขี าว

260

สรรพคุณ ตองแตก
• ตาํ รับยาบาํ รุงกําลัง : ใชหัว/เหงาเขายา ชวยบาํ รุงกําลงั ชอื่ ทอ งถนิ่ : ตองแตก (พิษณุโลก), ตองแตก ทนดี
(S2-74) (ตรงั )
ตองเตา๊ ชื่อวทิ ยาศาสตร : Baliospermum solanifolium (Burm.)
ช่ือทองถิ่น : ตองเตา (อดุ รธานี) Suresh
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Mallotus barbatus Müll. Arg. ชอ่ื วงศ : EUPHORBIACEAE
ชอ่ื วงศ : EUPHORBIACEAE ลักษณะเดน : ไมลมลกุ สงู ถึง 1.2 ม. ก่งิ มีนํา้ ยางใส กง่ิ ออนและ
ลักษณะเดน : ไมพ ุม สงู ถึง 7 ม. ตามก่ิงออ น กา นใบ แผน ใบดา น แผนใบดานลา งมขี นประปราย ใบเดย่ี ว เรียงเวียน รูปไข- ขอบ
ลาง และผลสขี นปกุ ปุยสนี า้ํ ตาลออ น ใบเดยี่ ว เรียงสลับ รปู ไข ขนาน-ไขก วา งแกมหยัก 3 พู ยาว 10–20 ซม. ขอบใบหยกั ซฟ่ี น
กวา ง-แกมกลม บางครั้งปลายใบหยัก 3 พตู ืน้ ๆ ยาว 15–32 ซม. ทป่ี ลายหยกั มีตอ ม ผลทรงกลมและมี 3 พู กวา ง 1.2–1.7 ซม.
กานใบตดิ กับแผน ใบแบบใบบัว (ตดิ แบบกนปด) ชอ ผลหอยลง
ยาวถึง 40 ซม. ผลทรงกลม กวาง 1.5–2 ซม.

สรรพคณุ
• เน้อื ไม : รักษาไตพิการ (NE2)
• ใบ : ตาํ รายาไทยใช ตม นา้ํ ด่ืม รกั ษาโรคเจ็บหนาอก ตมรกั ษา
อาการปวดเมอื่ ยตามบริเวณหนา อก; ราก : แกไข; ใบและลําตน
: มคี ณุ สมบัตเิ ปน ยาระบาย ยาขบั พยาธหิ รือปรสติ ในรา งกาย
ยาแกไ ข แกพิษตานซาง (โรคพยาธิในเดก็ มอี าการซูบซดี
ออ นเพลีย พุงโร (R1)

261

สรรพคณุ ต่อไส้
• รากและใบ : มฤี ทธิ์เปนยาถายไมรายแรงนัก; เมล็ด : เปน ยา ชือ่ ทอ งถ่ิน : กา มปู แชม ช่ืน (สระแกว)
ถา ยอยา งแรง (ไมน ิยมใช), ใชใ บ 2–4 ใบ หรอื ราก 1 หยบิ มือ ช่ือวิทยาศาสตร : Allophylus cobbe (L.) Raeusch.
ยาไทยนิยมใชราก 1 หยบิ มอื ตม กับนาํ้ 1 ถว ยแกว เติมเกลอื ชือ่ วงศ : SAPINDACEAE
เลก็ นอย ดมื่ เปน ยาถา ย ถายลมเปน พิษ ถายพษิ พรรดกึ ถาย ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สูงถึง 2 ม. ตามกิง่ ออน ชอดอก กา นใบ
เสมหะเปน พษิ (R31) และใบมีขนสน้ั -เกือบเกล้ียง ใบเรียงสลบั ใบประกอบมี 3 ใบยอย
• ตาํ รบั ยาถา ย : ยาถาย (N1-129) รูปไข- หอกกลบั ยาว 5–15 ซม. ขอบใบจักฟน เลื่อย-เรยี บ ชอ
• ตาํ รบั ยาถาย : ยาถา ย ยาระบาย แกท อ งผูก แกจกุ เสียดแนน ดอกยาว 5–10 ซม. ตง้ั ข้นึ ดอกยอ ยขนาดเลก็ สีขาว ผลทรงกลม
ทอ ง (S1-20) กวา ง 5–7 มม. สุกสีแดง
• ตาํ รบั ยาแกปวดเม่อื ยเสนเอ็น : แกปวดเม่ือยตามเสนเอน็ เสน สรรพคณุ
เอน็ อกั เสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ-อัมพาต (S2-31) • รากและลําตน : แกผดิ สาํ แดง (E2)
• ตํารับยาไขกําเดาใหญ : แกไขกาํ เดาใหญ (S2-47) • ราก : รากกานเหลอื ง เปลือกกระทุม โคก รากตอไส รากทอง
• ตาํ รับยาลา งโรคกอ นการรักษาโรคระบบเสน เอน็ : ชว ยชําระ แมว รากกะเจียน ตม รวมกนั มสี รรพคณุ บาํ รุงเลอื ด ขับน้าํ
ลางระบบภายในรา งกายกอนการรกั ษาโรคทเ่ี กยี่ วกับระบบเสน คาวปลาหลังคลอด แกปวดเมื่อย (R35)
เอ็น อัมพฤกษ อัมพาต (S2-55)

ตองอาน
ชือ่ ทอ งถิ่น : -
ชอื่ วิทยาศาสตร : Phytocrene bracteata Wall.
ชอ่ื วงศ : ICACINACEAE
ลักษณะเดน : ไมเ ถาเน้อื แข็ง ยาวถงึ 30 ม. มีหัวใตดิน ตน แยก
เพศ ตามกง่ิ ออ น กานใบ ชอดอก และผลมขี นยาวสีนํ้าตาลทอง
หนาแนน เถาออนมหี นามเล็กนอย เถากลม ใบรูปไข- ไขกวาง
ยาว 10–20 ซม. โคนใบเวา มเี สน แขนงใบออกจากโคนใบ 1 คู
ใบของตนอายนุ อ ยมี 3 แฉก ผลยอ ยรูปรยี าว-ไขกลับ ยาว 5–7
ซม. มี 4 พู ตดิ เปน กลมุ อดั กนั แนน มี 60–80 ผลยอย/กลมุ ปลาย
ผลมีตุมแหลม
สรรพคณุ
• หวั ใตด ิน : นํามาตม/ตนุ กบั หมู/ไก กินเปนยาบาํ รงุ กําลัง และ
บํารงุ ผิวพรรณ (R5)

ผลออนตองอาน

262

ตะโกสวน ตะขบ
ชือ่ ทองถ่นิ : ตะโกสวน (พิษณโุ ลก), ตบั เตา ใหญ ชอ่ื ทองถน่ิ : ตะขบปา (สระแกว )
(พษิ ณโุ ลก), มะพลบั (อุดรธานี) ชอื่ วิทยาศาสตร : Flacourtia ramontchi L’Hér.
ชอื่ วิทยาศาสตร : Diospyros malabarica (Desr.) Kostel. ช่อื วงศ : SALICACEAE
ชอื่ วงศ : EBENACEAE ลกั ษณะเดน : ไมตน สูงถงึ 15 ม. เปลือกเรยี บสีน้ําตาลแดง ตน
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถึง 20 ม. เปลือกสดี ํา เรียบ-ขรุขระ ตาม อายนุ อยจะพบหนามแทงเดยี่ วและหนามแตกกงิ่ ตามก่ิงออ นและ
กงิ่ ออน ดอกและผลออ นมีขนสัน้ หนาแนน สีน้ําตาล ใบเดี่ยว เรยี ง ชอดอกมขี น-เกอื บเกล้ยี ง ใบรูปร-ี รปู ไข ยาว 6–12 ซม. ขอบใบ
สลับ รปู ขอบขนาน ยาว 15–25 ซม. ปลายใบมน-แหลม แผน ใบ จักฟนเลอ่ื ย-หยกั มน ปลายใบแหลม-เรยี วยาวคลายหาง สวนใหญ
เกลีย้ งมนั เงา เนอ้ื ใบหนา มีตอ มสีเขียวเขมบนแผน ใบ เรียงขนาน ผิวใบเกล้ยี ง-ขนประปราย ผลทรงกลม กวางถงึ 2.5 ซม. จุดเดน ที่
กบั เสน กลางใบ ผลทรงกลม-แกมแบน กวา ง 2.5–3.5 ซม. มีกลีบ ปลายผลมียอดเกสรเพศเมยี ตดิ รวมเปนตง่ิ เดยี ว ไมแ ยกหางเปน
เลย้ี ง 4 กลีบ ติดแนบท่ขี ัว่ ผล หมุ ผลลงมาไมเกนิ 1/3 สว น หลายติง่ ผลสุกสแี ดง, พบในปาดงดบิ แลง ใกลแหลง นํ้า ทั่ว
ประเทศ

สรรพคุณ สรรพคณุ
• เปลอื กและเน้อื ไม : รกั ษาโรคตับ (N1) • แกนหรอื ราก : ยาอายุวฒั นะ แกท อ งรว ง; ผลสกุ : รสหวานอม
• เปลือกและเนือ้ ไม : แกทองเสยี บํารงุ กําหนัด (NE3) ฝาดเปนผลไม (ตอ งคลงึ นวดกอนทานเพ่อื เพมิ่ ความหวาน) (E2)
• เปลือก : ประคบแกชาํ้ ใน แกปวดบวม; แกน : ตาํ รายาไทย ตม • ใบ : บาํ รงุ กาํ ลงั โดยใชใบตะขบหรือตะขบไทย (Flacourtia
นาํ้ ดื่มและอาบแกประดง (อาการโรคผิวหนัง เปนเมด็ ข้นึ คลาย rukam) กบั เปลอื กของพนอง (Shorea hypochra) ตม นาํ้ ด่มื
ผด คนั มาก มกั มีไขร วมดว ย) แกผ ืน่ คนั แดงทว่ั ตวั ปวดแสบรอน (S2)
มีน้าํ เหลอื งไหลซึม ยาพ้ืนบานใชแ กน ผสมกับสมนุ ไพรอ่นื ตมนํ้า
ดื่มแกห ดื (R16)
• ตํารบั ยาโรคตบั : รกั ษาโรคตบั ตบั อักเสบ ตบั แขง็ (N1-136)

263

ตะขบปา่

ชือ่ ทอ งถ่นิ : หมากเก็น หมากเบน็ (อุดรธาน)ี ผลสุกตะขบปา
ชื่อวิทยาศาสตร : Flacourtia indica (Burm. f.) Merr. ตะเข้คุมวงั
ชือ่ วงศ : SALICACEAE ชื่อทองถิ่น : โคคลาน (ฉะเชิงเทรา)
ลักษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 11 ม. เปลือกตน อายุนอ ยจะพบ ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Mallotus coudercii (Gagnep.) Airy Shaw
หนามแทง เดีย่ วและหนามแตกกงิ่ ตามกิ่งออ น ชอดอกและใบมี ชื่อวงศ : EUPHORBIACEAE
ขน-เกอื บเกลี้ยง ใบรูปรี-รูปไขกลับ ยาว 3–7 ซม. ผลทรงกลม ลักษณะเดน : ไมพ ุม สูงถึง 80 ซม. ก่ิงออ นและใบมขี น
กวา งถงึ 1.5 ซม. ปลายผลมียอดเกสรเพศเมยี ตดิ อยู 5–7 ต่งิ สุก ประปราย-เกล้ยี ง ใบเดีย่ ว เรียงตรงขา ม รปู ไข- ไขก ลับ ยาว
สแี ดง, คลา ยตะขบไทย (Fla_ruk) จดุ ตางทต่ี ะขบปา มีเปลือกแตก 15–16 ซม. ปลายใบเรยี วแหลม ขอบใบหยักซี่ฟน -เกอื บเรยี บ มี
สะเกด็ บาง ไมเ รียบ ขนาดใบคอ นขางเลก็ กวา ปลายใบเวา ตอ มที่ปลายรอยหยกั โคนใบตดั -เวา มีเสน แขนงใบออกจากโคน
บุม -แหลม และขนาดผลคอ นขา งเล็กกวา, มกั พบตามปา ผลดั ใบ ใบ 1 คู กานใบยาว 2–5.5 ซม. ผลทรงรีมี 3 พู กวา ง 9–12 มม.
อาจพบบา งในปาดงดบิ แลง ทั่วประเทศ ผิวไมมีหนาม แตม ขี นหนาแนน เม่ือแกจะแหง แตก 3 ซีก
สรรพคุณ สรรพคณุ
• ใบ เปลอื ก และเนอ้ื ไม : แกไขต ัวรอน แกไ อ แกท อ งรว ง; ผลสกุ • ตํารบั ยาแกปวดเมอื่ ย/บาํ รงุ รางกาย/อมั พาต : แกปวดเม่อื ย
: รสหวานอมฝาดเปนผลไม (ตอ งคลึงนวดกอ นทานเพือ่ เพิม่ ตามเสน -ขอ -หลัง-เอว อัมพาต บํารุงรา งกาย ชว ยใหเจรญิ
ความหวาน) (NE3) อาหาร (E3-02)
• ตํารบั ยาโรคซาง : แกโ รคซางในเดก็ (NE3-009)

ผลออ นตะขบปา

264
ตะเข็บ
ช่อื ทอ งถ่นิ : คอกว่ิ (ตรงั ), หวายตะมอย (สระแกว )
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Pothos scandens L.
ชื่อวงศ : ARACEAE
ลักษณะเดน : ไมลม ลุกทอดคลาน เลือ้ ยเกาะตามตนไม ยาวถึง
15 ม. ก่ิงและใบเกลีย้ ง ใบเดยี่ ว เรียงสลับระนาบเดียว รปู ใบหอก
(แผน ทอ่ี ยูชว งปลาย) ยาว 5–11 ซม. กานใบแผเปนปกออกคลา ย
ใบ ยาว 1/3–1/2 ของความยาวแผน ใบ กวางถงึ 2 ซม. กาบใบ
ยาว 2–5 มม. โอบก่ิง ชอ ดอกอดั แนน ทรงกลม กวา ง 1–1.5 ซม.
สีครีม มีใบประดับสมี วงอมนา้ํ ตาล
สรรพคณุ
• ทง้ั 5 : ยาอายวุ ฒั นะ บาํ รุงกําลงั (E2)
• ตํารับยาโรคเบาหวาน : แกโ รคเบาหวาน (S2-22)

6–17 ซม. ชอดอกสีขาวอมเขยี ว ผลทรงกลม กวา ง 1.5–2 ซม.
เปลอื กแขง็ คอนขางหนา ผลสุกสีเหลือง มกั มีสะเกด็ สนี ้ําตาล เน้อื
ในสีสม รสเปรี้ยว เปนผลไมป า
สรรพคุณ
• เน้ือไม : ชว ยขับน้ําคาวปลาหลังคลอด (N1)
• เปลือก : แกทองรว ง, ผลสุก : เนอ้ื ในสีสมรสเปรยี้ ว ทานชวย
ระบายถายทอ ง (NE3)

ตะคร้อ ตะครอง
ชอื่ ทองถน่ิ : ตะครอ (พษิ ณโุ ลก), หมากครอ ชื่อทอ งถ่นิ : ตะครอง (สระแกว), เล็บเหยย่ี วใหญ
(อุดรธาน)ี หนามครอบชาง (พิษณุโลก)
ช่อื วทิ ยาศาสตร : Schleichera oleosa (Lour.) Merr. ชื่อวิทยาศาสตร : Ziziphus cambodiana Pierre
ชื่อวงศ : SAPINDACEAE ชอื่ วงศ : RHAMNACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต น ผลัดใบ สงู ถึง 20 ซม. เปลือกแตกเปนสะเก็ด ลกั ษณะเดน : ไมพุมรอเลื้อย สูงถงึ 7 ม. เปลอื กลาํ ตนขรุขระ มี
บาง กิ่งออ นและแผนใบดานลางมขี นสนั้ ใบเรียงเวียน ใบ หนามโคนหนารูปส่เี หล่ยี ม ตามก่ิงมีหนามแหลมคม กิง่ ออนและ
ประกอบแบบขนนก มีใบยอย 2–3 คู เรียงตรงขา ม รปู รี ยาว แผน ใบดา นลา งมขี นส้นั -ประปราย ใบเดีย่ ว เรยี งสลบั รูปรี ยาว
5–9 ซม. มีเสนแขนงใบออกจากโคนใบ 1 คู ขอบใบชวงโคนใบ
เรม่ิ ออกจากโคนเสนแขนงใบคูแรก ดอกขนาดเลก็ สีเขียวอม
เหลอื ง ผลทรงกลม กวาง 1.5–2 ซม. ผิวเกล้ยี ง มี 1 เมล็ด คลาย
เมลด็ พุทรา
สรรพคณุ
• เปลือก : สมานแผลภายในทางเดินอาหาร (N1)
• เนื้อไมหรอื ราก : แกอ ัมพฤกษ (E2)

265
โคนใบ 1-2 คู เนื้อใบหนาอวบนํ้า ใบของตนอายุมากรูปใบหอก
ยาวถงึ 23 ซม. ชอ ดอกและชอผลต้ังขึ้น ยาว 3–7 ซม. ดอกสคี รีม
ผลทรงกลม กวา ง 5–8 มม. สกุ สเี หลอื งอมสม มกี า นผลยาว 5–8 มม.

ตะคา้ นเล็ก บน : ใบของตนอายนุ อ ย, ลา ง : ใบของตนอายมุ ากและผลออ น
ช่ือทองถน่ิ : สะคาน (ช่ือทีน่ ยิ มเรยี กทางสมุนไพร), สรรพคุณ
เถาสะคาน (สระแกว ), สะคา น สะคา นพริก (ตรัง), • เถา : มีรสเผด็ รอน ใชป รับธาตุในรางกาย (E2)
สะคาน สะคา นพษิ (พัทลุง), สะคา นเถา สะคา น (พษิ ณโุ ลก) • เถา : ยาประจําธาตุลม ชว ยบํารุงเลือด ชวยขับลม (N1)
ชื่อวิทยาศาสตร : Piper ribesioides Wall. • ตํารบั ยาเบญจกลู : บาํ รุงธาตุ ปรับสมดุลธาตุ (ดิน น้าํ ลม ไฟ)
ชอ่ื วงศ : PIPERACEAE ชว ยใหเ ลือดไหลเวยี นดี แกท องอืด ชวยขบั ลม (N1-268)
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนือ้ คอนขางออน เลอื้ ยเกาะตามตน ไม ยาว • ตํารับยารกั ษากลาก/เกล้ือน/สงั คัง/ตกขาว/สะเกด็ เงนิ :
ถึง 30 ม. เถามีขอปลอ งและมชี อ งอากาศกระจาย กิง่ และใบ รกั ษาโรคผวิ หนังจากเชือ้ รา เชน กลาก เกลอื้ น สงั คงั ตกขาว
เกลย้ี ง ทุกสว นมกี ลน่ิ คลา ยพริกไทย ใบเด่ียว เรยี งสลับซายขวา (สาเหตุจากเช้อื รา) หรือจากเช้ือแบคทีเรยี สะเกด็ เงิน แกคนั
ใบตน อายนุ อ ยรปู หัวใจ (มีขนาดเลก็ และสน้ั กวาใบตนอายมุ าก) ผดผนื่ คัน (S1-16)
โคนใบเวา เสนแขนงใบขา งละ 3–6 เสน มีเสนแขนงใบออกจาก

266

• ตํารบั ยากาํ ลงั ฮอ สะพายควาย : บํารุงกําลัง แกปวดเมอื่ ยตาม • ตาํ รับยาบาํ รงุ โลหติ สตรีโดยตรง/ประจาํ เดือนเปนปกติ :
รา งกาย (S1-43) บาํ รุงโลหิตของสตรีโดยตรง รกั ษาอาการประจําเดือนใหเ ปน
• ตํารับยารักษากระดกู ทบั เสน : รักษาอาการกระดกู ทับเสน ปกติ แกโ ลหติ ระดเู สีย บาํ รงุ ธาตุ (S2-50)
(S2-04) • ตาํ รับยาบํารงุ เลือด/หวั ใจ/รางกาย : บาํ รุงเลอื ด ดมู เี ลือดฝาด
• ตาํ รบั ยาแกก ษัยไตพิการ : แกก ระษยั ไตพิการ บาํ รุงไต, ชวย บาํ รุงหัวใจ บาํ รุงรางกายทง้ั ชาย-หญิง แกอาการซูบผอม
ขับปสสาวะ (S2-09) (S2-51)
• ตาํ รบั ยาโรคไมเกรน/วงิ เวยี นศีรษะ : แกโรคไมเกรน แกว ิง • ตํารับยาซอ มแซม/เสริมสรา งเสน เอน็ พิการ : ชวยซอมแซม
เวียนศีรษะ (S2-21) และเสริมสรา งเสน เอน็ ทพ่ี กิ าร แกอ าการกระษัยเสน ในทอ ง
• ตํารับยาโรคอมั พาตระยะแรก : แกอ าการกง่ึ อัมพาตหรือ (เสน ทอ งแข็ง) (S2-54)
อัมพาตระยะแรก กลามเนือ้ ออนแรง เดนิ ยืนไมปกติ เหนบ็ ชา • ตาํ รับยาไขห วดั ใหญ : แกไ ขห วัดใหญ (S2-57)
(S2-24) • ตํารับยาแกเหน็บชา : แกเ หน็บชา อาการชาตามปลายมอื
• ตาํ รับยาปรบั ธาตุ/ปวดเมอ่ื ย/ปวดขอ-เอน็ : ชว ยปรบั ธาตุ แก ปลายเทา (S2-63)
ปวดเม่ือย ปวดเขา -ขอ -เอน็ แกเ อ็นพกิ าร (S2-26) • ตาํ รบั ยารักษากระดูกทับเสน : รกั ษาอาการกระดกู ทับเสน
(S2-66)
ซาย : ผลออ น-สกุ ของสะคา น, ขวา : เถา, ลาง : เถาแหง • ตาํ รับยารักษาอาการบวมอกั เสบจากพิษบาดแผล/แผล
• ตาํ รับยาโรคประดงเลอื ด : แกป ระดงเลือด เลอื ดขนึ้ มีอาการ อกั เสบ : รกั ษาอาการบวมอกั เสบจากพษิ บาดแผล รกั ษาแผลผุ
คันตามผิวหนงั (S2-27) พอง เปน หนอง (S2-67)
• ตํารับยาละลายลิ่มเลอื ด : ชวยละลายลม่ิ เลอื ด บรรเทาอาการ • ตาํ รับยาเบญจกูล : บาํ รงุ ธาตุ ปรับสมดุลธาตุ (ดิน น้ํา ลม ไฟ)
เสน เลือดตีบ (S2-30) ยาอายวุ ฒั นะ (S2-90)
• ตาํ รบั ยาแกป วดเมื่อยเสนเอ็น : แกป วดเม่อื ยตามเสน เอน็ เสน • ตาํ รบั ยาหอมนวโกฐ : แกคลนื่ เหยี นอาเจียน วงิ เวียน ลมจกุ
เอ็นอักเสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ- อัมพาต (S2-31) แนนในอก แกล มปลายไข แกอาการสะบัดรอนสะบดั หนาว
• ตํารบั ยาโรคอมั พฤกษ-อมั พาต : รักษาอมั พฤกษ-อัมพาต หรอื ครั่นเนื้อครน่ั ตัว รอนวูบวาบเหมอื นจะเปน ไข บาํ รงุ
(S2-32) ประสาท (S3-01)
• ตํารบั ยาไขกาํ เดาใหญ : แกไขกาํ เดาใหญ (S2-47) • ตํารับยาหอมอนิ ทจกั ร : แกคล่ืนเหียนอาเจยี น หนา มดื จะเปน
ลม ลมจุกเสียดแนน หนาอก แนนทอง ทอ งอดื อาหารไมย อ ย
ปรับระบบการหมุนเวียนเลอื ดใหดี ชวยบาํ รงุ หัวใจ (S3-04)
• ตาํ รับยาธาตบุ รรจบ : แกท องเดิน ทองเสยี ที่ไมม สี าเหตุจาก
การตดิ เชอื้ ไมมีไขแ ทรก, แกท อ งอดื ทองเฟอ แกธ าตุไมป กติ
หรือพิการ (S3-15)
• ตาํ รบั ยาแกทอ งอืด-ทอ งเฟอ : แกทองอดื ทองเฟอ ชวยขบั ลม
ทาํ ใหผ ายลม (S3-25)
• ตาํ รับยาแกท อ งอืด-ทองเฟอ : แกทองอดื ทองเฟอ ชวยขบั ลม
ในลาํ ไส (S3-39)
• ตาํ รบั ยารกั ษามดลูกพิการ-อักเสบ/ขับนา้ํ คาวปลา : แกม ดลกู
พิการ มดลกู อักเสบ ชว ยบาํ รุงรกั ษามดลกู บํารงุ สตรีหลงั คลอด
ชวยขบั นํา้ คาวปลา ขบั เลือดเสีย (S3-51)
• ตาํ รบั ยาโรคมะเร็งตบั /ฝใ นตบั /ตับอกั เสบ : รักษาโรคมะเร็ง
ตบั (ระยะท่ี 1–3), โรคฝใ นตับ, โรคตบั อกั เสบ, โรคกาฬลงตับ
(มีอาการเพอคลุมคล่งั และนยั นตาเปนสแี ดงรวมดวย) (S3-74)

267

ตะเคยี นเฒ่า ตะเคียนทอง
ชอ่ื ทองถิน่ : พะวานํ้า (ตรัง) ช่อื ทอ งถน่ิ : ตะเคยี น ตะเคียนทอง (พัทลุง, ตรงั ,
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Fagraea racemosa Jack ฉะเชิงเทรา)
ช่อื วงศ : GENTIANACEAE ช่อื วิทยาศาสตร : Hopea odorata Roxb.
ลกั ษณะเดน : ไมพุม สูงถงึ 6 ม. กง่ิ ออ นและใบเกล้ียง ใบเดี่ยว ชือ่ วงศ : DIPTEROCARPACEAE
เรยี งตรงขา ม รปู ไข- รี ยาว 10–25 ซม. เน้อื ใบคอ นขางหนา โคน ลักษณะเดน : ไมต น สูงถึง 40 ม. ตามกิง่ ออ น ชอดอก และผลมี
กา นใบโอบก่ิงเลก็ นอ ย ชอดอกออกที่ปลายกิง่ หอ ยลงยาว ขนสัน้ นุม เปลอื กแตกสะเก็ดตามแนวยาว-รองตามแนวยาว มชี นั
11–17 ซม. ดอกยอยเรียงดูคลายกระจกุ รอบขอ กลบี ดอกรปู แตร สขี าวใสออกมาตามรอยแผล ใบเด่ียว เรียงสลับ รูปไข-ใบหอก
ปากกวาง ยาว 2–3 ซม. สีสมอมขาว ปลายแยก 5 แฉก มกี ล่ิน ยาว 8–15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ผวิ เกลย้ี ง มกั พบตอ มทซ่ี อก
หอม ระหวางเสนแขนงใบและเสน กลางใบ ดอกขนาดเล็กสีครมี มกี ล่ิน
สรรพคุณ หอม ผลมปี ก 2 ปก รปู ขอบขนานแกมหอกกลับ ยาว 4–6 ซม.
• ใบสด : ตาํ แลวผสมนํา้ เลก็ นอย ค้ันกรองนา้ํ ด่ืม แกบวม แก ผลรปู หยดนาํ้ กวา ง 5–7 มม.
อกั เสบ แกป วดขอ แกไ ข (S2)

สรรพคุณ
• ตาํ รบั ยาน้ํามันชันตะเคยี น : รกั ษาบาดแผลอกั เสบเรอ้ื รงั แผล
หนองพุพอง แผลเบาหวาน/กดทบั แผลไฟไหม/น้ํารอนลวก
(E1-02)
• ตาํ รับยาไขหวดั ใหญ : แกไขหวดั ใหญ (S2-57)
• ตาํ รบั ยาเหลอื งปดสมุทร : รกั ษาอาการทองเสีย ทไ่ี มมีสาเหตุ
จากการติดเช้ือ ไมม ีไขแ ทรก อุจจาระไมเปนมูกหรือมีเลอื ดปน
(S3-14)

268
ตะแบกแดง
ชอ่ื ทอ งถิ่น : ตะแบก เปอย (พษิ ณุโลก),
ตะแบกแดง (สระแกว )
ชือ่ วิทยาศาสตร : Lagerstroemia calyculata Kurz
ชือ่ วงศ : LYTHRACEAE
ลักษณะเดน : ไมต นผลดั ใบ สงู ถงึ 40 ม. เปลอื กหลุดลอนเปน
ดวงและหลุมตืน้ ถากเปลอื กในสขี าวอมชมพู เห็นช้ันแคมเบียมสี
มว ง ก่งิ ออนเปนสี่เหลี่ยม ใบเด่ียว เรียงตรงขาม รูปรีแคบ-ใบหอก
ยาว 12–18 ซม. แผนใบดานลา งมขี นส้ัน กลบี ดอกสีขาว ดอก
บาน กวา ง 1–1.5 ซม. กลบี เล้ียง 5–7 กลีบ โคนกลบี เลี้ยงคลาย
ถวย ผวิ ดา นนอกเรียบ ผลรูปไข ยาว 1 ซม. เมือ่ แกแหงแตกอา 5
ซกี
สรรพคณุ
• เปลือกและแกน : บํารงุ กาํ ลงั แกบิด แกถายเปนมกู เลือด (E2)
• เปลอื ก : รสฝาด ชวยแกทอ งเสยี (N1)

ผลตะแบกแดง
ตะแบกนา
ช่อื ทอ งถ่นิ : เปอย (อุดรธาน)ี
ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Lagerstroemia floribunda
Jack var. floribunda
ชื่อวงศ : LYTHRACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต นผลดั ใบ สูงถงึ 20 ม. เปลือกหลดุ ลอ นเปน
ดวงและหลมุ ตืน้ ถากเปลือกในสขี าวอมชมพู เหน็ ชนั้ แคมเบียมสี
มวง ก่ิงออ นเปนสเี่ หลย่ี ม คลายกับตะแบกแดง (Lar_cal) มจี ดุ
ตางท่ตี ะแบกนามีแผน ใบดานลางเกลยี้ ง กลีบดอกสีชมพ-ู ขาว
ดอกบาน กวา ง 3–4 ซม. ผวิ ดานนอกถวยกลบี เลีย้ งมีจีบ 12 จบี
ตามแนวตงั้ ผลรูปไขก วาง ยาว 1.5-2 ซม.
สรรพคุณ
• เปลอื ก : ชวยขับระดู แกโลหติ จาง ยาอายวุ ฒั นะ (NE3)
• ราก : ตมนา้ํ ด่มื แกอ าการปวดทอ งและปวดประจาํ เดอื น (R18)

269
ตะไหล
ช่อื ทอ งถน่ิ : เขม็ ปา (พษิ ณุโลก)
ช่อื วิทยาศาสตร : Prismatomeris tetrandra
(Roxb.) K. Schum. subsp. tetrandra
ชื่อวงศ : RUBIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สูงถึง 3 ม. กง่ิ ออ นและใบเกลย้ี ง กิง่ สีขาวมี
รองเล็กนอ ย ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รูปรี-ใบหอก ยาว 6–13 ซม.
แผนใบเรยี บ เสน แขนงใบและเสน กลางใบที่ผิวใบดานบนนูน
กลีบดอกสีขาว เปน หลอด (คลา ยดอกเขม็ ) ยาว 2.5–3 ซม.
ปลายแยก 5 แฉก กานดอกยอย ยาว 2–3 ซม.
สรรพคุณ
• ตนและใบ : แกไ ข แกโรคเบาหวาน แกโ รคความดัน (N1)

ผลแกต ะแบกนา ตังตาบอด
ตะลุมพุ ก ชือ่ ทองถิน่ : ไฟเดือนหา (พทั ลงุ , ตรัง)
ช่อื ทอ งถ่นิ : หัวเอ่ยี น (อุดรธานี) ชื่อวิทยาศาสตร : Excoecaria oppositifolia Griff.
ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Tamilnadia uliginosa ชื่อวงศ : EUPHORBIACEAE
(Retz.) Tirveng. & Sastre ลักษณะเดน : ไมพมุ สูงถงึ 8 ม. ทุกสวนท่มี ชี วี ติ มนี ้ํายางสีขาวขนุ
ชอ่ื วงศ : RUBIACEAE ตามก่งิ ออ น กานใบ ใบ และผลเกลยี้ ง ใบเดย่ี ว เรียงตรงขาม รูป
ลักษณะเดน : ไมพ มุ สงู ถงึ 5 ม. เปลือกเรยี บสีน้ําตาลแดง มี ขอบขนาน ยาว 17-35 ซม. ขอบใบจกั ฟน เลอื่ ย เนือ้ ใบคอนขา ง
หนามตามลาํ ตน และก่ิง กงิ่ และเนอ้ื ไมม คี วามยดื หยนุ สูง ใบเด่ยี ว หนา กานใบยาว 2-4 ม. ผลทรงกลม กวา ง 3-5 ม. แปนเลก็ นอ ย
เรียงเปนกระจกุ ทปี่ ลายกิ่ง รปู ไขก ลบั ยาว 8-20 ซม. ผิวใบเกล้ยี ง มเี สน แนวแบง 3 พู
และมันเงา ดอกเดยี่ ว มกี ลีบดอก 5-6 กลีบ สขี าว ดอกบานแผ สรรพคุณ
กวาง 4-7 ซม. ผลทรงรกี วา ง ยาว 5-10 ซม. ผิวเกลย้ี ง • ตาํ รับยาแกล มกองหยาบ/วงิ เวยี น-ใจสั่น : แกว ิงเวียนศีรษะ
สรรพคณุ ใจส่ัน อาการบา นหมนุ หนา มดื ตาลาย ลมขึ้นแนนหนา อก
• ราก : แกบดิ , แกน : แกน ตะลุมพกุ ผสมกับแกน มะคงั แดง (ประเภทลมกองหยาบ) (S1-38)
(Dio_ery) ตมน้ําด่ืมบาํ รงุ กําลัง (NE3) • ตํารับยาโรคภมู แิ พ : แกโ รคภมู ิแพ (S2-18)
• ตาํ รบั ยาโรคภมู ิแพ : แกภมู แิ พ (S2-49)

270

• ตํารบั ยาบาํ รงุ น้ํานม : บํารงุ นํ้านม ขับนํ้านม (N1-155)
• ตาํ รับยาบํารงุ สตรหี ลังคลอด : บาํ รงุ สตรหี ลังคลอด ขับนํา้
คาวปลา บาํ รุงนา้ํ นม (N1-80)
• ตํารบั ยาบํารงุ น้ํานม : บํารุงน้าํ นม (NE3-008)

บน : ผลออ นตังตาบอด, ลาง : นาํ้ ยาง ตาไก่ใบกวา้ ง
ตับเตา่ ต้น ชื่อทองถน่ิ : ตาเปดตาไก (ตรงั ), พิลังกาสา
ช่อื ทองถิน่ : แหนกวาง แฮดกวาง (พิษณโุ ลก), (พิษณโุ ลก), พลิ งั กาสาปา ฝาละมี (สระแกว)
เฮือนกวาง (อดุ รธาน)ี ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Ardisia crenata Sims var. crenata
ช่อื วิทยาศาสตร : Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don ช่อื วงศ : PRIMULACEAE
ชอ่ื วงศ : EBENACEAE ลักษณะเดน : ไมพมุ สูงถงึ 2 ม. ตามก่ิงออ น ชอ ดอกและใบ
ลักษณะเดน : ไมตน สูงถงึ 20 ม. เปลอื กขรขุ ระ-สะเก็ดสเี ทา เกลย้ี ง โคนก่งิ ท่ีตอกับลําตนบวม ใบเดี่ยว เรียงเวยี น รูปรี-ใบหอก
ตามสว นออ น ๆ มีขนสน้ั นมุ ใบเด่ียว เรยี งสลับ รปู รี-รีกวา ง ยาว ยาว 5–11 ซม. ขอบใบหยักมน รอ งหยกั มีตอ ม ดอกสขี าว-ชมพู
13-25 ซม. ปลายใบแหลม-กลม แผน ใบเกล้ยี ง มีรอยกดเลก็ นอ ย กลีบดอกมี 5 กลีบ ดอกยอ ยควํา่ หนา ลง ผลทรงกลม กวาง 7–10
ตามแนวเสนใบทีผ่ ิวใบดานบน และมีตอมสีเหลอื งเรยี งขนานไป มม. สกุ สแี ดง-สดี ํา
ตามแนวเสนกลางใบ ผลทรงกลม กวาง 1-2 ซม. ผลสุกเกล้ียง สรรพคุณ
สีเหลือง-แดง ขัว่ ผลมกี ลีบเลย้ี ง 4-5 กลีบตดิ คา ง รปู ไข ยาว • ใบแกแ ละราก : เปนยาเย็น ชว ยลดไขตัวรอน ชวยฆาเชอ้ื ไวรัส
1/3-1/2 ของความยาวผล (E2)
สรรพคุณ • ใบ : รกั ษาโรคตับ (N1)
• ผลดิบ : ใชเ บ่ือปลา (NE3) • ใบและยอดออ น : บาํ รุงกาํ ลงั (S2)
• ราก : ตมนํ้าดม่ื ดบั พษิ รอน แกร อนใน กระหายนาํ้ ถอนพิษไข • ตํารบั ยาโรคตับ : รักษาโรคตบั ตบั อักเสบ ตบั แขง็ (N1-136)
พิษของแสลง พิษผดิ สําแดง และพษิ ตานซาง (R18)

271

แกทองรว ง แกตาเจบ็ สาํ หรับปศสุ ตั ว; ใบ : แกปวด เผาใหเปน ขี้
เถา ๆ ทไี่ ดผสมกับนา้ํ มัน หรอื ใบสดนํามาขยี้ ทาบรรเทาอาการ
คัน (R6)
• ตํารับยาโรคเกาท : รกั ษาโรคเกาท แกป วดขอ ปวดเขา แกพ ิษ
ในกระดูก บาํ รงุ กระดูก (S2-03)

ตาไกใ บกวาง/ตาเปด ตาไก ตาตมุ่ บก
ตา้ งหลวง ชอื่ ทองถนิ่ : ตาตุมบก (พิษณโุ ลก), ยางตาแตก
ชือ่ ทอ งถนิ่ : คานหามเสอื (ตรัง), ตา ง ตางหลวง (อุดรธานี)
(อดุ รธานี) ช่อื วิทยาศาสตร : Falconeria insignis Royle
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis. ชอ่ื วงศ : EUPHORBIACEAE
ชื่อวงศ : ARALIACEAE ลักษณะเดน : ไมต น ผลดั ใบ สูงถึง 40 ม. ทกุ สว นที่มชี ีวติ มนี ้าํ ยาง
ลักษณะเดน : ไมพมุ สูงถงึ 4 ม. ยอดและชอ ดอกมีขนสีน้าํ ตาล สีขาวขนุ เปลอื กแตกเปน รองตนื้ -ลึกตามแนวยาว ยอดและใบ
แดง ก่งิ มีหนาม ใบเดี่ยว เรยี งเวยี น รปู ฝา มอื หยักเปนแฉกลึกถึง เกลี้ยง ใบเดี่ยว รูปรี-หอกกลับ ยาว 15–30 ซม. ขอบใบจักฟน
2/3 สว นของแผนใบ มี 6–10 แฉก แตล ะแฉกมีขอบใบจกั ฟน เล่ือย โคนใบมตี อ มนนู 1 คู ชอ ผลออกตามปลายก่งิ ตง้ั ขน้ึ ผล
เล่ือย บางคร้งั จักลึกแบบขนนก ปลายใบแหลม โคนแตละแฉก ทรงกลม กวา ง 1 ซม. ไมม กี านผล
หยักคอดถงึ เสน กลางใบ ผวิ ใบเกล้ยี ง เสนใบนนู ชัดเจนทผ่ี ิวใบ สรรพคณุ
ดา นบนแผน ใบ • เปลอื ก : รักษาไขฝ ด าด แตต อ งยางกับไฟฆา พิษจากยางออก
กอนนําไปใช (N1)
• น้าํ ยางสด : มพี ิษกัดผวิ หนังทําใหผิวหนงั อกั เสบ โดยเฉพาะ
ผวิ หนงั ท่ีบางและออน หากถูกตาจะอักเสบ หรือบอดได (NE3)

สรรพคณุ
• ดอก ผลออน หรือราก : บาํ รุงกําลัง (NE2)
• เปลอื ก ราก และเน้ือไม : แกไ ข กระทงุ พิษไข พิษไขกาฬ ไขห ัว
ทุกชนดิ แกร อ นในกระหายนํา้ ฟอกโลหิต รกั ษาลาํ ไส แกบ ดิ

272

เปลอื กตนตาตมุ บก และน้ํายางสีขาวขนุ เปลอื กของตนตานนมที่มอี ายมุ ากจะสลดั หนามทิ้งและแตก
สะเก็ดสเี่ หลยี่ มหนา
สรรพคุณ
• เปลือก : บาํ รุงนา้ํ นม; แกนและราก : แกไ ข แกร อ นใน รกั ษา
ตานขโมย; ผลสกุ : รสหวานทานเปน ผลไม (E2)

ตานนม ตานเสยี้ น
ชื่อทอ งถ่นิ : ตานเส้ยี น (สระแกว) ชอ่ื ทอ งถนิ่ : นมสาว (พิษณโุ ลก, อุดรธานี)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Xantolis cambodiana ช่อื วิทยาศาสตร : Xantolis burmanica
(Pierre ex Dubard) P. Royen (Collett & Hemsl.) P. Royen
ชอ่ื วงศ: SAPOTACEAE ชื่อวงศ : SAPOTACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน ผลดั ใบ สงู ถึง 10 ม. เปลือกแตกเปน สะเก็ด ลักษณะเดน : ไมต น ผลดั ใบ สูงถึง 8 ม. เปลอื กแตกเปน สะเก็ด
ส่เี หลี่ยมหนา ทกุ สวนท่มี ีชีวิตมีน้ํายางสขี าวขุน กงิ่ และตนออ นมี หนา ทุกสว นทม่ี ชี วี ิตมีนาํ้ ยางสีขาวขนุ กิ่งและตนออนมีหนามยาว
หนามยาวถงึ 3 ซม. มีขนนุม หนาแนนตามกง่ิ ชอ ดอก และผล ถึง 3 ซม. มขี นนุมตามกงิ่ ออ น และผลออน มลี ักษณะคลา ยตาน
ออ น ใบเดี่ยว เรยี งเวียน รปู ไขก ลบั ยาว 5–11 ซม. ปลายใบ นม (Xan_cam) จดุ แตกตางที่ ตานเสีย้ นมีใบรูปร-ี รีแคบ-หอก
มน-เรียวแหลม โคนใบสอบ เสนแขนงใบตรง เรียงขนานกันเปน กลับ ยาว 7–16 ซม. (ใบคอ นขางยาวกวา ) ปลายใบแหลม-เรยี ว
ระเบยี บ ปลายเสน โคงจรดกัน แผน ใบดานลางมขี นสน้ั ดอกสขี าว แหลม ผวิ ใบเกลีย้ ง
ผลคอ นขางกลม-รี ยาว 1.5–2 ซม., ตานนม (Xan_cam) ตาน สรรพคุณ
เสยี้ น (Xan_bur) และตานเส้ียนเล็ก (Xan_sia) มลี กั ษณะคลา ย • เน้อื ไม : บาํ รุงนํ้านมสตรหี ลังคลอดบตุ ร (NE2)
กันและมสี รรพคณุ ทางยาคลายกนั ดวยสามารถใชแ ทนกนั ได • ตํารับยาบาํ รุงนํา้ นม : บาํ รุงน้าํ นม ชว ยขบั น้ํานม (N1-255)

273
ตานเสยี้ นเลก็
ชอ่ื ทอ งถน่ิ : ตานเสีย้ น (พิษณุโลก)
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Xantolis siamensis (H. R.
Fletcher) P. Royen
ช่ือวงศ : SAPOTACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตน ผลัดใบ สงู ถึง 8 ม. เปลือกแตกเปน สะเก็ด
แกมรอ งลกึ ตามยาว ทกุ สวนทม่ี ชี ีวิตมนี ้าํ ยางสขี าวขุน กิง่ และตน
ออ นมีหนามยาวถงึ 3 ซม. มขี นนุมหนาแนน ตามก่ิง ชอ ดอก แผน
ใบ และผลออน มีลกั ษณะคลา ยตานนม (Xan_cam) จดุ แตกตา ง
ทีต่ านเสีย้ นเล็กมีผิวใบเกลี้ยง รปู ไขกลับ ยาว 3–8 ซม. (ใบสน้ั
และเลก็ กวา ) ปลายใบมน-กลม เสน แขนงใบคอ นขา งคด เรยี งไม
ขนานกันนักเหมือนของตานนม (Xan_cam) ผวิ ใบเกล้ยี ง
สรรพคุณ
• เนอื้ ไม : บาํ รุงรา งกาย บํารงุ น้ํานม (N1)

เปลอื กของตน ตานเส้ยี นอายนุ อยจะมีหนามจาํ นวนมาก เปลอื กของตน ตานเส้ียนเลก็ ทม่ี ีอายมุ ากจะสลัดหนามท้ิงและแตก
สะเก็ดแกมรอ งลกึ ตามยาว

274

ตานหก ตานหม่อน
ช่อื ทอ งถน่ิ : ตานหก (สระแกว) ชอ่ื ทองถนิ่ : ตานหมอน (พัทลงุ )
ช่ือวิทยาศาสตร : Litsea pierrei Lecomte ช่อื วิทยาศาสตร : Tarlmounia elliptica (DC.)
ชื่อวงศ : LAURACEAE H. Rob., S. C. Keeley, Skvarla & R. Chan
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถึง 30 ม. เปลอื กเรยี บ-เปน หลมุ ต้นื ๆ ชือ่ วงศ : ASTERACEAE
ตามกิ่งออ น กา นใบ และใบเกล้ยี ง ใบเด่ียว เรียงเวียน รปู รี-ขอบ ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนอ้ื คอนขา งแข็ง ยาวถึง 10 ม. ตามกงิ่ กาน
ขนาน-หอกกลับ ยาว 5–15 ซม. จดุ เดนท่ีมขี อบใบงุม ลง แผนใบ ใบ แผนใบดา นลา ง และชอ ดอกมขี นหยิกงอสขี าวหนาแนน แนบ
ดา นลา งมีนวล เน้อื ใบหนาเห็นเสน ใบยอ ยไมช ัด กานใบยาว 2–3 ตดิ กบั ผิว ใบเด่ียว เรยี งเวยี น รูปใบหอก-ขอบขนาน ยาวถงึ 12
ซม. ผลรูปไขก ลับ ยาว 1 ซม. ไมมีกานผล ซม. ขอบใบเรียบ-จกั ฟนเล่อื ย ชอดอกสีมวงอมชมพู ออกตาม
สรรพคณุ ปลายกิง่ และซอกใบใกลปลายกิ่ง ผลออกเปน กระจกุ แนน เมลด็
• ท้ัง 5 : ตําแลวแชหรอื ตมกบั นํา้ สะอาด หรอื ฝนทา รักษาโรค แกมีพขู นแตกฟสู ีขาว
ผวิ หนงั จากเชื้อรา รักษาแผลอกั เสบ (E2) สรรพคุณ
• ตาํ รบั ยาประสะมะแวง : แกไอ ขบั เสมหะ ทาํ ใหชุมคอ (S3-08)
• ตํารับยาไขรอนในกระหายนํ้า/ทองเสียแบบมไี ข : แกไ ขร อ น
ในกระหายน้ํา แกท อ งเสียแบบมีไข แกไ ขอ าเจยี น แกไขนอนไม
หลบั (S3-47)

บน : ดอกตานหมอ น, ลาง : เมลด็ แหงติดเปน กลุม

275

ตาลเหลือง ตงิ่ ตงั่
ชือ่ ทอ งถ่ิน : ชางนา ว (อุดรธานี, พษิ ณโุ ลก) ชือ่ ทอ งถ่ิน : ต่ิงต่ังตัวแม (อุดรธานี), ตีนตั่ง
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Ochna integerrima (Lour.) Merr. เถาตีนต่ัง (พิษณุโลก)
ชือ่ วงศ : OCHNACEAE ชือ่ วิทยาศาสตร : Getonia floribunda Roxb.
ลกั ษณะเดน : ไมพุม สูงถึง 5 ม. เปลือกแตกเปนสะเก็ดหนา ช่ือวงศ : COMBRETACEAE
ใบเด่ียว เรียงสลับ รปู ไขก ลับ-รี ยาว 7-15 ซม. ขอบใบจักฟน ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเน้อื แข็ง ยาวถึง 30 ม. เถากลม ตามกิ่งออน
เลื่อย ปลายเสนแขนงใบโคงเรียวเกือบจะขนานกับขอบใบ แผน ใบ และชอดอกมีขนสน้ั นมุ สนี ํ้าตาลหนาแนน ใบเดี่ยว เรียง
ชอดอกออกกระจกุ กลีบดอกสเี หลอื ง มี 5 กลบี ดอกบานกวาง ตรงขา ม รูปไข- รี ยาว 8–17 ซม. ชอดอกออกตามซอกใบและ
4-5 ซม. ผลทรงกลมรี ยาว 1-1.3 ซม. สุกสีดํา ติดเปนกลุม 1-9 ปลายก่ิง สีขาวอมเขียว เมื่อติดผลกลบี เลี้ยงท้ัง 5 จะขยายขนาด
ผล/กลุม มีกลบี เลยี้ งและกานเกสรเพศผูสแี ดงตดิ ทน เปนปก 5 ปก คลา ยดอก บานกวา ง 2–3 ซม. แลวตดิ เปน ชอ ผล
สรรพคุณ แหง สีนาํ้ ตาลออ น เมล็ดรูปขอบขนานติดอยทู ี่โคนปก
• เปลอื ก : ใชรักษาโรคผวิ หนงั และตาอักเสบ; ใบ : แกก ลาก สรรพคณุ
เกลอื้ น ขบั พยาธ;ิ ผลและราก : ชาวอาขา ตม น้ําดมื่ บํารุง • ราก : แกปวดฟน (NE3)
รา งกาย แกไข แกไ อ แกปวดทอ ง โรคกระเพาะอาหาร อาหาร • ตาํ รับยาโรคเกา ท : รักษาโรคเกา ท ลดกรดยรู กิ ชว ยการขบั
ไมยอ ย อาหารเปน พิษ ทองเสยี บิด; ดอกและผล : ชว ยถอนพษิ ถาย (N1-50)
ไข และขับระดู (R15, R26)
• เนื้อไม : บาํ รุงกาํ ลัง (N1)
• ราก : ขับพยาธิ (NE3)
• ตํารบั ยารกั ษาโรคตบั โต/โรคตับอกั เสบ : รกั ษาตับโต/ตับ
อกั เสบ (NE2-020)
• ตํารับยาบาํ รุงรา งกาย : บํารุงรางกาย (NE3-011)
• ตาํ รบั ยาไขม าลาเรีย : แกไขม าลาเรีย ไขจ บั สัน่ หรือไขปา
(NE3-012)

บน : ชอ ดอกต่ิงต่ัง

276

ติว้ เกลยี้ ง สรรพคณุ
ช่อื ทอ งถ่นิ : ติว้ (พษิ ณโุ ลก), ตว้ิ ต้วิ เกลีย้ ง • เปลือก : สมานแผลภายใน หรือแผลภายนอก (N1)
(อดุ รธานี) • น้าํ ยาง : รกั ษาโรคหิด รกั ษาแผลสนเทา แตก (NE3)
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Cratoxylum cochinchinense (Lour.) • ตน และราก : ตมผสมกับกําแพงเจด็ ช้ัน แกกระษยั เสน และเปน
Blume ยาระบาย; ใบออนและยอด : รับประทาน มฤี ทธ์ิเปนยาระบาย
ชื่อวงศ : HYPERICACEAE ออ น ๆ ; นํ้ายางจากเปลือก : ใชทารกั ษาโรคหิด และน้ํากดั เทา
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม-ไมตน ผลัดใบ สงู ถงึ 15 ม. เปลือกแตกลอน (R61)
เปน แผน บางและเปนหลมุ ต้ืน สีนํ้าตาลแดง ตนอายนุ อยเปลอื กมี • ใบ เปลือก และนํ้ายาง : รักษาโรคผวิ หนงั แผลสด แกฝ า เทา
หนาม เปลือกในมนี า้ํ ยางเหนยี วสีแดงคล้ํา ยอดรสฝาดไมเ ปรย้ี ว แตก (S2)
นัก ไมมขี น ใบเดีย่ ว เรยี งตรงขา ม รูปรี ยาว 5–10 ซม. ผวิ ใบ ตวิ้ ขาว
เกลี้ยง แผน ใบดา นลางคอ นขางเรียบสีเขยี วนวล กลีบดอกสแี ดง ชือ่ ทองถ่นิ : ตวิ้ สม ตว้ิ แดง ผกั ต้วิ (อุดรธานี), แตว
มี 5 กลีบ ผลรูปไขป ลายแหลม ยาว 1.5-2 ซม. เม่ือแหง จะแตก 3 (พทั ลงุ , ตรงั )
ซีก มกี ลบี เลี้ยงหุมโคนผล ช่ือวทิ ยาศาสตร : Cratoxylum formosum (Jacq.) Benth. &
Hook. f. ex Dyer subsp. formosum
ช่อื วงศ : HYPERICACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตนผลดั ใบ สูงถงึ 30 ม. เปลือกแตกสะเกด็ ตาม
แนวยาว สนี าํ้ ตาล ตน อายนุ อ ยตามลาํ ตนมหี นาม เปลือกในมนี าํ้
ยางเหนยี วสแี ดงคล้าํ ยอดสรี สเปรีย้ ว ไมม ขี น ใบเดี่ยว เรียงตรง
ขาม รูปรีแกมขอบขนาน ยาว 8–17 ซม. ผิวใบเกลี้ยงมันเงา
แผนใบดา นลางไมเปนสเี ขยี วนวล ผวิ ใบดานบนมรี อยกดตามแนว
เสนแขนงใบ กลีบดอกสขี าว-ชมพู มี 5 กลีบ ปลายกลีบดอกจกั
เปน ฝอย ผลรปู ไขแกมรี ยาว 2 ซม. เมอ่ื แหงจะแตก 3 ซกี มีกลีบ
เลย้ี งหุม โคนผล

277

เปลอื กตนต้ิวขาวแตกเปนสะเกด็ ตามแนวยาวและจะพบหนาม
ตอนตนอายนุ อ ย
สรรพคุณ
• ยอดออน : รสเปรยี้ วอมฝาด ทานเปน ผกั กับลาบ-กอย หรอื
ปรงุ อาหาร ชว ยระบายทอ ง; รากและใบ : ตมนาํ้ ดื่มแกปวด
ทอ ง; ยางสด : ทารักษาแผลสนเทา แตก (NE3)
ตีนตงั่ เตีย้
ชื่อทอ งถ่นิ : เปาะแปะ (อุดรธาน)ี
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Strobilanthes quadrifaria
(Wall. ex Nees) Y. F. Deng
ช่ือวงศ : ACANTHACEAE
ลักษณะเดน : ไมลมลกุ สงู ถึง 1 ม. ตามกิง่ และใบมขี นสัน้ สาก
คาย ใบเดี่ยว เรียงตรงขามตั้งฉาก รูปไข-รี ยาว 10–20 ซม.
ชอดอกออกทปี่ ลายกิ่ง มีใบประดับสเี ขยี วออ นเรียงซอ นกันหนา
แนน 4 มุม รูปไข-ใบหอก และมีขนยาวแข็งจํานวนมาก ดอกเปน
หลอดสมี วงอมชมพู ยาว 2.5–3 ซม. ผลเปนฝกคลา ยฝก ตอ ยติง่
ซอ นอยูในใบประดับ
สรรพคุณ
• ตํารบั ยาโรคเบาหวาน/ลดนํ้าตาลในเลอื ด : ท้งั ตน ใชรกั ษาเบา
หวาน ลดนํา้ ตาลในเลอื ด แกมอื เทาชา (NE3-253)

ชอ ผลแหง ของตนี ตงั่ เต้ีย

278

ตีนนก เปลอื กตนตนี นก
ช่อื ทอ งถนิ่ : ตีนนก (พษิ ณโุ ลก), นน (พัทลุง, ตรงั ) ตนี เป็ดดํา
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Vitex pinnata L. ชื่อทอ งถ่นิ : พญาสัตบรรณ (ตรงั )
ชื่อวงศ : LAMIACEAE ช่อื วทิ ยาศาสตร : Alstonia angustiloba Miq.
ลกั ษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 20 ม. เปลือกเรียบ-ขรุขระ ตามกิ่ง ช่อื วงศ : APOCYNACEAE
ออ น กานใบ ชอ ดอก และแผน ใบดานลา งมขี นสั้น ใบเรยี งตรง ลกั ษณะเดน : ไมต น สูงถึง 40 ม. ตามก่งิ ใบ และชอดอกไมม ขี น
ขา มต้งั ฉาก ใบประกอบมี 3 ใบยอย รูปหอก-ไขกลบั ยาว 5–17 ทกุ สวนที่มีชวี ติ มีน้ํายางสีขาวขนุ เปลือกขรขุ ระ-เปนสะเก็ดเล็ก
ซม. กานใบยาว 6–14 ซม. ตน อายนุ อ ยกา นใบจะมปี กแคบ กวา ง นอยสนี าํ้ ตาลดาํ ใบเดย่ี ว เรยี งรอบขอ มี 5 ใบ/ขอ รปู รี-ไขกลับ
ถึงดา นละ 5 มม. และชัดเจนกวา ตนอายนุ อ ย หลอดกลบี ดอกสี ยาว 7–15 ซม. โคนใบมน เสน แขนงใบจํานวนมาก แผน ใบดาน
ขาว แฉกสีมว งออ น-อมนา้ํ เงิน ผลทรงกลม กวาง 1 ซม. สุกสดี าํ ลา งนวล กานใบยาว 1.5–2 ซม. ชอ ดอกสขี าว มกี ลน่ิ หอมเอยี น
ผวิ เกลยี้ ง ผลแบบฝกยาว ยาว 20-30 ซม. เมล็ดมีขนปุย
สรรพคุณ สรรพคุณ
• เปลอื กและผล : แกฟกซํา้ รักษาแผลสด รกั ษาฝ (S3) • ตาํ รบั ยาแกไ ขตัวรอ น : เปลือกใชแกไข ตัวรอ น มีสรรพคณุ
• ตํารบั ยาบํารงุ สตรีหลงั คลอด : บํารงุ สตรหี ลังคลอด ขับนาํ้ คลายสัตบรรณ (Als-Sch) ใชแทนกันได (S2-79)
คาวปลา บํารุงน้าํ นม (N1-80)
• ตาํ รบั ยาอยูไ ฟหลงั คลอด : ชว ยขับนํา้ คาวปลา มดลกู เขาอเู รว็
เลอื ดลมไหลเวยี นดี (S1-45)

279

ตนี เปด ดาํ
เต็ง
ช่อื ทอ งถิ่น : จกิ (อดุ รธาน)ี , เต็ง (พิษณุโลก)
ช่อื วิทยาศาสตร : Shorea obtusa Wall. ex Blume
ชอ่ื วงศ : DIPTEROCARPACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน ผลดั ใบ สูงถงึ 30 ม. เปลอื กในและเนื้อไมม ี
ชนั ใสเหนียว เปลือกแตกเปนรองต้นื -ลึกตามแนวยาว ตามกง่ิ ออน
และชอดอกมขี นสนั้ ใบเด่ียว เรียงสลับ รปู ไขแ กมขอบขนาน ยาว
10–19 ซม. โคนใบมน-เวา เลก็ นอย แผน ใบดานลางเกลี้ยง-มขี น
ส้ัน เสน ใบยอยแบบข้นั บนั ไดเห็นชัดดานลา งแผนใบ มนั วาวเมื่อ
ใบแหง ชอ ดอกสีขาวครมี กลีบดอกรปู แถบยาวบดิ เปน เกลียว ผล
มีปก 5 ปก รูปหอกกลับ ปกยาวมี 3 ปก ยาว 5–8 ซม. และอกี 2
ปก จะสน้ั กวาเลก็ นอย
สรรพคณุ
• เปลือก : แกน ํา้ เหลืองเสีย (NE3)
• ทั้งตน : ยาพนื้ บานลานนาใชผสมสมุนไพรจําพวกประดงรวม 9
ชนดิ ตม นํา้ ดม่ื รกั ษาโรคประดง (R15)
• ตํารับยาโรคลมชัก : แกนแกโ รคลมชัก (N1-200)

280

เตง็ หนาม สรรพคุณ
ชอ่ื ทองถน่ิ : เตง็ หนาม (พษิ ณโุ ลก), ฮังหนาม • เปลอื กหรอื ราก : แกท อ งเสีย ขับนว่ิ ละลายน่ิวในกระเพาะ
(อดุ รธาน)ี ปสสาวะ (NE3)
ชื่อวิทยาศาสตร : Bridelia retusa (L.) A. Juss. • เปลอื ก : ชว ยสมานแผลภายนอก หรอื แผลภายใน (N1)
ช่ือวงศ : PHYLLANTHACEAE เตยย่าน
ลกั ษณะเดน : ไมตน ผลดั ใบ สงู ถงึ 15 ม. ตนอายุนอ ยมเี ปลอื ก ชอื่ ทองถ่นิ : แกลบกอ ง (ตรัง)
แตกสะเก็ดบางและมหี นาม ตน อายุมากเปลอื กแตกสะเก็ดแกม ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Freycinetia sumatrana Hemsl.
รอ งตามแนวยาว ไมมหี นาม ตามกิง่ ออ น แผน ใบดานลาง และชอ ชื่อวงศ : PANDANACEAE
ดอกมขี นส้ันหนาแนน ใบเดีย่ ว เรียงสลบั รปู รีแกมขอบขนาน-ไข ลักษณะเดน : ไมเ ถาเนอ้ื คอ นขา งแข็ง มีรากยึดเกาะข้นึ ตนไม
กลับ ยาว 12–30 ซม. โคนใบมน-เวา จุดเดนทีม่ ีจาํ นวนเสนแขนง ยาวถึง 40 ม. เถากวางถึง 4 ซม. ใบเดี่ยว เรียงเวียนหนาแนน
ใบในแตละขาง 17–25 เสน ปลายเสนวิ่งไปจรดกับเสนใบทข่ี อบ รูปแถบยาว กวาง 2 ซม. ยาว 0.6–1 ม. โคนใบเปน กาบโอบหุม
ใบ, ผลทรงกลม กวา ง 1 ซม. สุกสีดํา ก่งิ ขอบใบมีหนามคม ปลายใบเรียวแหลมหอ ยยอยลง ผิวใบ
เกล้ียงมันเงาและเนอื้ หนา มลี กั ษณะพับจบี ตามแนวยาวคลายใบ
เตย ชอดอกออกทปี่ ลายกิ่งตั้งขนึ้ มใี บประดบั สขี าวครมี มีชอ ดอก
3–4 ชอ/กลุม รปู ทรงกระบอก ยาว 6–15 ซม. ดอกยอยขนาด
เล็กเรียงอัดแนนจาํ นวนมาก
สรรพคณุ
• ตํารบั ยาโรคเบาหวาน : ใชเถาเขา ตาํ รับยาแกโ รคเบาหวาน
(S2-22)

281

เตยยา น

เตยหนู บน : ชอ ดอกเพศเมยี เตยหนู
ช่อื ทองถนิ่ : เตยหนู (ตรัง) สรรพคณุ
ชื่อวิทยาศาสตร : Benstonea humilis (Lour.) • ราก : ใชข ับปสสาวะอนั เปนปจ จัยหนง่ึ ทช่ี วยลดไข (R11)
Callm. & Buerki • ผล : ตําใหละเอียดทาหรอื พอกรักษาแผลติดเชื้อ, ลูกเผาไฟแลว
ชอ่ื วงศ : PANDANACEAE ใชดองเหลา จะทําใหเหลาแรงขึ้น (S2)
ลักษณะเดน : ไมพ ุม มีลาํ ตน หรือเหงาอยูใกลผิวดนิ ยาวถึง 1 ม.
ใบเด่ยี ว เรียงเวียนเปน กระจกุ ใกลผ ิวดิน รูปแถบยาว ยาว 0.6–1 เตยเหาะ
ม. กวา ง 2–4 ซม. ขอบใบมีหนามคม ลกั ษณะท่ัวไปคลายใบเตย ชอ่ื ทอ งถน่ิ : ลําเจยี กเขา เตยเขา (ตรงั )
ชอ ดอกแยกเพศ มใี บประดบั สีขาว ชอ ผลต้งั ขน้ึ คอ นขางกลม ชื่อวิทยาศาสตร : Pandanus unicornutus H. St. John
กวาง 4–6 ซม. สีเขียวนวล มีผลยอ ยจาํ นวนมากอัดกันแนน ชือ่ วงศ : PANDANACEAE
ปลายผลมีหนามยาว 5–10 มม. ลักษณะเดน : ไมพมุ สูงถึง 15 ม. ลําตน เดย่ี วหรือแตกก่งิ ชว งบน
ผลออ นเตยหนู หนา 12–30 ซม. มรี ากคํ้ายนั ทโ่ี คนตน ใบเดย่ี ว เรียงเวยี นหนา
แนน รูปแถบยาว กวาง 10–15 ซม. ยาว 1.5–3 ม. โคนใบเปน
กาบโอบหมุ กงิ่ ขอบใบมหี นามแข็งและคม ผวิ ใบเกลย้ี งมนั เงาและ
เนือ้ หนา มลี กั ษณะพบั จีบตามแนวยาวคลา ยใบเตย ชอดอกแยก
เพศ ชอ ผลหอ ยลง ยาว 1 ม. มีชอผลยอยติดไดถ ึง 10 ชอ /กาน
ชอ ผลยอ ยทรงกลม กวาง 11–17 ซม. สีเขียวเขม มีผลยอ ย
จาํ นวนมากเรียงอัดกนั แนน ปลายผลยอ ยมีหนามโคง ยาว 5–10
มม.

282

สรรพคุณ เติม
• ตาํ รบั ยาขบั นวิ่ : ขับปส สาวะ ขบั นวิ่ (S1-13) ช่ือทอ งถนิ่ : ประดูสม (อุดรธานี)
• ตํารับยาขับนิว่ ในไต-ทางเดนิ ปสสาวะ : ชวยขบั นวิ่ ในไต และ ช่อื วิทยาศาสตร : Bischofia javanica Blume
ทางเดนิ ปส สาวะ ชว ยลา งไต รกั ษาทางเดนิ ปสสาวะอกั เสบ ชื่อวงศ : PHYLLANTHACEAE
(S2-14) ลกั ษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 35 ม. เปลอื กเปนสะเกด็ เปลอื กในมี
• ตํารับยาโรคเบาหวาน : แกโรคเบาหวาน (S2-22) น้ํายางสแี ดง ตามกง่ิ ออ น กา นใบและใบเกลี้ยง ยอดออ นสมี วง
• ตาํ รบั ยาโรครดิ สดี วงทวาร ชนิดเลือดออก : รกั ษาโรคริดสีดวง แดง ใบเรียงเวียน ใบประกอบมี 3 ใบยอ ย รูปไข- รี ยาว 9–17
ทวาร ชนดิ มเี ลอื ดออก (S2-40) ซม. ขอบใบจกั ฟน เลอ่ื ย กานใบยาว 15–20 ซม. ผลทรงกลม
กวา ง 1–1.5 ซม. ผวิ เปน สะเก็ดละเอยี ดสนี ํ้าตาลดา น
สรรพคุณ
• เนือ้ ไมหรือแกน : แกเจ็บคอ แกบ ดิ แกท อ งเสยี ; ผลแก : มี
รสชาตเิ ปรี้ยว เปน ผลไม (NE2)

283
เต่าร้าง
ชือ่ ทองถ่นิ : เตารา ง (ตรัง, พิษณุโลก)
ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Caryota mitis Lour.
ชื่อวงศ : ARECACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น จาํ พวกปาลม สูงถึง 10 ม. มีลําตนเดี่ยวหรือ
แตกกอ ลําตนมขี อ ปลอ ง กวา ง 10–17 ซม. ใบเรยี งเวยี นใกลย อด
ใบประกอบแบบขนนก 2 ชัน้ ยาว 2–3 ม. กา นใบเปนกาบหมุ
ลําตน ขอบกาบมีรกเปนเสนใยหมุ ลําตนสีนา้ํ ตาล ใบยอย รูป
พัด-รปู สเี่ หลีย่ มขา วหลามตัด ยาว 10–23 ซม. ปลายใบหยกั
กรอน ผวิ ใบเกลี้ยง กานใบยอยสนั้ มากหรอื ไมมี ชอดอกออกตาม
ซอกใบหรือตามขอ บนลําตน มีชอ ดอกยอยเปน สายจาํ นวนมาก
ยาว 25–35 ซม. สีเขยี วออ น ผลทรงกลม กวา ง 1.5–2 ซม. ผล
สุกสีแดง-ดํา
สรรพคณุ
• ตน : ถอนพิษแมลงสตั วกดั ตอย; ราก : แกพ ิษทต่ี บั ปอด หัวใจ
(N1)
• ตาํ รับยาแกต ับแข็ง/ตับทรดุ : แกตบั แขง็ ตับทรุด (N1-258)
• ตํารบั ยาจันทนล ีลา : แกไขทับระดู แกไข ตัวรอน ไขเปลีย่ นฤดู
แกป วด ลดการอกั เสบ (S2-16)
• ตํารับยาแกไขต วั รอน : ชวยแกไข ตัวรอ น (S2-79)

ตานดํา
ชอ่ื ทอ งถน่ิ : ตานดาํ (ตรงั ), ถานไฟผี (อดุ รธาน)ี
ช่ือวทิ ยาศาสตร : Diospyros montana Roxb.
ชอ่ื วงศ : EBENACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน สูงถึง 20 ม. เปลือกสีดํา ตนอายนุ อ ยมี
หนาม ตนอายุมากเปลือกแตกเปนรอ งลกึ ตามแนวยาว สวนออ น
ๆ มีขนสน้ั นุม ใบเดย่ี ว เรียงสลบั รูปไขก ลบั -รปู ไข ยาว 4–11 ซม.
โคนใบตดั -เวา แผน ใบดานลางมีขน ดอกสีขาว ผลทรงกลม-กลม
แบน กวา ง 2–3.5 ซม. มกี ลีบเลยี้ งติดทีข่ วั้ ผล 4 กลีบ ยาว 1 ซม.
ช้ีกลบั สกุ สเี หลอื ง-สม

284

สรรพคณุ เถาน้ําดับไฟ
• แกน : แกไตพกิ าร แกผ อมแหง ขบั พยาธิ (NE3) เถาประโยด
• ท้ังตน : ตมนํ้าดม่ื เปน ยาขับพยาธิในลําไส; ใบและราก : ตมนํ้า ชื่อทองถน่ิ : -
ดืม่ เปนยาแกทองรว งและทอ งเดิน (R18) ช่อื วทิ ยาศาสตร : Sphenodesme ferruginea (Griff.) Briq.
• ตาํ รับยาแกอ งคชาตตายไมเกนิ 3 ป : แกอ งคชาตตายไมเกนิ 3 ชื่อวงศ : LAMIACEAE
ป บํารงุ องคชาต บํารุงกาํ ลงั (S1-40) ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนอื้ แขง็ ยาวถึง 30 ม. ตามก่งิ ชอดอก กาน
• ตํารบั ยาขบั เลอื ด-นํ้าเหลืองเสีย : ขับนา้ํ เหลอื งและเลอื ดเสีย ใบ และใบมขี นสนั้ สสี นมิ หนาแนน เถากลมเปลอื กเรียบ ใบเด่ยี ว
ออกจากรางกาย (S2-34) เรียงตรงขา ม รปู รี-รปู ไข ยาว 7–20 ซม. เนอื้ ใบคอ นขางหนานุม
เถาน้ําดับไฟ ชอดอกมใี บประดับสีเหลอื งอมเขียว 4–5 กลบี /ชอ ดอก รปู หอก
ชอ่ื ทองถิ่น : ดบั ไฟยา น (พัทลงุ ), นํา้ ดับไฟ (ตรัง) กลบั ยาว 1–2 ซม. มขี นหนาแนน ใบประดบั รองรบั ดอกยอยทม่ี ี
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Gouania javanica Miq. 4-5 ดอก/ชอดอก ดอกยอ ยสขี าว
ชือ่ วงศ : RHAMNACEAE สรรพคุณ
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเน้อื แขง็ ยาวถึง 20 ม. เถากลม ภายในมีนา้ํ • รากหรือเถา : แกป วดกระดูก แกป วดไขขอ (NE2)
เล้ียงใสเหลวดม่ื แทนนํ้าได ตามกิง่ ออ น มือพัน ชอดอก กา นใบ
และใบมขี นสีสนิม ใบเด่ยี ว เรยี งสลับ รปู ไข-หวั ใจ ยาว 7–13 ซม.
ขอบใบจกั ฟนเลือ่ ย โคนใบตดั -เวา มีเสน แขนงใบออกจากโคนใบ
1 คู ดอกขนาดเลก็ มากสขี าว ผลคอนขา งกลม กวาง 1 ซม. มี
ครีบออกดานขา ง 3 ครบี เม่อื แหงจะแตกออกเปน 3 สวน
สรรพคณุ
• ทัง้ 5 : รักษามะเรง็ (S3)

285

เถาพันซา้ ย สรรพคณุ
ชื่อทอ งถ่นิ : - • เปลอื ก : แกร าํ มะนาด (NE3)
ชื่อวิทยาศาสตร : Spatholobus parviflorus • เปลอื ก : ยาพืน้ บา นลา นนาใชผ สมรากสลอด รากหญา เรงชอน
(Roxb. ex DC.) Kuntze รากข้ีเหล็ก ตม นํา้ ดม่ื รกั ษาโรคทางเดนิ ปสสาวะ, ผสมลาํ ตน
ช่อื วงศ : FABACEAE เฉียงพรา นางแอ ลาํ ตน หนามแทง ตมนา้ํ ดื่มแกผดิ สําแดง; ใบ
ลักษณะเดน : ไมเถาเน้อื แขง็ ยาวถงึ 30 ม. เถากลม-เปนพูเมือ่ และเปลอื ก : ผสมลาํ ตนตับเตา เครือ ผกั บุงรวม (ทั้งตน) ใบหรือ
แกม าก มนี าํ้ ยางสแี ดงคลาํ้ ตามกงิ่ ออ น กานใบ ชอ ดอก แผน ใบ รากกลวยเตา บดผงละเอยี ดผสมกนั ละลายนา้ํ รอนดม่ื รักษา
ดานลาง และผลมขี นนุมกํามะหย่ี ใบเรียงสลบั ใบประกอบมี 3 มะเรง็ ตับ; เนื้อไมห รอื ราก; ตมน้ําดืม่ ลดไข ดบั พิษรอ น บาํ รุง
ใบยอย ผลมปี ก แบนบางรปู ชอ นมีเมลด็ ติดดานลาง ยาว 8–14 ปอด แกวณั โรค (R7, R13)
ซม. ลกั ษณะคลา ยทองเครือ (But_sup) จุดตางที่เถาพันซา ยมี
ดอกยอ ยขนาดเล็กกวามาก ยาว 1 ซม. ดอกสีขาว-อมชมพู หาก
ไมพบดอกเรามกั จะเขา ใจผดิ ไดร ะหวา งพชื ท้ังสองชนดิ นี้ สามารถ
สงั เกตไดจ าก เน้อื ในของหัวใตด นิ และเนื้อไมของทองเครอื ชวง
วงนอกสดุ ติดเปลอื กจะมนี ํา้ ยางสีแดงไหลออกมาเปนวงแหวน 1
วงเทาน้นั สว นเถาพันซายจะไมพ บหัว สวนเนอ้ื ไมท ่ีมนี า้ํ ยางสีแดง
จะมชี ั้นเนอ้ื ไมปกติ (ทีไ่ มม นี ํ้ายาง) คน่ั อยูติดเปลือก หากเถาอายุ
มากจะพบแนวเน้ือไมท ีม่ ีนํา้ ยางเรยี งเปน วงแหวนหลายชั้น

286

เถายา่ นาง สรรพคณุ
ชอ่ื ทอ งถ่นิ : เครอื ยานาง ยานาง (อดุ รธาน)ี , เถา • เปลือก : เปลือกแหง ชงกับนาํ้ รอ นดื่มเปน ยาฟอกเลือดหลงั การ
ยานาง (สระแกว), ยา นนาง ยานาง (ตรัง), ยา นาง คลอดบตุ ร (R13)
(พัทลุง, พิษณโุ ลก) • ราก : แกพษิ เบอื่ เมา แกเ มาเหลา (NE3)
ชื่อวิทยาศาสตร : Tiliacora triandra (Colebr.) Diels • ราก : แกไ ขต ัวรอ น (N1)
ชอื่ วงศ : MENISPERMACEAE • ใบ : ชวยใหผ มดกดาํ ชะลอการเกดิ ผมหงอก (E2)
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเน้ือแข็ง ไมมรี ากสะสมอาหารใตด นิ เถาและ • ตาํ รบั ยาไขท ับระดู : แกไขท ับระดู ระดูผาไข แกพ ษิ โลหติ ระดู
ใบมขี นประราย-เกลยี้ ง ใบรปู ไข ยาว 6–10 ซม. มีเสนแขนงใบ แกร อนใน แกคลมุ คล่ัง (E1-06)
1–2 คอู อกใกลโ คนใบ ผลออกตามเถาเปนกลมุ แนน สุกสแี ดง • ตาํ รับยาหา ราก (ยาเบญจโลกวิเชียร/ยาแกวหา ดวง) : แกไ ข
กลม กวาง 7–10 มม., พบตามชายปาดงดบิ และปา เบญจพรรณ ตัวรอน ปวดหัว ถอนพิษไข (N1-14)
ท่วั ประเทศ • ตาํ รับยาโรคความดัน/เบาหวาน : แกโ รคความดนั เบาหวาน
ลายหนาตดั ของเถายานาง ลดไขมัน (N1-284)
• ตํารับยาบํารงุ น้ํานม : บํารงุ นา้ํ นม (NE4-025)
• ตาํ รบั ยาหาราก (สตู รพ้ืนบา น) : แกไ ข ตัวรอ น แกป วดหัว
(S1-06)
• ตํารับยาแกไ ขตัวรอน : แกไขต วั รอน ปวดหัว ถอนพษิ ไข ไข
หวดั ไขปอดบวม (S2-01)
• ตาํ รับยาแกไขไ ทฟอยดห รือไขรากสาดนอย : แกไ ทฟอยดห รอื
ไขรากสาดนอย (S2-20)
• ตาํ รับยาไขอ ีสกุ อใี ส : แกโ รคอสี ุกอีใส หรือไขส ุกใส (S2-38)
• ตํารับยาไขเ ลอื ดออก : รกั ษาไขเ ลือดออก ซึ่งมอี าการรอนในสงู
ปวดเมอ่ื ยตามรางกาย ปวดศรี ษะ สะทา นรอ น-หนาว (S2-44)
• ตาํ รับยาไขบ าดทะยกั : แกไขบ าดทะยกั (S2-52)
• ตํารับยาไขหวดั ใหญ : แกไขหวดั ใหญ (S2-57)
• ตํารบั ยาหอมอินทจกั ร : แกค ล่นื เหียนอาเจียน หนามดื จะเปน
ลม ลมจุกเสียดแนนหนาอก แนน ทอง ทอ งอดื อาหารไมย อย
ปรับระบบการหมุนเวยี นเลือดใหด ี ชวยบํารงุ หัวใจ (S3-04)
• ตํารับยาแกพ ิษกนิ ผดิ สําแดง : แกพ ิษกนิ ผิดสาํ แดง กนิ ของ
แสลง (S3-35)
• ตํารับยาแกทอ งเสียแบบมไี ข : แกท องเสยี แบบมไี ข อาหาร
เปนพษิ (S3-36)
• ตํารบั ยาแกท องผูก : แกท องผูก ชว ยระบายทอ ง (S3-37)
• ตาํ รบั ยาขบั ปส สาวะ : ขับปสสาวะ (S3-38)
• ตาํ รับยาแกทอ งรวง-ทองเสยี -บิด : แกทอ งรวง-ทองเสีย แกบ ิด
ชว ยคมุ ธาตุ (S3-43)
• ตาํ รบั ยาแกตนไข (ไขระยะแรก) : แกตน ไข (ไขเ บอื้ งตนหรอื ไข
ระยะแรก เชน ไขต วั รอน ไขก าฬ ไขพษิ ไขกําเดา) (S3-44)
• ตํารบั ยาแกป ลายไข (ไขร ะยะปลาย) : แกป ลายไข (ไขในระยะ
ปลาย : เปนไขต ัวรอ น ไขกาฬ ไขกําเดา มาแลวหลายวัน ชว ย
ทําใหหายไขเ ร็วขึ้น ชว ยแกธาตุ คุมธาตุใหส มดลุ เปน ยาระบา
ยออ นๆ และชว ยใหเจรญิ อาหาร) (S3-45)
• ตาํ รับยาไขหวัด : แกไขหวดั (S3-46)
• ตํารับยาไขรอนในกระหายน้าํ /ทอ งเสยี แบบมีไข : แกไขรอน

ในกระหายนา้ํ แกท อ งเสียแบบมีไข แกไขอาเจยี น แกไขนอนไม 287
หลับ (S3-47) ลายหนาตดั ของเถาวัลยเปรียง
• ตํารับยาไขหดั /ไขอีสกุ อีใส/ไขอ ีดาํ อีแดง : แกไขห ัด ไขเ หือด
(หัดเยอรมนั ) ไขอสี กุ อใี ส ไขอ ดี าํ อีแดง กระทุง พิษไข (S3-48)
เถาวลั ยเ์ ปรยี ง
ชอ่ื ทอ งถ่นิ : เถาวัลยเ ปรียง (ตรงั , สระแกว ,
พิษณุโลก), เถาวัลยเ ปรยี ง ยานเมาะ (พัทลุง)
ชอื่ วิทยาศาสตร : Derris scandens (Roxb.) Benth.
ชื่อวงศ : FABACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเน้อื แขง็ ยาวถงึ 30 ม. เปลือกเรยี บมีชอ ง
อากาศเล็กจํานวนมาก เนอื้ ไมมลี ายวงแหวน ตามสว นออน ๆ มี
ขนสั้น ใบประกอบแบบขนนกปลายค่ี มใี บยอ ย 3–7 คู เรยี งตรง
ขา ม รปู ไข- ใบหอก ยาว 3–6 ซม. ชอดอกยาว 20-30 ซม. ดอกสี
ขาว-ชมพู กลบี เล้ยี งสีมว งแดง ฝกรูปรี ยาว 4–8 ซม. แบนดา น
ขาง ปลายแหลม
สรรพคณุ :
• เถาหรือราก : แกป วดเม่อื ยกลา มเนื้อ ปวดเมอื่ ยเสน เอ็น ปวด
กระดกู ชวยขับปสสาวะ ขับน่ิว (E2)
• เถา : บาํ รุงเสนเอ็น (N1)
• ตํารับยาแกป วดเมอื่ ย-กระดูกทับเสน : แกป วดหลัง ปวดเอว
ปวดไขขอ ปวดกระดกู แกกระดูกทับเสน บํารงุ ธาตุ (E2-216)
• ตํารับยาแกป วดเมื่อย/บํารุงรา งกาย/อมั พาต : แกปวดเม่อื ย
ตามเสน -ขอ -หลงั -เอว อัมพาต บํารุงรา งกาย ชวยใหเจริญ
อาหาร (E3-02)
• ตาํ รบั ยาแกปวดเสนเอ็น/บํารุงเสน เอน็ : แกปวดเสนเอน็ เสน
เอ็นอกั เสบ บาํ รุงเสน เอ็น (N1-150)
• ตํารบั ยาแกป วดเสน เอน็ /บํารงุ เสน เอ็น : แกปวดเสนเอ็น
บํารุงเสนเอน็ (N1-256)
• ตํารบั ยาถาย : ยาถาย ยาระบาย แกท อ งผกู แกจุกเสียดแนน
ทอ ง (S1-20)
• ตํารบั ยากาํ ลังฮอสะพายควาย : บาํ รุงกําลัง แกป วดเม่อื ยตาม
รางกาย (S1-43)
• ตาํ รบั ยารักษากระดูกทับเสน : รกั ษาอาการกระดูกทบั เสน
(S2-04)
• ตํารับยาแกกษยั ไตพิการ : แกก ระษัย ไตพกิ าร บาํ รงุ ไต, ชว ย
ขบั ปสสาวะ (S2-09)
• ตํารับยาขับนวิ่ ในไต-ทางเดนิ ปสสาวะ : ชว ยขับนว่ิ ในไต และ
ทางเดินปสสาวะ ชวยลา งไต รกั ษาทางเดินปสสาวะอักเสบ
(S2-14)
• ตาํ รับยาโรคอมั พาตระยะแรก : แกอาการก่ึงอัมพาตหรอื
อมั พาตระยะแรก กลามเน้อื ออนแรง เดินยนื ไมป กติ เหน็บชา
(S2-24)

288

• ตาํ รบั ยาปรับธาตุ/ปวดเมอื่ ย/ปวดขอ -เอน็ : ชว ยปรบั ธาตุ แก
ปวดเม่ือย ปวดเขา -ขอ-เอ็น แกเอ็นพกิ าร (S2-26)
• ตาํ รับยาโรคประดงเลือด : แกประดงเลอื ด เลือดขนึ้ มีอาการ
คันตามผวิ หนัง (S2-27)
• ตํารับยาแกป วดเมื่อยเสนเอน็ : แกปวดเม่อื ยตามเสน เอน็ เสน
เอ็นอักเสบ บรรเทาอาการอัมพฤกษ- อมั พาต (S2-31)
• ตาํ รับยาโรคอมั พฤกษ-อัมพาต : รักษาอัมพฤกษ- อมั พาต
(S2-33)
• ตํารับยาแกปวดเม่ือย/ชาตามปลายมือ-เทา : แกปวดเม่ือย
ตามรา งกาย แกอาการชาตามปลายมือ ปลายเทา (S2-36)
• ตาํ รับยารักษามดลกู เคล่อื น/บํารงุ โลหิต : รกั ษามดลูกเคล่ือน
บาํ รงุ โลหิต (S2-45)
• ตํารับยาซอมแซม/เสริมสรา งเสน เอน็ พิการ : ชว ยซอมแซม
และเสริมสรา งเสนเอ็นที่พกิ าร (S2-53) (S2-54)
• ตํารบั ยาลางโรคกอนการรักษาโรคระบบเสนเอน็ : ชวยชาํ ระ
ลางระบบภายในรางกายกอ นการรักษาโรคทเ่ี ก่ยี วกบั ระบบเสน
เอน็ อมั พฤกษ อัมพาต (S2-55)
• ตาํ รับยาแกป วดเมื่อยกลา มเนื้อ-เสน เอ็น/บํารุงกําลงั : แกป วด
เมอ่ื ยกลา มเนื้อ-เสนเอ็น บํารงุ กําลัง (S2-61)
• ตาํ รบั ยาแกเหนบ็ ชา : แกเหน็บชา อาการชาตามปลายมือ
ปลายเทา (S2-63)
• ตํารับยารกั ษากระดกู ทบั เสน : รกั ษาอาการกระดูกทบั เสน
(S2-66)
• ตํารบั ยาแกทองผูก/พรรดึก : แกอาการทอ งผกู หรอื พรรดึก
(อาการทองผกู รนุ แรง มอี ุจจาระเปนกอนกลมแขง็ ) (S3-41)

เถาวลั ย์ยัง้ เถาหงอนไก่
ชอื่ ทอ งถิน่ : สมกุง (พิษณุโลก) ช่อื ทองถิ่น : พญาเทครวั (พทั ลุง)
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Smilax ovalifolia Roxb. ex D. Don ชอ่ื วิทยาศาสตร : Rourea mimosoides (Vahl) Planch.
ชือ่ วงศ : SMILACACEAE ช่ือวงศ : CONNARACEAE
ลักษณะเดน : ไมเถาลมลุก ยาวถงึ 10 ม. เถากลมหนา 1 ซม. มี ลกั ษณะเดน : ไมเถาเน้ือแขง็ ยาวถึง 30 ม. เปลอื กเรียบ เถาอายุ
หนามประปราย ตามสว นตาง ๆ เกล้ียง ใบเดย่ี ว เรยี งสลับ รปู มากแบน ตามก่ิงออน ชอดอก กา นใบและแผน ใบดานลา งมีขน
ไข- หวั ใจ-แกมกลม ยาว 13-25 ซม. ปลายใบมตี ง่ิ หนาม โคนใบ สั้นนุม ใบเรียงเวียน ใบประกอบแบบขนนก มีใบยอย 8–30 คู
รปู ลมิ่ -กลม มเี สน แขนงใบออกจากโคนใบ 3 คู และเปนรอยกด ใบยอ ยเรียงตรงขาม-สลับ รูปขอบขนาน ยาว 1.5–3 ซม. ปลาย
ตามแนวเสน แขนงใบทแ่ี ผนใบดา นบน ดา นลางไมม นี วล กานใบ ใบบุม เนอ้ื ใบคอ นขา งหนา กลบี ดอกสชี มพู-แดง มี 5 กลบี ผลรูป
ยาว 1.5-3 ซม. กานใบเปนรอ งและมกี าบสองดา นกวางเพียง 1 ไขก ลับ ยาว 2–3 ซม. สแี ดงเรอ่ื ปลายผลเปนจะงอยสั้นปลาย
มม. มีมือพันออกจากกา นใบ ชอ ดอกยาวถงึ 10 ซม. มีชอยอย แหลม โคนผลมีกลบี เลย้ี งตดิ ทน
1-5 ชอ เปน กระจุกทรงกลม กวาง 4 ซม. ดอกสีเขยี วอมขาว สรรพคุณ
ผลกลม กวาง 1 ซม. เมอ่ื สกุ สีแดงเขม , พบตามปา ผลดั ใบหรอื • ท้งั 5 : ปรับธาตุ ชวยระบาย ยาถาย (S3)
ปา ดงดิบในท่ีโลง จนถงึ ระดบั ความสงู ถึง 1,500 ม. ทั่วทกุ ภาค
ยกเวน ภาคใต, ยอดออ นทานเปน ผกั สดหรอื ปรุงอาหารได
สรรพคณุ
• ตาํ รับยาแกไ อ : แกไ อ (N1-161)

289
เถาเอน็ อ่อน
ชอื่ ทอ งถ่ิน : เถาเอ็นออน (สระแกว), เถาเอน็ ออน
ตีนเปด เครือ (ตรงั ), เอ็นออน (อุดรธานี)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Cryptolepis dubia (Burm. f.) M. R.
Almeida
ช่ือวงศ : APOCYNACEAE
ลักษณะเดน : ไมเ ถาเนือ้ คอ นขา งแขง็ ยาวถงึ 20 ม. เถากลม
เปลอื กลอกเปน แผนบางสนี ้าํ ตาลเขม ทกุ สวนที่มชี ีวติ มนี ้ํายางสี
ขาวขุน ตามกง่ิ ออ น ชอดอก และใบเกล้ยี ง ใบเด่ียว เรยี งตรงขาม
รปู รี ยาว 10–18 ซม. แผนใบดา นลา งสีเขยี วนวล เสนแขนงใบ
จํานวนมาก ดอกสเี หลอื งออน กลบี ดอก 5 กลบี รปู หอก ยาว
6–8 มม. ผลแบบฝก คู รูปรียาว ยาว 10 ซม. มี 3 สันตามแนว
ยาว

บน : ใบของตนอายนุ อย, กลาง : ใบของตนอายุมากและดอก,
ลาง : เถาอายุมาก

290

ทองเครือ
ชื่อทอ งถน่ิ : กวาวเครือแดง (สระแกว ), กวาวแดง
(พิษณุโลก), จานเครือ ทองเครอื (อุดรธานี)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Butea superba Roxb.
ช่อื วงศ : FABACEAE
ลักษณะเดน : ไมเถาเนอ้ื แข็ง ยาวถึง 30 ม. มหี ัวหรอื รากสะสม
อาหารใตด ิน ยาวและอวบหนาคลายมันสําปะหลัง เถากลม มีนํา้
ยางสีแดงคลายเลือดปรากฏในหัวและเนอื้ ไมช ว งวงนอกสุดติด
เปลอื ก เหน็ เปนวงแหวน 1 วง ตามปลายก่งิ แผน ใบดานลางและ
ผลมีขนสัน้ หนาแนน สีน้าํ ตาลแดง ใบเรียงสลับ ใบประกอบมี 3
ใบยอ ย รูปคอนขา งกลม กวาง 10–20 ซม. ดอกสสี ม สด ยาว 6-8
ซม. คลา ยดอกทองกวาวหรือดอกแคบา น ผลมีปกแบนรูปขอบ
ขนาน ยาว 7–12 ซม. ติดเมล็ด 1 เมลด็ ท่ปี ลาย, พบตามปา
เบญจพรรณและปา ดงดิบแลงท่ัวประเทศ ยกเวนภาคใต
สรรพคุณ
• หัว : บาํ รุงกาํ ลงั ท้ังชาย-หญงิ (E2)
• หวั หรือเหงา : บํารุงหนาอกสตรีใหเตงตงึ (N1)
• รากหรือเหงา : บํารงุ กาํ หนดั ยาอายุวฒั นะ (NE3)

เถาเอน็ ออน เถาทองเครือมวี งแหวนนํ้ายางสแี ดง 1 วงใตช้ันเปลอื ก
สรรพคณุ
• เถาหรอื ใบ : แกปวดเม่ือยเสนเอ็น ปวดเสน คลายเสน (NE3)
• ตํารบั ยานา้ํ มันเหลอื ง : แกป วดเมอื่ ย (E1-03)
• ตํารับยาแกฟ กชาํ้ -เคล็ดขัดยอก : รักษาอาการฟกชํ้า ชํ้าใน
เคลด็ ขดั ยอก ตกจากท่สี ูง รถชน (NE3-013)
• ตาํ รบั ยากําลงั ฮอสะพายควาย : บาํ รุงกาํ ลงั แกปวดเมอื่ ยตาม
รา งกาย (S1-43)
• ตํารบั ยาโรคอมั พาตระยะแรก : แกอ าการกึง่ อมั พาตหรือ
อัมพาตระยะแรก กลามเน้อื ออ นแรง เดนิ ยนื ไมปกติ เหน็บชา
(S2-24)
• ตํารบั ยาแกปวดเม่ือยเสนเอน็ : แกปวดเม่อื ยตามเสน เอน็ เสน
เอน็ อักเสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ-อัมพาต (S2-31)
• ตาํ รับยาโรคอัมพฤกษ- อมั พาต : รักษาอมั พฤกษ- อมั พาต
(S2-33)
• ตํารบั ยาแกปวดเม่อื ย/ชาตามปลายมอื -เทา : แกปวดเม่อื ย
ตามรา งกาย แกอาการชาตามปลายมอื ปลายเทา (S2-36)
• ตาํ รับยาซอมแซม/เสรมิ สรางเสน เอ็นพกิ าร : ชว ยซอมแซม
และเสรมิ สรา งเสนเอ็นทีพ่ ิการ (S2-53)
• ตํารับยาแกป วดเมอื่ ยกลา มเนอื้ -เสนเอน็ /บาํ รงุ กําลงั : แกป วด
เมอ่ื ยกลา มเนือ้ -เสน เอ็น บาํ รุงกาํ ลัง (S2-61)
• ตาํ รบั ยาแกเ หน็บชา : แกเ หน็บชา อาการชาตามปลายมอื
ปลายเทา (S2-63)

291

ทองเครือ/กวาวเครือแดง เปลอื กของตน ทองเดือนหา
ทองเดือนห้า
ชือ่ ทองถ่ิน : ทองหลางปา (สระแกว, พษิ ณโุ ลก)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Erythrina stricta Roxb.
ชอ่ื วงศ : FABACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน ผลดั ใบ สงู ถงึ 30 ม. กง่ิ และลําตนมีหนาม
แหลมคม เปลอื กหนาเน้ือนมุ แบบไมก็อกและแตกเปนรอ งลกึ ตาม
ยาว ตามก่งิ ออ น กานชอดอก กานใบและแผน ใบดานลา งมีขนสน้ั
ใบเรียงสลบั ใบประกอบแบบมี 3 ใบยอ ย รูปสามเหลีย่ มปา น
กวา ง กวางและยาว 8–15 ซม. กลีบดอกสแี ดงอมสม รปู ใบหอก
ยาว 4–7 ซม. หอ คลา ยหลอด ปลายแหลม-มน ผลเปน ฝก เรยี ว
ยาว ยาว 7–10 ซม. ผวิ เกล้ยี ง, พบตามปา เบญจพรรณ ทั่ว
ประเทศ ยกเวนภาคใต
สรรพคณุ
• เปลือก : ชว ยขบั เสมหะในลาํ คอ แกไอ; ใบออน : กินเปนผกั ใช
หอเมย่ี งคาํ (E2)
• เปลอื ก : แกท อ งเดนิ แกทองเสยี (N1)

292

ทองหลางใบมน ทองหลางใบมน
ชอ่ื ทอ งถิ่น : ทองหลางใบมน (พัทลงุ , ตรงั ) ทอ่ มหมูช่อ
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Erythrina suberosa Roxb. ชือ่ ทอ งถน่ิ : กระดกู ไกแ ดง ยอดก หมาถอนหลกั
ชอ่ื วงศ : FABACEAE (ตรงั )
ลกั ษณะเดน : ไมตนผลดั ใบ สงู ถึง 30 ม. กง่ิ และลาํ ตนมหี นาม ชื่อวิทยาศาสตร : Rennellia morindiformis (Korth.) Ridl.
แหลมคม มคี วามคลายกบั ทองเดอื นหา (Ery_str) จุดแตกตางที่ ช่ือวงศ : RUBIACEAE
ทองหลางใบมนมีเปลอื กเรียบ-แตกเปนรอ งตน้ื ตามยาว (ไมห นา ลักษณะเดน : ไมพ ุม สูงถงึ 3 ม. เนือ้ ไมค อ นขา งออ น เน้ือราก
แบบไมก อ็ ก) กลบี ดอกสแี ดง รปู รแี กมใบหอก ปลายเรยี วแหลม ดานในสีสม กง่ิ ออนและใบเกล้ียง มหี ูใบรูปสามเหลี่ยม ใบเด่ยี ว
ไมห อเปน หลอดชัดเจนแบบทองเดอื นหา และทองหลางใบมนจะ เรียงตรงขามต้ังฉาก รูปหอก-หอกกลับ ยาว 13–23 ซม. ชอดอก
พบตามพืน้ ท่ีราบใกลชายทะเล ปาชายหาด หรอื เปน ไมป ลกู ออกท่ปี ลายกิ่ง ต้งั ขน้ึ ยาว 6–10 ซม. หลอดกลีบดอกสขี าว ยาว
สรรพคุณ 1 ซม. ปลายกลบี เลี้ยงและกลบี ดอกสีมว งเรอื่ ๆ ผลคอนขางกลม
• ตํารบั ยาแกล มกองหยาบ/วิงเวียน-ใจสน่ั : แกว ิงเวียนศรี ษะ กวาง 1.5–2 ซม. สเี ขยี วและสมี ว งเรอ่ื ๆ
ใจส่ัน อาการบา นหมุน หนา มืดตาลาย ลมขึ้นแนนหนาอก สรรพคณุ
(ประเภทลมกองหยาบ) (S1-38) • ตาํ รับยาแกป วดเมื่อยกลา มเนื้อ-เสน เอน็ /บํารงุ กาํ ลงั : แกป วด
• ตาํ รบั ยามหานิลแทงทอง : แกไ ขต ัวรอ น ไขหัด ไขอ ีสุกอใี ส แก เม่อื ยกลามเนอ้ื -เสน เอน็ บํารงุ กาํ ลัง (S2-61)
รอ นในกระหายนาํ้ แกปากเปอ ยเพราะพษิ รอ นหรอื รอ นใน
(S3-12)
• ตํารบั ยาไขห ดั /ไขอสี กุ อใี ส/ไขอ ดี าํ อแี ดง : แกไ ขหดั ไขเ หือด
(หัดเยอรมนั ) ไขอีสกุ อใี ส ไขอดี าํ อแี ดง กระทงุ พิษไข (S3-48)

293

รากของทอ มหมูชอ /กระดกู ไกแ ดง

ทิง้ ถอ่ น ฝกแกท ิง้ ถอ น
ชื่อทอ งถิ่น : ทง้ิ ถอ น (พษิ ณโุ ลก) ทุง้ ฟา้
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Albizia procera (Roxb.) Benth. ชอื่ ทองถ่ิน : ทุง ฟา (ตรัง)
ชือ่ วงศ : FABACEAE ช่ือวทิ ยาศาสตร : Alstonia macrophylla Wall. ex G. Don
ลกั ษณะเดน : ไมต น ผลัดใบ สูงถึง 25 ม. เปลือกเรียบสขี าว-แตก ช่อื วงศ : APOCYNACEAE
สะเก็ดสีนา้ํ ตาล ตามสวนออน ๆ มีขนสัน้ ใบประกอบแบบขนนก ลักษณะเดน : ไมตน สงู ถงึ 30 ม. เปลือกเรียบ ทุกสว นทมี่ ชี วี ิตมี
2 ชนั้ มีชอ ใบยอ ย 3–4 คู ใบยอยรปู ร-ี ไขกลบั ยาว 2–4 ซม. แผน นา้ํ ยางสขี าวขุน ตามกง่ิ ออน ชอ ดอก และแผน ใบดานลางมขี นสัน้
ใบไมส มมาตร ชอดอกเปน กระจุกทรงกลม กวา ง 1.5–2 ซม. สี ใบเด่ยี ว เรยี งรอบขอ มี 3–4 ใบ/ขอ ใบรปู หอกกลับ ยาว 15–30
ขาว ฝกรปู แถบยาว ยาว 15–20 ซม. แบนบาง มี 8–13 เมลด็ ซม. ดอกสขี าว ผลเปนฝกเรียวยาว ยาว 20–40 ซม. กวาง 5 มม.
สรรพคุณ เมล็ดแบน มขี นสีนา้ํ ตาลทองรอบ
• เปลอื ก : บํารุงธาตุ แกธ าตพุ กิ าร แกก ษัย แกล มกษยั แกหดื ไอ สรรพคุณ
ทําใหเ จริญอาหาร ชว ยหามเลอื ด สมานบาดแผล หรือตม กบั น้ํา • ตาํ รับยาแกป วดเม่อื ย/ชาตามปลายมอื -เทา : แกป วดเมอ่ื ย
ใชล า งแผล, ใชตมผสมกบั รากมะตูม แกอ าเจยี น แกทอ งรว ง ตามรางกาย แกอ าการชาตามปลายมอื ปลายเทา (S2-36)
เปน ยาอายวุ ัฒนะ; แกน : แกริดสีดวงทวาร; รากและแกน : มี • ตํารับยาแกปวดเม่ือยกลา มเนือ้ -เสน เอน็ /บาํ รุงกาํ ลงั : แกปวด
รสขม (R62) เมื่อยกลามเนือ้ -เสน เอ็น บาํ รงุ กาํ ลัง (S2-61)
• เปลอื ก : บาํ รุงกาํ ลัง บํารงุ รางกาย (S1)
• ตาํ รับยากําลงั ฮอสะพายควาย : บาํ รงุ กาํ ลงั แกปวดเมื่อยตาม
รา งกาย (S1-43)
• ตํารับยาแกป วดเมอื่ ยกลามเน้ือ-เสนเอน็ /บาํ รุงกําลงั : แกป วด
เมอ่ื ยกลา มเนอ้ื -เสนเอ็น บาํ รุงกําลงั (S2-61)

294

ซา ย : ฝก ออนทุง ฟา

เทพทาโร กลาง : แผนใบดานลา งของเทพทาโรมีนวลแปงสีขาว, ลาง : เนอื้
ช่อื ทอ งถิ่น : เทพทาโร จวง (ตรัง), เทพทาโร ไมเทพทาโร
ตะไครต น (พิษณโุ ลก) • ตํารบั ยาแกป วดเม่ือย/บํารงุ รา งกาย/อัมพาต : แกป วดเม่ือย
ช่ือวิทยาศาสตร : Cinnamomum parthenoxylon (Jack)
Meisn. ตามเสน-ขอ-หลัง-เอว อัมพาต บํารุงรางกาย ชว ยใหเจริญ
ชอื่ วงศ : LAURACEAE อาหาร (E3-02)
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถงึ 30 ม. เน้ือไมมีนา้ํ มนั หอมระเหย • ตํารับยาสตรีสาวเสมอ : บํารงุ รกั ษาระบบภายในของสตรี ชว ย
เปลอื กแตกเปน รองลกึ ตามยาว ตามก่งิ ออ น ใบ และชอ ดอกไมม ี กระชบั รางกาย (S2-15)
ขน ใบเด่ยี ว เรียงเวยี น รูปรี-ไขกวาง ยาว 8–14 ซม. เสน แขนงใบ • ตาํ รบั ยาบํารงุ รักษามดลกู : ชวยบาํ รงุ รกั ษามดลกู บํารงุ สตรี
คลู างสดุ มคี วามยาวมากทสี่ ุดกวาเสนแขนงใบอน่ื ๆ แผน ใบดาน หลังคลอด มดลกู พกิ าร (S2-60)
ลางมกั มีนวลแปง ขาว ขยีใ้ บมกี ล่นิ หอม ดอกขนาดเลก็ สีครีม ผล
ทรงกลม กวา ง 1–1.5 ซม. มกี า นผลบวมโต ยาวมากกวา หรอื ยาว
ใกลเ คียงกับผล
สรรพคุณ
• เน้ือไม เปลือก และราก : บํารงุ หวั ใจ (N1)
• แกน ราก และใบ : ขบั ลม แกลมจุกเสยี ด แกป วดแนน ทอ ง
บํารุงธาตุ (S1)

295

ไทรย้อย สรรพคณุ
ชอ่ื ทอ งถน่ิ : ไทรยอย (พิษณุโลก, อุดรธานี, ตรัง) • รากยอ ยหรือรากอากาศ : ขับปสสาวะ แกไตพิการ (NE3)
ชื่อวิทยาศาสตร : Ficus benjamina L. • เถา : ใชเ ปนยาแกไขมาเลเรยี วณั โรค; เปลอื ก : เปน ยาทาํ ให
ชอ่ื วงศ : MORACEAE แทง ใบแกโ รคบิด ถอนพิษฝน กระตนุ ประสาท; ผล : แกลมจุก
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถงึ 15 ม. เรอื นยอดแผกวาง มีราก เสยี ด พิษงู บํารงุ โลหติ ; เมลด็ : พอก หรือรับประทาน แกโ รค
อากาศออกจากกิง่ และลําตน ยอ ยหรือพันตน ไมหรือกอนหิน สว น ปวดตามขอ กลา มเนือ้ และอัมพาต แกไ ข; นา้ํ มนั เมล็ด : (R1,
ทมี่ ีชีวิตมีนํ้ายางสีขาวขุน ตามกิง่ ออ น กา นใบ แผนใบ และผลไมมี R7)
ขน ปลายกง่ิ มหี ูใบเรยี วแหลม ยาวถงึ 15 มม. ใบเดยี่ ว เรยี งสลับ • ตํารับยาโรคไต : แกโ รคไต (N1-287)
รูปไข- รปู รี ยาว 7–10 ซม. โคนใบมน ปลายใบเรยี วแหลม มเี สน • ตาํ รับยารักษาอาการบวมอักเสบจากพษิ บาดแผล/แผล
แขนงใบจาํ นวนมาก ปลายเสนจรดกนั และขนานกบั ขอบใบ ผล อักเสบ : รกั ษาอาการบวมอักเสบจากพิษบาดแผล รักษาแผลผุ
ทรงกลม กวา ง 1 ซม. สกุ สีเหลอื ง-แดง มเี มลด็ ขนาดเล็กจํานวน พอง เปนหนอง (S2-67)
มาก เท้ายายม่อม

เทายายมอม เทา ยายมอ มตน (พทั ลุง,
ตรงั , ฉะเชิงเทรา)
ช่ือวิทยาศาสตร : Clerodendrum indicum (L.) Kuntze
ชือ่ วงศ : LAMIACEAE
ลักษณะเดน : ไมพมุ สูงถึง 2 ม. ปกติมลี ําตน เด่ียว มเี หงาใตด นิ
และแตกแขนงตามไหลได ก่ิงเปน สี่เหลี่ยมและมีรอ ง ใบเดีย่ ว
เรยี งรอบขอ 3–4 ใบ/ขอ รปู แถบยาว-หอกกลับ ยาว 7–20 ซม.
กวา ง 2–4 ซม. ไมม ีกานใบ ผิวใบเกลีย้ ง ออ นนมุ กลบี ดอกเปน
หลอดแคบยาว ยาว 8–13 ซม. มขี นสน้ั ปลายดอกโคงลง ปลาย
หลอดแยก 5 แฉก เกสรเพศผสู มี วงแดง กลีบเลยี้ งสเี ขียวออน
เปน แฉกรปู ดาว ผลทรงกลม กวา ง 1 ซม. มี 4 พู กลบี เลี้ยง
เปลยี่ นเปนสีแดงเมอ่ื ติดผล ผลสุกสีดําอมนํ้าเงิน
สรรพคณุ
• รากหรือเหงา : รสจดื ขืน่ เปน ยาแกไขต ัวรอน รอนในกระหายนํ้า
ชว ยลดความรอ นในรา งกาย กระทงุ พษิ ไขหวดั ขับเสมหะลงสู
เบื้องตํา่ ถอนพษิ ไขท กุ ชนดิ แกห ืดไอ แกอ าเจียน ดบั พิษฝ
ไขก าฬ แกไ ขเพอื่ ดพี กิ าร หรือใชภ ายนอกเปน ยาพอกทาแผลแก
พิษงู แกพษิ สตั วกดั ตอย หรือใชใ บรว มดว ยก็ได, จดั อยูในพกิ ดั
ยาหาราก หรือพกิ ัดยาเบญจโลกวิเชยี ร (R86)
• ตํารบั ยาไขท บั ระดู : แกไขท ับระดู ระดผู าไข แกพษิ โลหติ ระดู
แกร อ นใน แกค ลมุ คลง่ั (E1-06)
• ตาํ รบั ยาหาราก (ยาเบญจโลกวิเชยี ร/ยาแกวหา ดวง) : แกไข
ตวั รอน ปวดหวั ถอนพษิ ไข (N1-14)
• ตํารบั ยารกั ษาฝห รอด/ฝอ ักเสบเรอ้ื รัง : รกั ษาฝอ ักเสบ ฝเร้อื รงั
ลดการขยายตวั ของฝ (“ฝหรอด” เปน ภาษาไทยใต คือ ฝท เ่ี ปน
ตลอด มกี ารอกั เสบเรื้อรงั ) (S1-01)
• ตาํ รบั ยาหา ราก (สูตรพน้ื บาน) : แกไข ตัวรอน แกปวดหัว
(S1-06)

296

เขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปไขก วาง ยาว 1-2 ซม. กลีบ
ดอก 6 กลีบ รูปใบหอก ยาว 3-6 ซม. ผลติดเปนกลมุ 2-9 ผล/
กลุม รปู รี ยาว 2 ซม.
สรรพคณุ
• ดอก ราก และแกน : บํารุงเลือด บํารงุ หัวใจ บรรเทาอาการ
ปวดจากโรคมะเรง็ (E2)

เหงา ใตดนิ ของเทา ยายมอ ม นมงัว
นมควาย ช่อื ทอ งถน่ิ : การเวก (สระแกว )
ช่อื ทองถน่ิ : นมแมวปา (สระแกว ) ช่อื วิทยาศาสตร : Artabotrys harmandii Finet & Gagnep.
ชือ่ วิทยาศาสตร : Uvaria hahnii (Finet & Gagnep.) Bân ชื่อวงศ : ANNONACEAE
ช่อื วงศ : ANNONACEAE ลักษณะเดน : ไมเถาเนอ้ื แขง็ ยาวไดถ ึง 20 ม. เถามีหนามออก
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนื้อแขง็ ยาวถึง 20 ม. ตามกง่ิ ดอก ผล เปน คู มขี นสน้ั นมุ เฉพาะตามปลายยอดออนและชอดอก ใบเดยี่ ว
กานใบ และแผนใบดา นลางมขี นสนั้ สสี นมิ -นา้ํ ตาลออนหนาแนน เรยี งสลับระนาบเดยี ว รูปร-ี แกมขอบขนาน ยาว 10-16 ซม. แผน
ใบเดี่ยว เรียงสลบั รูปรีแกมขอบขนาน-ไขกลับ ยาว 10-17 ซม. ใบคอนขางหนา ผิวใบดานบนมันเงา ดานลางเรียบเกลี้ยง ก่ิงมี
โคนใบมน ดอกเด่ยี ว หอ ยลง กา นดอกยาวไมเ กนิ 2 ซม. ดอกสี ตะขอ รูปวงรี ชอ ดอกออกท่ตี ะขอ กลบี ดอกสเี ขียวออน-เหลือง
รปู ใบหอก ยาว 3-4 ซม. เน้อื หนา มีกลิน่ หอมชว งเวลาเย็น ผลตดิ
เปนกลุม 2-15 ผล/กลุม รปู ไขก ลบั

297

สรรพคณุ
• ดอก : สดู ดมหรอื ชงชาด่ืมแกวิงเวยี น; เถาหรือราก : แกท อง
เสีย ชว ยบาํ รงุ กาํ ลัง บํารุงโลหติ บํารงุ รางกาย (E2)
• ตํารบั ยาบํารงุ นา้ํ นม : บาํ รงุ น้าํ นม ชว ยขับนาํ้ นม (N1-255)

นมงัว
นมชะนี
ชอ่ื ทอ งถิน่ : เถานมวัว (พษิ ณุโลก)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Artabotrys burmanicus A. DC.
ชือ่ วงศ : ANNONACEAE
ลักษณะเดน : ไมเ ถาเนือ้ แข็ง ยาวไดถงึ 20 ม. เถามีหนามออก
เปน คู มีลักษณะคลายนมงัว (Art_har) มจี ุดตา งที่นมชะนจี ะมขี น
สั้นนมุ สสี นิม-สีน้าํ ตาลออ นท่ีตามกิ่งและชอดอก สวนแผน ใบดาน
ลา งมสี ีเขยี วนวลและมขี นสนั้ นมุ
สรรพคุณ
• เถา : แกต อ มลูกหมากโต (N1)
• ตาํ รับยาบํารงุ น้าํ นม : บํารงุ นํา้ นม (N1-270)

298

นมนอ้ ย สรรพคณุ
ชือ่ ทอ งถนิ่ : ตองแลง ตอ งแลง (อดุ รธาน)ี • รากหรอื ลาํ ตน : บาํ รงุ นา้ํ นม (NE3)
ช่อื วิทยาศาสตร : Polyalthia evecta (Pierre) • ทง้ั ตน : ขบั เสมหะ ทําใหอ าเจยี น ถอนพิษของโรคในแมวไดดี;
Finet & Gagnep. ใบ : ขบั พยาธิเสน ดายในเด็ก ขบั เสมหะ, เปน ยาถา ยและให
ชือ่ วงศ : ANNONACEAE คลืน่ เหยี นอาเจยี น หากรบั ประทานปรมิ าณมาก, ใบแหง ปนโรย
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สูงถึง 1 ม. ตามก่ิง แผน ใบดา นลางและ รักษาแผลเนือ่ งจากนอนมาก ยาระบาย แกห ดื ขบั เสมหะ (R7)
ดอกสขี นสน้ั นมุ ใบเด่ียว เรยี งสลับระนาบเดียว รปู รี-ขอบขนาน นมพิจิตร
ยาว 5-10 ซม. กานใบบวม ยาว 3-5 มม. ดอกเด่ียว ออกตาม ช่ือทองถน่ิ : ลิ้นเหี้ย (อดุ รธานี)
ซอกใบ หอยลง กลีบดอก 6 กลบี กลบี ดอกวงในงุมเขา แตะกัน สี ชอื่ วิทยาศาสตร : Hoya verticillata (Vah.) G. Don
เหลอื งออน ยาว 1 ซม. กา นดอกยาว 3 ซม. มกั มีสีแดง ผลตดิ ชือ่ วงศ : APOCYNACEAE
เปนกลุม 2-10 ผล/กลมุ ทรงกลม กวาง 8-10 มม. ลักษณะเดน : ไมเถาลมลุก อิงอาศัยตามตน ไม ยาวไดถงึ 5 ม.
สวนตา ง ๆ ทม่ี ีชวี ิตมนี า้ํ ยางสขี าวขนุ ใบเดี่ยว เรยี งตรงขาม รปู
ร-ี แกมใบหอก ยาว 10-13 ซม. เนือ้ ใบแข็งหนา มีเสนแขนงใบคู
ลา งสุดออกจากโคนใบและเดน ชดั ท่สี ดุ ชอ ดอกยาว 3-5 ซม. ชอ
กระจกุ คลา ยซ่ีรม กวา งถงึ 6 ซม. ดอกสีขาว-ชมพู กลางดอก
สีชมพูเขม ผลแบบฝก ทรงกระบอกเรยี วยาว ยาว 12-17 ซม. ฝก
ออนมักมีลายสีมว ง
สรรพคุณ
• ใบและเถา : แกโ รคฝในตับ (NE3)

299

นมแมว นมแมวปา่
ชอ่ื ทอ งถน่ิ : นมแมว (สระแกว ) ช่ือทอ งถิ่น : กลว ยนอ ย (อดุ รธานี)
ชอื่ วิทยาศาสตร : Uvaria siamensis (Scheff.) ช่อื วทิ ยาศาสตร : Uvaria cherrevensis (Pierre
L. L. Zhou, Y. C. F. Su & R. M. K. Saunders ex Finet & Gagnep.) L. L. Zhou, Y. C. F. Su & R. M. K. Saunders
ชือ่ วงศ : ANNONACEAE ช่ือวงศ : ANNONACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนอ้ื แขง็ ยาวถึง 20 ม. ตามกง่ิ ดอก ผลและ ลกั ษณะเดน : ไมพมุ สูงถึง 1.5 ม. ตามกง่ิ กา นใบ แผนใบดาน
แผนใบดานลา งมขี นกระจุกส้ันสีนํา้ ตาลแดงแนบกบั ผิว ใบเดย่ี ว ลา ง ดอกและผลมขี นสีสนิม-สขี าวหนาแนน ใบเด่ียว เรยี งสลับ
เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว รปู ใบหอก ยาว 7-15 ซม. โคนใบมน-เวา รปู ไข-ไขกลับ ยาว 9-15 ซม. ขยใ้ี บมีกลิ่นฉนุ เสนแขนงใบนนู
ขย้ีมกี ลิน่ ฉนุ เนือ้ ใบคอ นขางหนา แผน ใบดา นบนเรียบและมันเงา ชดั เจนทีผ่ วิ ใบดา นลา ง ดอกเดีย่ ว หอ ยลง กลบี ดอกสีเหลืองออน
ดานลา งสีเขียวนวล กลบี ดอกสเี หลอื งครมี มี 6 กลบี รูปไขก วาง รูปไขแกมกลม ยาว 2 ซม. ปลายกลบี งอนกลบั ผลตดิ เปน กลุม
ยาว 1.5-2 ซม. มีกลิ่นหอมเยน็ ผลตดิ เปน กลมุ 2-8 ผล/กลุม รูป 10-20 ผล/กลมุ ทรงรี ยาว 1-1.5 ซม. สกุ สแี ดง
กลม-ทรงกระบอก ยาว 1.3-2 ซม. สุกสเี หลือง สรรพคุณ
• เถาหรือราก : แกท อ งเสีย ปวดทอ ง ชว ยบาํ รุงน้ํานม (NE3)

สรรพคณุ
• ดอก ราก เถา และแกน : บํารงุ หัวใจ บาํ รงุ กําลัง; ใบ ราก หรอื
ผลดบิ : รักษาโรคผิวหนังผน่ื คัน (E2)


Click to View FlipBook Version