The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอม สารกึ่งตัวนำชนิดพี ชนิดเอ็นและรอยต่อพีเอ็น โครงสร้างสัญลักษณ์ คุณลักษณะทางไฟฟ้าและการให้ไบแอสไดโอด ซีเนอร์ไดโอด ทรานซิสเตอร์ เฟตและอุปกรณ์ไทริสเตอร์ การทำงานของวงจรคอมมอนต่างๆ ของทรานซิสเตอร์ และเฟต การใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในวงจรขยายสัญญาณ วงจรเพาเวอร์ซัพพลาย วงจรออสซิลเลเตอร์ และวงจรอื่นๆ การอ่านคู่มืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การแปลความหมายของคุณลักษณะทางไฟฟ้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krupum1234, 2021-05-13 10:44:06

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอม สารกึ่งตัวนำชนิดพี ชนิดเอ็นและรอยต่อพีเอ็น โครงสร้างสัญลักษณ์ คุณลักษณะทางไฟฟ้าและการให้ไบแอสไดโอด ซีเนอร์ไดโอด ทรานซิสเตอร์ เฟตและอุปกรณ์ไทริสเตอร์ การทำงานของวงจรคอมมอนต่างๆ ของทรานซิสเตอร์ และเฟต การใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในวงจรขยายสัญญาณ วงจรเพาเวอร์ซัพพลาย วงจรออสซิลเลเตอร์ และวงจรอื่นๆ การอ่านคู่มืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การแปลความหมายของคุณลักษณะทางไฟฟ้า

Keywords: อุปกรณ์อิเล็กฯ

(แสดงว่า E-MOSFET นากระแส)

6.4.2.2 กรณี P - Channel สาหรับ E-MOSFET ชนิด P – Channel ก็จะใชห้ ลกั การวัดเช่นเดียวกันกบั
EMOSFET N – Channel

1) หลักการเหมือน E-MOSFET ชนดิ N – Channel แต่ไดโอดที่ต่ออยู่
ภายในจะต่อตรงกนั ขา้ มกนั

2) จะได้ผลการวดั เหมือนกบั E-MOSFET ชนิด N – Channel
3) การทดสอบสภาพของ E-MOSFET ชนิด N – Channel ว่าปกติหรอื ไม่ให้ทาตามลาดับขนั้ ดังนี้

(3.1) นาสายลดั วงจรทขี่ า ท้ัง 3 แลว้ ปลดสายออก
(3.2) นาสายลบแตะขา G สายบวกแตะขา S (เปน็ การประจุไฟฟา้ ให้กับขา G
กบั S หรือ ป้อน VGS แลว้ ปลดออก
(3.3) นาสายลบแตะขา D สายบวกแตะขา S จะพบว่าไดค้ ่าความต้านทานค่าตา่
(แสดงวา่ EMOSFET นากระแส)

5. กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาหท์ ี่ 6)

การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้โ ดยเ น้นผู้เรีย นเป็นส าคั ญ เรื่อง ทรานซิสเตอร์สนาม ไ ฟ ฟ้ า
1) ครูผู้สอนสาธิตการไหลของน้าจากที่สูงลงสู่ที่ต่า และดักการไหลของน้าให้ไหลในปริมาณท่ีเรากาหนด
ก่อนสรุปเช่ือมโยงถงึ หลกั การทางานของทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟ้า (10 นาท)ี
2) ใหผ้ ้เู รยี นได้ซักถามขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ใช้เวลา (5นาท)ี
3) ผสู้ อนแจกใบความรู้ที่ 6 เรือ่ งทรานซิสเตอรส์ นามไฟฟา้ ใช้เวลา (5นาท)ี
4) ผสู้ อนอธบิ ายความรจู้ ากใบความรทู้ ี่ 6 ในหัวข้อ 6.1 โครงสร้างและสญั ลักษณ์ของทรานซิสเตอร์
สนามไฟฟา้ ใช้เวลา (15 นาที) โดยใชส้ อื่ จากส่ือ Power point เรือ่ งทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟ้า
5) ผู้สอน และผู้เรยี นร่วมกันสรปุ เร่อื งทรานซสิ เตอรส์ นามไฟฟ้า อกี คร้งั ใช้เวลา (5 นาท)ี
6) ผู้สอนอธบิ ายความร้จู ากใบความรู้ที่6 ในหวั ขอ้ 6.2 เรอ่ื งการไบแอสทรานซสิ เตอรส์ นามไฟฟ้าใช้เวลา
(20 นาที) โดยใช้ส่ือจากส่ือ Power point เร่ืองทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้ และโปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ พื่อจาลอง
การทางาน
7) ผู้สอน และผู้เรยี นรว่ มกันสรุป เรือ่ งการไบแอสทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ อีกคร้ัง ใช้เวลา (5 นาที)
8) ผู้เรียนทุกคนศึกษาทาความเข้าใจเน้ือหาใน ใบความรหู้ นว่ ยที่ 6 ในหวั ขอ้ 6.3 เรอ่ื งแปลความหมายของ
คณุ ลักษณะทางไฟฟา้ ของทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้ ใช้เวลา (15 นาที)
9) ครผู ้สู อนและผู้เรียนชว่ ยกนั สรปุ เนอื้ หาเรอ่ื งแปลความหมายของคุณลักษณะทางไฟฟ้าของ
ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า ใชเ้ วลา (10 นาที)

10) ผู้เรยี นทุกคนศึกษาทาความเขา้ ใจเนื้อหาใน ใบความรู้ที่ 6 ในหวั ขอ้ ท่ี 6.4 เรือ่ งวัด และทดสอบ
ทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ ใชเ้ วลา (20 นาที)

11) ผู้สอนเชิญตัวแทนผูเ้ รยี นออกมานาเสนอการวดั พร้อมกับ อธบิ ายหลกั การวดั ทดสอบทรานซสิ เตอร์
สนามไฟฟ้า โดยผสู้ อนจะเปน็ คนอธบิ ายเสรมิ ใชเ้ วลา (15 นาท)ี

12) ผู้สอนและผ้เู รียนชว่ ยกันสรุปเนื้อหาเรื่องทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ ใชเ้ วลา (10 นาที)
13) ผู้สอนสอนใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 3 คนตามความสมคั รใจ
14) ผู้สอนสอนแจกใบงานการทดลองหน่วยที่ 6 เรื่องการวัดและทดสอบคุณสมบัตขิ องทรานซสิ เตอร์
สนามไฟฟ้าให้ผูเ้ รยี นแตล่ ะกลุ่ม ใชเ้ วลา (5 นาที)
15) ผ้สู อนอธบิ ายขั้นตอนการทดลองใบงานการทดลองในหนว่ ยที่ 6เร่อื งการวดั และทดสอบคุณสมบตั ิของ
ทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟ้า พร้อมให้คาแนะนา ชีแ้ นะ และสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รยี นทุกกลุม่ โดยใช้แบบสงั เกต
พฤติกรรมที่ 6.1 ใชเ้ วลา (90 นาท)ี
16) ผู้เรยี นแต่ละกลุ่ม นาผลการทดลองและสรปุ ผลการทดลองออกมานาเสนอกลมุ่ ละ 3 นาที ใช้เวลา
ทั้งหมด (15 นาท)ี
17) ผสู้ อนร่วมอภปิ รายใหข้ อ้ เสนอแนะประเมนิ ผลการทดลองในหนว่ ยที่ 6 เรอ่ื งการวดั และทดสอบ
คณุ สมบัติของทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า ใช้เวลา (20 นาท)ี
18) ผสู้ อนเสริมคุณธรรมด้วยการสอนสอดแทรกเร่อื งคา่ นยิ มของคนไทย ๑๒ ประการใช้เวลา (10 นาท)ี
19 ผสู้ อนและผูเ้ รยี นร่วมกันสรุปสิง่ ทเี่ รียนมาท้งั หมด ก่อนทาการแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 4 เร่อื ง
การวดั และทดสอบคุณสมบัติของทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟ้าใชเ้ วลา (20 นาที)

20) ผเู้ รียนชว่ ยกนั ทาความสะอาด ปดิ ไฟ ตรวจดูความเรียบรอ้ ยชัน้ เรยี นใชเ้ วลา (5 นาท)ี

6.สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้

6.1 ใบความรู้หนว่ ยท่ี 6 เรอื่ งทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้
6.2 ใบงานท่ี 6 เร่ือง การวัดและทดสอบคุณสมบตั ิของทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟ้า
6.3 แบบทดสอบหนว่ ยท่ี 6 ทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้
6.4 โปรแกรมการจาลองการทางาน

7. หลักฐานการเรียนรู้

7.1 หลักฐานการเรยี นรู้
1) แบบทดสอบหน่วยที่ 6 ทรานซิสเตอรท์ รานซสิ เตอร์สนามไฟฟ้า
2) ใบงานท่ี 6 เรอื่ ง การวัดและทดสอบคุณสมบตั ขิ องทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้
3) แบบประเมนิ พฤตกิ รรม
4) แบบสงั เกตการณ์ปฏบิ ตั งิ าน

7.2 หลักฐานการปฏบิ ตั ิงาน

1) ใบงานท่ี 6 เรอื่ ง การวัดและทดสอบคุณสมบตั ขิ องทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟ้า
2) แฟม้ สะสมผลงาน

8. การวดั และประเมินผล วิธกี ารวัด เครอื่ งมอื ผู้ประเมิน
ทดสอบ แบบฝกึ หัดที่ 6 ครูผ้สู อน
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ทดสอบ แบบฝกึ หัดที่ 6 ครูผู้สอน
1.เขยี นโครงสร้างและ สัมภาษณ์ แบบสัมภาษณท์ ่ี6 ครผู ู้สอน
สัญลกั ษณ์ของทรานซิสเตอร์
สนามไฟฟ้าไดถ้ ูกตอ้ ง ทดลอง ใบงานท่ี 6 ครผู สู้ อน
2. อธบิ ายหลักการไบแอส สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมหนว่ ยที่6 ครูผู้สอน
ทรานซิสเตอร์ไสนามไฟฟา้ ได้
ถกู ต้อง
3. แปลความหมายของ
คณุ ลักษณะทางไฟฟ้าของ
ทรานซสิ เตอรส์ นามไฟฟ้าได้
ถูกต้อง
4. การวัด และทดสอบ
ทรานซสิ เตอรส์ นามไฟฟา้ ได้
ถกู ต้อง
5.ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศกึ ษาเล่า
เรียน ทง้ั ทางตรงและทางอ้อม

9. เอกสารอา้ งอิง

พนั ธ์ศกั ด์ิ พุฒิมานติ พงศ์. อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ในงานอตุ สาหกรรม. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์ซเี อด็ ยเู คช่ัน, 2553
ชัยวฒั น์ ลิม้ พรจติ รวิลยั . คมู่ ือนักอิเลก็ ทรอนิกส์.กรุงเทพฯ : สานกั พิมพซ์ ีเอ็ดยเู คช่ัน,
อดลุ ย์ กัลยาแก้ว.อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์และวงจร(อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์).กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์ศูนยส์ ง่ เสรมิ

อาชีวะ,2546
สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญ่ปี ุ่น).เทคโนโลยีสารก่งึ ตวั นา.กรุงเทพฯ : บริษทั ดวงกมลสมยั จากัด

10. บันทึกผลหลังการจดั การเรยี นรู้

10.1 ขอ้ สรุปหลงั การจดั การเรยี นรู้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10.2 ปัญหาท่ีพบ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10.3 แนวทางแกป้ ัญหา

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รายงานการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้

เห็นควรอนญุ าตใหใ้ ชส้ อนได้
เห็นควรปรบั ปรงุ เกีย่ วกับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงช่ือ(……………………………………………………………)

หัวหน้าหมวด / แผนกวิชา
…………/……………………………/………………..
เหน็ ควรอนุญาตใหใ้ ช้สอนได้
ควรปรับปรุงเกย่ี วกับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อื่นๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงช่ือ(……………………………………………………………)

รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
…………/……………………………/………………..
เหน็ ควรอนญุ าตใหใ้ ชส้ อนได้
อนื่ ๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..

ลงชอื่ (……………………………………………………………)
ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั การอาชีพกาญจนบุรี
…………/……………………………/………………..

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 7 ชวั่ โมง
จานวน 5
ชื่อวิชา อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร สปั ดาหท์ ่ี 7
……………..…………………………………………………………………………………….
ชื่อหน่วย วงจรคอมมอนทรานซิสเตอรส์ นามไฟฟา้ (เฟต)…

……………………………………………………………………………
ชอ่ื เรือ่ ง วงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟ้า (เฟต)
…………………………………………………………………………………

1.สาระสาคัญ

การจัดวงจรในลักษณะอินพุตสองข้ัว และเอาต์พุตสองข้ัวที่มีขาใดขาหน่ึงเป็นขาร่วมของทรานซิสเตอร์นนั้
เราเรียกว่าวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์ สามารถแบ่งได้ 3แบบ คอื

1.วงจรคอมมอนเกต (Common Gate)
2.วงจรคอมมอนเดรน (Common Drain)
3.วงจรคอมมอนซอรส์ (Common Source)

2. สมรรถนะประจาหน่วย

ประกอบวัด ทดสอบคณุ สมบัติของวงจรคอมมอนทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า (เฟต)

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรูป้ ระจาหนว่ ย

3.1 จุดประสงค์ท่วั ไป
เพ่ือใหน้ กั เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในคุณลกั ษณะทางไฟฟ้าของวงจรคอมมอนทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้

และกิจนิสัยในการคน้ ควา้ ความรเู้ พิม่ เติม
3.2 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม / สมรรถนะประจาหนว่ ย
เมือ่ ผูเ้ รยี นเรยี นจบในหน่วยแลว้ ผู้เรยี นสามารถ
1. อธบิ ายหลักการทางานของวงจรคอมมอนเกตได้
2. อธบิ ายหลักการทางานของวงจรคอมมอนเดรนได้

3. อธิบายหลักการทางานของวงจรคอมมอนซอร์สได้
4. ใฝ่หาความรู้ หม่ันศกึ ษาเล่าเรยี น ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม
5. รู้จกั ดารงตนอยโู่ ดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามพระราชดารสั ของสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ
ร้จู ักอดออมไวใ้ ช้เม่ือยามจาเป็น มไี ว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจา่ ยจาหน่ายและพร้อมท่ีจะขยายกิจการเมื่อมีความ
เมื่อมภี ูมิคุม้ กนั ทด่ี ี

4. สาระการเรยี นรู้

การจัดวงจรในลกั ษณะอินพุตสองข้ัว และเอาต์พุตสองขั้วท่ีมีขาใดขาหนึ่งเป็นขาร่วมของทรานซิสเตอร์น้ัน
เราเรยี กว่าวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์ สามารถแบง่ ได้ 3แบบ คือ

7.1 วงจรคอมมอนเกต (Common Gate) เป็นวงจรทใ่ี ช้ ขาเกต (G) เปน็ ขาร่วมระหว่างอินพุตกับเอาต์พุต โดยมี
ขาซอร์ส (S) เปน็ ขาอินพตุ และมขี าเดรน (D) เปน็ ขาเอาต์พตุ เมื่อเทยี บกับขา G ดงั รูปท่ี 5.9 วงจรคอมมอนเกต

+VDD

RD

Vi C1 S D Vo

C2

RS G

รปู ที่ 7.1 วงจรคอมมอนเกต
คุณสมบตั ิของวงจรคอมมอนเกต

- อินพุตอมิ พีแดนซ์จะมีค่าต่า
- เอาต์พตุ อิมพแี ดนซ์มคี า่ สูง
- สญั ญาณอนิ พุต กบั เอาต์พุตมเี ฟสเหมือนกัน (Inphase)
- ใช้ในวงจรขยายความถีส่ งู เช่น ย่านVHF และ UHF
- อัตราขยายทางด้านแรงดนั ระดบั ปานกลาง
- อัตราขยายกาลงั สูงระดบั ปานกลาง
- อตั ราขยายทางดา้ นกระแสมคี ่าต่ามาก ไม่เกิน 1

7.2 วงจรคอมมอนเดรน (Common Drain) เป็นวงจรทใี่ ช้ ขาเดรน (D) เปน็ ขาร่วมระหว่างอินพุตกับเอาตพ์ ุต

โดยมขี าเกต (G) เปน็ ขาอินพุต และมขี าซอรส์ (S) เป็นขาเอาตพ์ ุต เมือ่ เทยี บกบั ขา D ดังรปู ท่ี 5.10 วงจรคอมเดรน

+VDD

D Vo

Vi G

S
RG RS

รปู ท่ี 5.10 วงจรคอมเดรน

คณุ สมบตั ิของวงจรคอมมอนเดรน
- อินพุตอมิ พีแดนซ์จะมีค่าสงู มาก
- เอาตพ์ ุตอิมพีแดนซ์มคี า่ ต่ามาก
- สัญญาณอนิ พตุ กับเอาต์พุตมีเฟสเหมือนกนั (Inphase)
- อตั ราขยายทางดา้ นแรงดนั ต่ามากอยทู่ ป่ี ระมาณ 0.98 เทา่
- อัตราขยายกาลังสงู ระดบั สงู มาก
- อตั ราขยายทางดา้ นกระแสมคี า่ สูงมาก
- ใช้ในวงจรแมทชง่ิ

7.3 วงจรคอมมอนซอร์ส (Common Source) เป็นวงจรทใ่ี ช้ ขาซอร์ส (S) เปน็ ขารว่ มระหว่างอินพตุ กบั เอาตพ์ ุต
โดยมีขาเกต (G) เป็นขาอินพุต และมขี าเดรน (D) เป็นขาเอาต์พุต เมอื่ เทยี บกบั ขา S ดงั รูปท่ี 5.11วงจรคอมซอรส์

+VDD

C2 Vo
GD
Vi C1

S

RG RS CS

รปู ที่ 5.11 วงจรคอมซอรส์

คุณสมบตั ิของวงจรคอมมอนซอรส์
- อนิ พตุ อิมพีแดนซจ์ ะมคี ่าสูงมาก
- เอาต์พตุ อมิ พีแดนซ์มคี า่ ต่า
- สัญญาณอินพตุ กับเอาต์พุตมเี ฟสตรงข้ามกัน 180 องศา (Out off Phase)
- อตั ราขยายทางด้านแรงดันสูง

- อัตราขยายกาลงั สงู ระดับสูงมาก
- อตั ราขยายทางด้านกระแสมคี า่ สงู มาก
- ใชใ้ นวงจรขยายสัญญาณท่วั ไปเพราะเปน็ วงจรทใ่ี ห้การขยายดีทัง้ แรงดัน กาลงั และกระแส

5. กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 7)

การจัดกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ เร่อื ง วงจรคอมมอนทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้
1) ครูผู้สอนได้กล่าวถึงการจัดวงจรให้กับทรานซิสเตอร์ที่มี 3 ขาและมีลักษณะการทางานเช่นเดียวกับ
ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า และสรปุ ให้นักเรยี นเพือ่ เชอื่ มโยงถึงวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ ที่จะเรียน ใช้
เวลา (10 นาที)
2) ใหผ้ เู้ รียนไดซ้ ักถามขอ้ มูลเพมิ่ เติม ใชเ้ วลา (5นาที)
3) ผู้สอนแจกใบความร้ทู ่ี 7 เรอ่ื งวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ ใชเ้ วลา (5นาท)ี
4) ผู้สอนอธิบายความรจู้ ากใบความรู้ท่ี 7 ในหวั ข้อ 7.1 วงจรคอมมอนเกตใช้เวลา (20 นาท)ี โดยใช้สือ่ จาก
สอ่ื Power point เรอ่ื ง วงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ และจาลองการทางานดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
5) ผู้สอน และผเู้ รยี นรว่ มกันสรุป เรอ่ื งวงจรคอมมอนเกตอกี ครงั้ ใชเ้ วลา (5 นาท)ี
6) ผสู้ อนอธบิ ายความรจู้ ากใบความรทู้ ่ี 7 ในหัวข้อ 7.2 เร่อื งวงจรคอมมอนเดรนใช้เวลา (20 นาที) โดยใช้
สื่อจากส่อื Power point เร่ืองวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ และจาลองการทางานด้วยโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์
7) ผู้สอน และผเู้ รียนรว่ มกันสรปุ เรือ่ งวงจรคอมมอนเดรน อีกครั้ง ใชเ้ วลา (5 นาท)ี
8) ผูส้ อนอธบิ ายความรู้จากใบความรู้ท่ี 7 ในหัวขอ้ 7.3 เร่ืองวงจรคอมมอนซอรส์ ใชเ้ วลา (20 นาท)ี โดยใช้
สือ่ จากสอ่ื Power point เรอื่ งวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ และจาลองการทางานดว้ ยโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์
9) ผสู้ อน และผูเ้ รียนร่วมกนั สรุป เรื่องวงจรคอมมอนซอรส์ อีกคร้ัง ใชเ้ วลา (5 นาท)ี
10) ผู้สอนและผ้เู รยี นชว่ ยกันสรปุ เนื้อหาเรอื่ งวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ อีกครัง้ ใชเ้ วลา
(20นาท)ี
11) ผู้สอนสอนใหน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 3 คนตามความสมคั รใจ
12) ผู้สอนสอนแจกใบงานการทดลองหน่วยที่ 7 เรอ่ื งการวัดและทดสอบคุณสมบตั ิของวงจรคอมมอน
ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้ ให้ผเู้ รียนแต่ละกลุ่ม ใชเ้ วลา (5 นาที)
13) ผ้สู อนอธบิ ายข้นั ตอนการทดลองใบงานการทดลองในหนว่ ยที่ 7 เร่อื งการวดั และทดสอบคณุ สมบตั ิ
ของวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ พร้อมให้คาแนะนา ชแี้ นะ และสงั เกตพฤติกรรมของผเู้ รียนทกุ กลมุ่
โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมที่ 7 ใชเ้ วลา (90 นาท)ี

14) ผู้เรียนแตล่ ะกลุ่ม นาผลการทดลองและสรุปผลการทดลองออกมานาเสนอกลุม่ ละ 3 นาที ใช้เวลา
ทั้งหมด (15 นาที)

15) ผู้สอนร่วมอภปิ รายให้ขอ้ เสนอแนะประเมินผลการทดลองในหนว่ ยที่ 7 เรือ่ งการวัดและทดสอบ
คุณสมบตั ิของวงจรคอมมอนทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้าใช้เวลา (25 นาที)

16) ผสู้ อนเสรมิ คณุ ธรรมด้วยการสอนสอดแทรกเรื่องค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการใช้เวลา (15 นาที)
17 ผู้สอนและผู้เรยี นร่วมกนั สรุปสง่ิ ท่เี รยี นมาท้ังหมด ก่อนทาการแบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยที่ 7 เรือ่ ง
วงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ ใชเ้ วลา (20 นาที)
18) ผูส้ อนเสริมคุณธรรมด้วยการสอนสอดแทรกเร่อื งคา่ นิยมของคนไทย ๑๒ ประการใชเ้ วลา (10 นาที)
19) ผูเ้ รียนช่วยกันทาความสะอาด ปดิ ไฟ ตรวจดคู วามเรยี บรอ้ ยชั้นเรยี นใช้เวลา (5 นาท)ี

6.ส่อื และแหล่งการเรียนรู้

6.1 ใบความรู้หน่วยท่ี 7 เรือ่ งวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้
6.2 ใบงานที่ 7 เร่อื ง การวัดและทดสอบคณุ สมบตั ขิ องวงจรคอมมอนทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า
6.3 แบบทดสอบหนว่ ยท่ี 7 วงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟ้า
6.4 โปรแกรมการจาลองการทางาน

7. หลักฐานการเรยี นรู้

7.1 หลักฐานการเรียนรู้
1) แบบทดสอบหนว่ ยท่ี 7 วงจรคอมมอนทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า
2) ใบงานหนว่ ยท่ี 7เรอื่ ง การวัดและทดสอบคณุ สมบัตขิ องวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์

สนามไฟฟ้า
3) แบบประเมินพฤตกิ รรม
4) แบบสงั เกตการณป์ ฏิบตั ิงาน

7.2 หลักฐานการปฏิบตั งิ าน
1) ใบงานที่ 7 เร่ือง การวัดและทดสอบคณุ สมบัตขิ องวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟ้า
2) แฟม้ สะสมผลงาน

8. การวัดและประเมินผล วิธีการวัด เครื่องมอื ผปู้ ระเมนิ
ครผู สู้ อน
จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ทดสอบ แบบทดสอบหนว่ ยที่
1.อธบิ ายหลักการทางานของ ทดลอง ใบงานหน่วยที่ 7
วงจรคอมมอนเกตได้ถูกต้อง

2. อธิบายหลกั การทางานของ สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรมที่ 7 ครผู ้สู อน
วงจรคอมมอนเดรนได้ถูกต้อง

3. อธิบายหลักการทางานของ
วงจรคอมมอนซอร์สได้ถกู ต้อง

4.ใฝ่หาความรู้ หมนั่ ศึกษาเล่า
เรียน ท้ังทางตรงและทางอ้อม

9.เอกสารอา้ งองิ

พันธ์ศักดิ์ พุฒิมานติ พงศ์. อิเลก็ ทรอนิกสใ์ นงานอตุ สาหกรรม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ซีเอด็ ยูเคชน่ั , 2553

ชยั วฒั น์ ล้มิ พรจติ รวิลัย. คู่มือนกั อเิ ล็กทรอนิกส์.กรงุ เทพฯ : สานักพิมพซ์ ีเอด็ ยูเคช่ัน,

อดลุ ย์ กัลยาแก้ว.อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร(อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์).กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พศ์ ูนยส์ ง่ เสรมิ
อาชวี ะ,2546

สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญป่ี ่นุ ).เทคโนโลยีสารก่งึ ตวั นา.กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ดวงกมลสมัย จากัด

10. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้

10.1 ขอ้ สรปุ หลงั การจัดการเรยี นรู้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10.2 ปญั หาทีพ่ บ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10.3 แนวทางแก้ปัญหา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รายงานการตรวจสอบและอนุญาตใหใ้ ช้

เหน็ ควรอนุญาตใหใ้ ชส้ อนได้
เห็นควรปรับปรงุ เกยี่ วกับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงช่ือ(……………………………………………………………)

หวั หน้าหมวด / แผนกวิชา
…………/……………………………/………………..
เห็นควรอนญุ าตใหใ้ ช้สอนได้
ควรปรับปรุงเกีย่ วกบั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อนื่ ๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงชือ่ (……………………………………………………………)

รองผู้อานวยการฝ่ายวชิ าการ
…………/……………………………/………………..

เหน็ ควรอนุญาตให้ใช้สอนได้
อ่นื ๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงชอื่ (……………………………………………………………)

ผอู้ านวยการวทิ ยาลัยการอาชีพกาญจนบรุ ี
…………/……………………………/………………..

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 8 ชัว่ โมง
จานวน 5
สปั ดาห์ที่ 8

ชอ่ื วิชา อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร
……………..…………………………………………………………………………………….
ชื่อหน่วย เอส. ซ.ี
อาร์.……………………………………………………………………………………………………………………………….
ชอ่ื เรือ่ ง เอส. ซี.
อาร์.…………………………………………………………………………………………………………………………………

1.สาระสาคญั

อุปกรณ์ไทริสเตอร์ (Thyristor) เป็นอุปกรณ์ประเภทสารก่ึงตัวนาท่ีมีโครงสร้างภายในประกอบด้วยสาร P
และ สาร N ต่อเป็นช้ันกัน4 ตอน 3 รอยต่อ อาจจะมีขาใช้งาน 2 ขา 3 ขา หรือ 4 ขา นากระแสหนึ่งทิศทาง หรือ
สองทิศทางก็ได้ ทาหน้าท่ีเป็นสวิตช์ อุปกรณ์ไทริสเตอร์ ที่รู้จักและมีการนาไปใช้งานกันอยา่ งแพรห่ ลายได้แก่ SCR,
TRIAC, DIAC, GTO และ PUT

เอส. ซ.ี อาร์. (SCR) ยอ่ มาจาก Silicon Control Rectifier เป็นอปุ กรณป์ ระเภทไทรสิ เตอร์ ทมี่ ี 4 ตอน 3
รอยตอ่ 3 ขา นากระแสทิศทางเดียว ทาหน้าท่เี ป็นสวิตช์ นยิ มนาไปใช้ในงานอุตสาหกรรม

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

วัดทดสอบคุณลกั ษณะทางไฟฟ้าของเอส. ซี. อาร์.

3. จุดประสงค์การเรียนรปู้ ระจาหนว่ ย

3.1 จดุ ประสงค์ทว่ั ไป
เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในโครงสรา้ ง สัญลักษณ์ คุณลักษณะทางไฟฟ้า การแปลความหมาย

ของคณุ ลกั ษณะทางไฟฟ้า รวมถึงการวัดทดสอบเอส. ซ.ี อาร์. และกจิ นิสยั ในการค้นควา้ ความรเู้ พิ่มเติม

3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / สมรรถนะประจาหนว่ ย
เมือ่ ผู้เรียนเรียนจบในหนว่ ยแลว้ ผูเ้ รียนสามารถ
1. เขยี นโครงสรา้ ง และสัญลกั ษณข์ อง เอส. ซ.ี อาร์ได้
2. อธบิ ายคุณสมบัติของ เอส. ซ.ี อาร์. ตอ่ ไฟกระแสตรงได้
3. อธิบายคุณสมบัติของ เอส. ซี. อาร์. ต่อไฟกระแสสลบั ได้
4. แปลความหมายของคุณลกั ษณะทางไฟฟ้าของเอส.ซี.อาร์.ได้
5. วัดและทดสอบประกอบวงจรเพ่ือหาคณุ สมบตั ิของ เอส. ซี
6. ใฝ่หาความรู้ หมัน่ ศกึ ษาเล่าเรียน ทง้ั ทางตรงและทางอ้อม
7. ร้จู กั ดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารสั ของสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวฯ

รู้จักอดออมไว้ใชเ้ มื่อยามจาเป็น มีไวพ้ อกินพอใช้ ถ้าเหลอื ก็แจกจ่ายจาหน่ายและพร้อมท่ีจะขยายกจิ การเม่ือมีความ
เม่อื มีภูมิคุ้มกันทีด่ ี

4. สาระการเรียนรู้

8.1 โครงสรา้ ง และสญั ลักษณ์ของ เอส. ซี. อาร์.

เอส ซี อาร์ (SCR) ย่อมาจาก Silicon Control Rectifier เป็นอุปกรณ์ประเภทไทริสเตอร์ ท่ีมี 4 ตอน 3

รอยต่อ 3 ขา นากระแสทิศทางเดียว ทาหน้าที่เปน็ สวติ ช์ นิยมนาไปใช้ในงานอตุ สาหกรรม โครงสรา้ งและสัญลกั ษณ์

ของ SCR ดังรูปที่ 8.1 โครงสร้างและสัญลักษณ์ของ SCR จะเห็นว่า SCR มีขาใช้งาน 3ขา คือขาแอโนด (Anode :

A) ขาแคโทด (Cathode : K) และขาเกต (Gate :G)

A : Anode A

G : Gate P G

N
P
N

K : Cathode K

รปู ท่ี 8.1 โครงสร้างและสญั ลักษณ์ของ SCR

8.2. คณุ สมบัติของ เอส. ซี. อาร์. ตอ่ ไฟกระแสตรง
การนา SCR ไปใช้งานกับไฟฟ้ากระแสตรงนั้น โดยทั่วไปนิยมนา SCR ทาเป็นสวิตช์ปิด-เปิดวงจรไฟฟ้าท่ี

จ่ายให้กับโหลดดังรูปท่ี 8.2 วงจร SCR ต่อไฟฟ้ากระแสตรงจะเห็นว่าการจ่ายไฟให้กับ SCR ต้องจ่ายไฟบวก (+)
ให้กับขาแอโนด และจา่ ยไฟลบ(-) ใหก้ ับขาแคโทด และจา่ ยไฟบวก (+) ให้กบั ขาเกต (G) เมอ่ื เทยี บกับขาแคโทด (K)

SW1

SW2 RG IA RL SW1 (ON) และ SW2 (Off)
จะไดว้ า่
+ A + VAK  VAA
- VG GK VAA
IA  0
- SW1 (ON) และ SW2 (ON)
จะไดว้ า่
VAK  0V

IA  0

รปู ที่ 8.2 วงจร เอส. ซ.ี อาร์.ตอ่ ไฟฟ้ากระแสตรง

จากวงจรรูปที่ 8.2 ให้สวิตช์ SW1 (ON) SCR จะยังไม่ทางานคุณสมบัติของ SCR ขณะน้ีมีค่าความต้านทาน
ภายในสูงมากทาให้กระแสไม่สามารถไหลผ่านไปได้ เมื่อมีค่าความต้านทานสูงทาให้แรงดันตกคร่อมตัว SCR (VAK)
ขณะนสี้ ูงดว้ ยประมาณหรอื เทา่ กบั แหล่งจา่ ย (VAA)

ถ้าให้สวิตช์ SW1 และ SW2 (ON) SCR ได้รับการกระตุ้นที่ขาเกต (Trigger) SCR จะทางานนั้นคือตัวมันจะ
นากระแสคุณสมบัติของ SCR ขณะน้ีมีค่าความต้านทานภายในลดลงมากทาให้กระแสสามารถไหลผ่านตัวมันไปได้
เมื่อคา่ ความตา้ นทานในตวั มนั ลดลงมากทาให้แรงดันตกคร่อมตวั SCR (VAK) ขณะน้ีลดลงประมาณ หรอื เทา่ กับศูนย์
(0V) และขณะท่ี SCR นากระแสอยู่น้ัน ถ้าเราให้ SW2 (Off) SCR จะยังคงนากระแสอยู่นี้คือคุณสมบัติของ SCR ที่
บอกว่า SCR ทางานแล้วทางานเลย การทาให้ SCR หยุดนากระแสนั้นในวงจรรูปท่ี8.2 คือการตัดสวิตช์หรือ SW1
(Off) หรือการตดั แหลง่ จา่ ยน้ันเอง

8.2.1 วงจรประยุกต์ใช้งานของ SCR ต่อไฟกระแสตรง SCR เม่ือนาไปใช้กับไฟฟ้ากระแสตรง จะทาหน้าที่

เป็นสวิตช์ในการตัดต่อวงจรท่ีสามารถควบคุมการเปิดได้ โดยมีขาแอโนด (A) และแคโทด (K) เป็นสวิตช์ในการตัด
ต่อส่วนขาเกต (G) เป็นขาควบคุมในการเปิด นิยมนาไปใช้ในวงจรสวิตช์ท่ีต้องการกาลังไฟสูงๆแทนสวิตช์ทางกล

ข้อดีของการนา SCR ไปใช้งานเป็นสวิตช์แทนสวิตช์ทางกลน้ันมีข้อดีด้วยกันหลายข้อเช่น มีความเร็วในการเป็น

สวิตช์สงู ไม่มีการอารค์ ของหน้าสัมผัสเพราะ SCR ไม่มีหนา้ สมั ผัส และสามารถควบคมุ การเปดิ ได้ ตัวอย่างวงจรใช้
งาน SCR ต่อไฟกระแสตรง รูปที่ 8.3 วงจรกันขโมย SCR จะทาหนา้ ทเี่ ป็นสวิตช์ควบคุมการทางานของไซเรนให้ดัง

ขนึ้ เมอ่ื เกิดปัญหาขึน้ ตามเง่อื นไขทีก่ าหนดไว้ในวงจร

SW 1

SW 4 SW 3 SW 2 D1

A +
R1 VAA
-
G
K

R2

รูปที่ 8.3 วงจรกันขโมย
จากวงจรรปู ที่ 8.3 เปน็ วงจรกนั ขโมย โดย SW1 ทาหนา้ ทจ่ี ่ายไฟใหก้ บั วงจร SW2 , SW3 1และ SW4 เป็นสวิตช์
ขนาดเล็กท่ีนาไปติดตามประตู หน้าต่าง หรือจุดที่ต้องการจะทาการตรวจจับ R1 และ R2 ต่อกันในลักษณะแบ่ง
แรงดัน (Voltage Divider) เพื่อกาหนดแรงดันบวกไปกระตุ้นขาเกตของ SCR ส่วนไดโอด D1 ทาหน้าที่ป้องกันการ
เกดิ แรงเคลื่อนย้อนกลบั

เม่ือให้ SW1 (ON) วงจรจะยังไม่ทางานคุณสมบัติของ SCR ขณะน้ีมีค่าความต้านทานภายในสูงมาก ทาให้
กระแสไม่สามารถไหลผ่านตวั มันได้ ตอ่ เม่อื SW2 , SW3 และ SW4 ตวั ใดตวั หนึง่ ต่อวงจร จะมีแรงดนั บวกมากระตุ้นขา
เกตของ SCR ทาให้เอส ซี อาร์ ทางานมีกระแสไหลผ่านวงจรไซเรนดังข้ึน และจะดังตลอดถึงแม้จะมีการตัดวงจร

สวิตช์ SW2 , SW3 และ SW4 ก็ตาม SCR จะยังคงทางาน จะให้ SCR หยุดทางานต้องทาการตัดแหล่งจ่ายน้ันคือ SW1

(Off)

8.3. คณุ สมบัติของ เอส. ซี. อาร์. ตอ่ ไฟกระแสสลับ

SCR เมื่อนาไปใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ จะทาหน้าที่เป็นวงจรเร็กติไฟเออร์ (Rectifier) หรือวงจรเรียง

กระแส ทส่ี ามารถควบคุมได้ จากวงจรรปู ที่ 8.4 SCR ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั

SW1 V+AC + + + t
t
0 - - t
t
A RL V-+G
GK
0

SW2 RG VAC -+

+ V0RL
- VG
V+A-0-K

-

รปู ท่ี 8.4 SCR ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

จากวงจรรปู ที่ 8.4 SCR ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับเม่ือ ON SW1 และ ON SW2 แรงดันไฟสลับ+VAC เขา้ มา
ทาให้ SCR นากระแส เม่ือ SCR นากระแสคุณสมบตั ิของ SCR ขณะน้ีมีค่าความตา้ นทานภายในต่าทาให้แรงดันตก
ครอ่ มต่าตามไปดว้ ย ในท่นี ี้ VAK  0V แรงดนั จากแหลง่ จา่ ย+VAC ไปตกคร่อมที่โหลด VRL  VAC และเม่ือแรงดนั
+VAC ตกลงมาเป็น 0V ทาให้ SCR หยดุ นากระแส จึงจาเปน็ ต้องป้อนแรงดนั บวกให้กับขา G เมื่อเทียบกบั ขา K
ตลอดเวลา

เมอ่ื -VAC เข้ามาทาให้ SCR ไม่นากระแส เมือ่ SCR ไม่นากระแสคณุ สมบตั ิของ SCR ขณะนี้มคี ่าความ
ต้านทานภายในสูงมากทาให้แรงดันตกคร่อมสูงตามไปด้วยแต่เปน็ แรงดันทางด้านลบในที่นี้ VAK  VAC ทาให้ท่ี
โหลดไม่มีแรงดนั VRL  0V

จากวงจรรูปท่ี 8.4 SCR ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับจะเห็นว่า SCR นากระแสเพียงทิศทางเดียวเม่ือได้รับ
แรงดันท่ีเป็นช่วงบวกของไฟฟ้ากระแสสลับเท่าน้ัน และต้องป้อนแรงดันบวกให้กับขา G ของ SCR ตลอดเวลา
ดงั นน้ั ถ้าต้องการนา SCR ไปใชเ้ ปน็ วงจรเรียงกระแสที่สามารถควบคมุ ได้ต้องควบคุมการทางานท่ีขา G ของ SCR

8.3.1 การใช้ เอส ซี อาร์ ควบคุมการทางานของแรงดันไฟสลับ เนื่องจาก SCR นากระแสเพียงทิศทาง
เดียว ดังน้ันคุณสมบัติของ SCR ต่อแรงดันไฟสลับจะถูกตัดแรงดันไปซกหนึ่งคือแรงดันท่ีเป็นลบ (-VAC ) ทาให้เกิด
การสูญเสียกาลังไฟฟ้าที่จะไปขับโหลดครึ่งหน่ึงของแรงดันทาให้เป็นการสูญเสยี ที่มากจนเกินไป จึงจาเป็นท่ีจะต้อง
แก้ปัญหาท่ีจะทาให้เกิดการสูญเสียน้อยท่ีสุด ซ่ึงสามารถทาได้โดยการจัดวงจรให้ SCR เสียใหม่ซ่ึงสามารถทาได้ 2
ลักษณะดังน้ีคือ ต่อไดโอดขนานกับ SCR เรียกว่าวงจรควบคุมเฟสแบบครึ่งคลื่น และต่อ SCR ขนานกันสองตัวใน
วงจรการทางาน เรยี กว่าวงจรควบคุมเฟสแบบเต็มคล่นื

8.3.1.1 วงจรควบคุมเฟสแบบคร่ึงคลื่น เป็นการควบคุมเฟสของแรงดันไฟสลับแบบคร่ึงเดียวโดย
ใช้ SCR เพยี งตวั เดียว ต่อขนานกับไดโอดดังรปู ที่ รูปท่ี 8.5 วงจรควบคมุ เฟสแบบครงึ่ คลื่น

รูปที่ 8.5 วงจรควบคุมเฟสแบบคร่งึ คลนื่
จากรูปที่ 8.5 วงจรควบคุมเฟสแบบคร่ึงคลื่นโดยใช้ SCR กับไดโอดต่อขนานกันเป็นวงจรเรียงกระแส โดย
ไดโอด D1 เปน็ ตัวกาหนดแรงดันซีกลบให้กับโหลด RL สว่ น SCR กาหนดแรงดนั ซีกบวกให้กบั โหลด RL ดังรูปที่ 8.5
และสามารถควบคมุ เฟสการทางานไดจ้ ากเวลาในการปอ้ นแรงดนั จุดฉนวนให้กบั ขา G

8.3.1.2 วงจรควบคุมเฟสแบบเต็มคลื่น เป็นการต่อ SCR ขนานแต่กลับทิศทางกัน ทาให้สามารถ
ควบคุมเฟสได้ท้ังซีกบวกและซกี ลบ ดังรปู ทร่ี ปู ท่ี 8.6 วงจรควบคมุ เฟสแบบเตม็ คล่ืน

รปู ท่ี 8.6 วงจรควบคมุ เฟสแบบเต็มคลื่น

จากรูปท่ี 8.6 วงจรควบคุมเฟสแบบเต็มคล่ืน ต่อ SCR ขนานแต่กลับทิศทางกัน ทาให้สามารถควบคุมเฟส
ได้ทั้งซีกบวกและซีกลบ โดย SCR1 ทางานในแรงดันไฟสลับซีกบวกท่ีถูกควบคุมเฟสการทางานไปจ่ายแรงดันตก

คร่อมโหลด RL ส่วน SCR2 ทางานในแรงดันไฟสลับซีกลบท่ีถูกควบคุมเฟสการทางานไปจ่ายแรงดันตกคร่อมโหลด
RL และการควบคุมเฟสของแรงดันในแต่ละซีก สามารถควบคุมเฟสการทางานได้จากเวลาในการป้อนแรงดันจุด
ฉนวนใหก้ บั ขา G

8.4. การแปลความหมายของคณุ ลักษณะทางไฟฟา้ ของเอส.ซี.อาร์.
SCR ทผี่ ลิตออกมาใช้งานมีมากมายหลายแบบ หลายเบอร์ และอตั ราทนกาลังในการทางานก็ตา่ งกันดังรูป

ที่ 8.7 ตัวอยา่ งรปู รา่ งของ SCR ดังน้ันผูผ้ ลิตจึงต้องจัดทารายละเอยี ดของSCR ในแตล่ ะเบอรไ์ ว้ เพือ่ ให้เลอื กนาไปใช้
งานได้อย่างถูกต้องดังตัวอย่างตามรูปท่ี 8.8 ข้อมูล รูปร่าง ตาแหน่งขา และรายละเอียดคุณสมบัติของSCR เบอร์
S4010L

Scr-Module-Mtc-90a Capsual-40 stud

To-92 To-65 To -218

To-225AA To-220 To-251AA

รปู ท่ี 8.7 ตวั อย่างรปู ร่างขง SCR

SCR - Single Discrete Semiconductor Product 10A 400V Littelfuse / Teccor Brand Thyristors

Standard Recovery S4010L

NON-SENSITIVE GATE 10.0A 400V - S4010L - Discrete Semiconductor Products

Technical/Catalog Information S4010L

Vendor Littelfuse / Teccor Brand
Thyristors

Category Discrete Semiconductor Products

SCR Type Standard Recovery

Voltage - Off State 400V

Current - On State (It (RMS)) (Max) 10A

Current - On State (It (AV)) (Max) 6.4A

Current - Gate Trigger (Igt) (Max) 15mA

Current - Hold (Ih) (Max) 30mA

Current - Non Rep. Surge 50, 60Hz (Itsm) 83A, 100A

Voltage - Gate Trigger (Vgt) (Max) 1.5V

Mounting Type Through Hole

Package / Case TO-220-3 Isolated Tab

Packaging Bulk

Lead Free Status Lead Free

RoHS Status RoHS Compliant

รปู ท่ี 8.8 ขอ้ มลู รูปรา่ ง ตาแหนง่ ขา และรายละเอยี ดคณุ สมบัตขิ องSCR เบอร์S4010L

8.5 วัดและทดสอบ เอส. ซี. อาร์.
ในการใชม้ ลั ตมิ เิ ตอรเ์ พอ่ื การวัดทดสอบ เอส ซี อาร์ สามารถทาการวดั ได้สองลักษณะคือ
8.5.1 การวัดหาขาของ เอส ซี อาร์
1) ต้งั มัลติมิเตอรย์ า่ นการวดั R x 1 หรือ R x 10

2) มลั ติมิเตอร์ทใี่ ชถ้ ้าขวั้ ภายในกับภายนอกไมต่ รงกันให้ทาการสลบั สายเพื่อใหง้ ่ายต่อการจา
3) ใช้มัลติมิเตอร์ตรวจหาขา แคโทด (K) กับขาเกท (G) เพราะถ้าดูจากโครงสรา้ งแล้วเสมอื นเรา
วัดไดโอด ดงั นน้ั คนู่ ้จี ะวัดข้นึ เชน่ เดยี วกับไดโอด น้นั คือขณะจา่ ยไบอัสตรงจะมีค่าความต้านทานน้อย และถ้าไฟบวก
จบั ขาไหนขานน้ั เปน็ ขาเกต ไฟลบจบั เปน็ ขาแคโทด ที่เหลือเป็นขา แอโนด (A)

รปู ที่ 8.9 การวดั หาขาของ เอส ซี อาร์

8.5.2 การวัดทดสอบ เอส ซี อาร์ วา่ ดหี รือเสยี หลังจากท่ีเราทราบตาแหน่งขาของ เอส ซี อาร์ แลว้ ใหท้ า
การทดสอบ เอส ซี อาร์ ดังน้ี

1) ใช้มลั ตมิ ิเตอรจ์ ับตาแหน่งขา K (-) กบั G (+) เขม็ มเิ ตอร์ขนึ้ ที่ค่าความตา้ นทานตา่ ดังรูปท่ี8.10
การวดั ตาแหนง่ ขา K กับ ขา G

-+ K A
G

รูปท่ี8.10
2) คอ่ ยๆเล่ือนสายวดั บวกแตะขา Aขณะท่ีสายวดั บวก ยงั ไมป่ ลดออกจาขา G ดังรปู ท่ี 8.11

-+ K A
G

รูปท่ี 8.11
3) เม่ือสายวดั บวกแตะขา A แล้ว ให้สายวัดสว่ นที่แตะขา G ออก เข็มมเิ ตอร์ยังคงอยูต่ าแหน่ง
เดิม นั้นหมายถึง เอส ซี อาร์ ดี ดังรปู ท่ี 8.12

-+ K A
G

รปู ที่ 8.12

5. กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 8)

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ เรื่อง เอส. ซี. อาร์.

1) ครูผู้สอนได้สาธิตการทางานของเอส ซี อาร์ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอดังรูปและ
สรปุ ใหน้ กั เรียนเพ่อื เช่อื มโยงถงึ เอส ซี อาร์ ทจ่ี ะเรียน ใชเ้ วลา (10 นาท)ี

+ Trigger RL

- LED

2) ให้ผเู้ รียนไดซ้ ักถามขอ้ มูลเพิม่ เติม ใชเ้ วลา (5นาที)

3) ผูส้ อนช้ีแจงจดุ ประสงค/์ สมรรถนะ การเรยี นรู้เร่ืองเอส ซี อาร์ และเกณฑก์ ารวัดผลในหน่วยท่ี 8 เรอื่ ง
เอส ซี อาร์ ให้ผู้เรียนได้ทราบใชเ้ วลา (5นาที)

4) ผู้สอนแจกใบความรทู้ ่ี 8 เรือ่ ง เอส ซี อาร์ ใชเ้ วลา (5นาท)ี

5) ผูส้ อนอธิบายความรจู้ ากใบความรูท้ ี่ 8 ในหัวข้อ 8.1โครงสรา้ ง และสญั ลักษณข์ อง เอส. ซี. อาร์ใชเ้ วลา
(10 นาท)ี โดยใช้สื่อจากสอ่ื Power point เรื่อง เอส ซี อาร์

6) ผสู้ อน และผเู้ รยี นรว่ มกันสรุป เรอ่ื งโครงสรา้ ง และสัญลักษณ์ของ เอส. ซี. อาร์อีกครง้ั ใช้เวลา (5 นาท)ี

7) ผสู้ อนอธบิ ายความรูจ้ ากใบความรทู้ ี่ 8 ในหัวข้อ 8.2 เรอ่ื งคุณสมบตั ขิ อง เอส. ซี. อาร์. ต่อไฟกระแสตรง
ใช้เวลา (25 นาที) โดยใช้สื่อจากส่อื Power point เร่อื งเอส. ซ.ี อาร์. และจาลองการทางานดว้ ยโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์

8) ผูส้ อน และผเู้ รียนรว่ มกันสรปุ เรื่องคณุ สมบัตขิ อง เอส. ซ.ี อาร์. ต่อไฟกระแสตรงอกี ครงั้ ใช้เวลา (5
นาท)ี

9) ผสู้ อนอธบิ ายความรจู้ ากใบความร้ทู ี่ 8ในหัวข้อ 8.3 เรื่องคณุ สมบตั ิของ เอส. ซ.ี อาร์. ตอ่ ไฟกระแสสลับ
ใช้เวลา (25 นาท)ี โดยใช้ส่ือจากส่อื Power point เร่อื งเอส. ซ.ี อาร์. และจาลองการทางานดว้ ยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์

10) ผู้สอน และผูเ้ รียนรว่ มกันสรุป เรอ่ื งคุณสมบัติของ เอส. ซี. อาร์. ต่อไฟกระแสสลบั อกี ครัง้ ใช้เวลา (5
นาท)ี

11) ผู้สอนอธบิ ายความรู้จากใบความรทู้ ี่ 8ในหวั ขอ้ 8.4 เรื่องการแปลความหมายของคุณลักษณะทาง
ไฟฟา้ ของเอส.ซ.ี อาร์.โดยใช้สื่อจากสื่อ Power point เร่ืองเอส. ซ.ี อาร์.ใช้เวลา (10 นาท)ี

12) ผสู้ อน และผ้เู รยี นร่วมกนั สรปุ เร่อื งการแปลความหมายของคณุ ลักษณะทางไฟฟา้ ของเอส.ซี.อาร์.

อกี คร้ัง ใชเ้ วลา (5 นาที)

13) ผสู้ อนสอนใหน้ ักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 3 คนตามความสมคั รใจ

14) ผู้สอนสอนแจกใบงานการทดลองหนว่ ยที่ 8 เรอ่ื งการวัดและทดสอบคุณสมบตั ิของเอส. ซี. อาร์.ให้
ผู้เรยี นแต่ละกลุ่ม ใชเ้ วลา (5 นาที)

15) ผู้สอนอธบิ ายขัน้ ตอนการทดลองใบงานการทดลองในหนว่ ยท่ี 8 เร่ืองการวัดและทดสอบคุณสมบตั ิ
ของเอส. ซ.ี อาร์. พร้อมให้คาแนะนา ช้แี นะ และสังเกตพฤตกิ รรมของผ้เู รียนทุกกล่มุ โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมที่
8 ใชเ้ วลา (90 นาที)

16) ผู้เรยี นแต่ละกลมุ่ นาผลการทดลองและสรปุ ผลการทดลองออกมานาเสนอกลุ่มละ 3 นาที ใช้เวลา
ทั้งหมด (15 นาท)ี

17) ผสู้ อนกบั ผเู้ รียนรว่ มกันอภปิ รายและให้ข้อเสนอแนะประเมินผลการทดลองในหน่วยท่ี 8 เร่อื งการวดั
และทดสอบคณุ สมบตั ขิ องเอส. ซ.ี อาร์. ใชเ้ วลา (20 นาท)ี

18) ผูส้ อนเสรมิ คณุ ธรรมด้วยการสอนสอดแทรกเรอื่ งค่านยิ มของคนไทย ๑๒ ประการใชเ้ วลา (10 นาท)ี

19 ผสู้ อนและผ้เู รียนร่วมกันสรุปสิง่ ที่เรยี นมาท้ังหมด ก่อนทาการแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่ 8 เรอื่ ง
เอส. ซ.ี อาร์. (20 นาที)

20) ผเู้ รียนชว่ ยกันทาความสะอาด ปิดไฟ ตรวจดคู วามเรียบรอ้ ยชน้ั เรียนใช้เวลา (5 นาที)

6.ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้

6.1 ใบความรู้หน่วยที่ 8 เรอ่ื งเอส. ซี. อาร์.
6.2 ใบงานที่ 8 เรือ่ ง การวดั และทดสอบคณุ สมบตั ขิ องเอส. ซ.ี อาร์.
6.3 แบบทดสอบหน่วยท่ี 8 เอส. ซ.ี อาร์.
6.4 โปรแกรมการจาลองการทางาน

7. หลกั ฐานการเรยี นรู้

7.1 หลักฐานการเรยี นรู้
1) แบบทดสอบหน่วยที่ 8 เอส. ซี. อาร์.
2) ใบงานท่ี 8เรือ่ ง การวดั และทดสอบคณุ สมบตั ิของเอส. ซ.ี อาร์.
3) แบบประเมนิ พฤตกิ รรม
4) แบบสังเกตการณป์ ฏิบัติงาน

7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ตั งิ าน
1) ใบงานท่ี 8 เรอื่ ง การวดั และทดสอบคุณสมบตั ขิ องวงจรคอมมอนทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้
2) แฟ้มสะสมผลงาน

8. การวัดและประเมินผล วธิ ีการวดั เครอ่ื งมอื ผู้ประเมิน
1.ทดสอบ ครผู ูส้ อน
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม -แบบทดสอบที่8
1.บอกโครงสร้างและ
สญั ลักษณข์ องเอส. ซ.ี อาร์.ได้
ถกู ต้อง
2. อธิบายคณุ สมบตั ิของ เอส.
ซ.ี อาร์. ตอ่ ไฟกระแสตรงได้
ถกู ต้อง
3. อธบิ ายคุณสมบตั ิของ เอส.
ซ.ี อาร์. ตอ่ ไฟกระแสสลับได้
ถูกต้อง

4.การแปลความหมายของ 1.อ่ า น ค่ า จ า ก Datasheet ครูผู้สอน
คณุ ลักษณะทางไฟฟา้ ของเอส. อุ ป ก ร ณ์ จ ริ ง แ ล ะ
ซ.ี อาร์.ไดถ้ ูกตอ้ ง ตารางจาก ใบงานการทดลองหน่วยท่ี 8
Datasheet -แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน-
5. วดั และทดสอบไดโอด แบบสงั เกตพฤติกรรม
ถูกต้อง 1.ต ร ว จ ผ ล ก า ร
ปฏบิ ตั ิงาน
2.สั ง เ ก ต ก า ร ณ์
ปฏบิ ัติงาน

9.เอกสารอา้ งอิง

พนั ธ์ศักดิ์ พฒุ ิมานติ พงศ์. อิเลก็ ทรอนิกส์ในงานอตุ สาหกรรม. กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พซ์ ีเอด็ ยเู คช่นั , 2553
ชยั วัฒน์ ล้ิมพรจิตรวิลัย. คู่มือนกั อเิ ล็กทรอนิกส์.กรุงเทพฯ : สานกั พิมพซ์ ีเอด็ ยเู คช่ัน,
อดุลย์ กลั ยาแก้ว.อปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร(อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส)์ .กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พศ์ นู ย์สง่ เสริม

อาชวี ะ,2546
สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ุ่น).เทคโนโลยสี ารกึ่งตวั นา.กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท ดวงกมลสมัย จากัด

10. บันทึกผลหลังการจดั การเรียนรู้

10.1 ข้อสรปุ หลงั การจดั การเรยี นรู้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10.2 ปญั หาทพี่ บ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10.3 แนวทางแก้ปัญหา

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รายงานการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้

เหน็ ควรอนุญาตให้ใช้สอนได้

เห็นควรปรับปรงุ เกย่ี วกับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงช่ือ(……………………………………………………………)

หวั หน้าหมวด / แผนกวิชา
…………/……………………………/………………..
เหน็ ควรอนญุ าตใหใ้ ช้สอนได้
ควรปรบั ปรุงเกี่ยวกบั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อนื่ ๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงชือ่ (……………………………………………………………)

รองผอู้ านวยการฝ่ายวชิ าการ
…………/……………………………/………………..
เห็นควรอนญุ าตใหใ้ ช้สอนได้
อ่ืนๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงชอื่ (……………………………………………………………)

ผูอ้ านวยการวิทยาลยั การอาชีพกาญจนบรุ ี
…………/……………………………/………………..

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 9 ชวั่ โมง
จานวน 5
ชอื่ วิชา อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร สัปดาหท์ ่ี 9
……………..…………………………………………………………………………………….

ช่ือหน่วย ไตร
แอก…………………………………………………………………………………………………………………………………….
ชือ่ เรื่อง ไตร
แอก………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.สาระสาคัญ

ไตรแอก (TRIAC) เป็นอุปกรณ์สารก่งึ ตวั นาประเภทไทรสิ เตอร์ (Thyristor) ที่ถกู พฒั นาข้นึ มาใช้งานกบั
แรงดันไฟสลบั ท่ีสามารถทางานได้ท้ังช่วงบวก (+) และชว่ งลบ (-) แทน SCR ที่เวลาใชง้ านในไฟสลับต้องใชถ้ ึงสองตัว
ในการต่อกลบั หัวกันทาให้เกิดความยงุ่ ยากในการต่อใชง้ าน นอกจากนั้นคณุ สมบตั ิของไตรแอกต่อไฟกระแสตรงจะมี
คุณสมบตั ิการทางานเชน่ เดยี วกบั SCR การนาไตรแอกไปใช้งานในไฟสลับมกั จะใชค้ วบคู่กับไดแอก (DIAC)

2. สมรรถนะประจาหน่วย

วดั ทดสอบคุณลกั ษณะทางไฟฟ้าของไตรแอก

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ประจาหน่วย

3.1 จุดประสงค์ทั่วไป
เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในโครงสร้าง สัญลักษณ์ คุณลักษณะทางไฟฟ้า การแปลความหมาย

ของคณุ ลกั ษณะทางไฟฟ้า รวมถึงการวดั ทดสอบไตรแอก และกิจนิสยั ในการค้นควา้ ความรู้เพ่ิมเตมิ
9.2
9.3 วงจรใช้งานของไตรแอก
9.4 การแปลความหมายของคณุ ลักษณะทางไฟฟา้ ของ ไตรแอก
9.5 การวัด และทดสอบคุณสมบตั ขิ องไตรแอก

3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม / สมรรถนะประจาหนว่ ย
เม่ือผเู้ รียนเรยี นจบในหน่วยแลว้ ผ้เู รียนสามารถ
1. เขียนโครงสรา้ ง และสญั ลักษณข์ อง ไตรแอกได้
2. อธิบายคุณสมบัติของไตรแอกต่อไฟกระแสตรงได้
3. อธบิ ายคุณสมบัติของ ของไตรแอกต่อไฟกระแสสลับได้
4. แปลความหมายของคุณลกั ษณะทางไฟฟ้าของไตรแอกได้
5. วัดและทดสอบประกอบวงจรเพอื่ หาคุณสมบัติของ ไตรแอกได้
6. ใฝห่ าความรู้ หมนั่ ศึกษาเล่าเรยี น ทั้งทางตรงและทางอ้อม
7. รจู้ ักดารงตนอย่โู ดยใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดารสั ของสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวฯ

ร้จู กั อดออมไวใ้ ชเ้ มื่อยามจาเป็น มไี ว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจา่ ยจาหนา่ ยและพร้อมท่ีจะขยายกจิ การเม่ือมีความ
เม่ือมีภมู ิคมุ้ กนั ทีด่ ี

4. สาระการเรยี นรู้

9.1 โครงสรา้ งและสัญลักษณข์ อง ไตรแอก
ไตรแอก (TRIAC) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนาประเภทไทริสเตอร์ (Thyristor) ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใช้งานกับ

แรงดันไฟสลับท่ีสามารถทางานได้ท้ังช่วงบวก (+) และช่วงลบ (-) แทน SCR ที่เวลาใช้งานในไฟสลับต้องใช้ถึงสอง
ตัวในการต่อกลับหัวกันทาให้เกิดความยงุ่ ยากในการต่อใช้งาน นอกจากนั้นคุณสมบัติของไตรแอกต่อไฟกระแสตรง
จะมคี ุณสมบตั ิการทางานเช่นเดยี วกบั SCR การนาไตรแอกไปใชง้ านในไฟสลับมักจะใช้ควบคู่กบั ไดแอก (DIAC) ไตร
แอกผลิตมาจากสารก่ึงตัวนาชนิดซิลิคอน(Si) โครงสร้างของไตรแอกดังรูปที่ 9.1 โครงสร้างและสัญลักษณ์
ของไตรแอก ประกอบด้วยสารก่ึงตวั นา 3 ตอนใหญ่ PNP และมสี ารก่ึงตวั นาตอนเล็กชนิด N อยู่ 3 ตอน วางอยู่
บนสาร P มีขาตอ่ ใชง้ าน 3 ขา คือ

ขาแอโนด 1(Anode :A1) หรืออาจเรียกว่าขาเมนเทอรม์ นิ อล 1 ( Main Terminal 1: MT1 )
ขาแอโนด 2(Anode :A2) หรอื อาจเรียกวา่ ขาเมนเทอรม์ นิ อล 2 ( Main Terminal 2: MT2 )
ขาเกต (Gate :G)

MT2 A2 A2 MT2

NP G
N A1 MT1

N PN

G A1 MT1

รปู ที่ 9.1 โครงสร้างและสญั ลักษณ์ของไตรแอก

9.2 คณุ สมบัตขิ อง ไตรแอกตอ่ ไฟกระแสตรง
ไตรแอกสามารถนาไปใช้งานได้ท้ังไฟกระแสตรงและกระแสสลับ คือสามารถนากระแสไฟตรงได้ท้ังไฟบวก

และไฟลบ ส่วนกระแสสลับสามารถทาได้ท้ังรอบคล่ืน หรือท้ัง2 ซีกของแรงดันไฟสลับ การทางานของไตรแอกถูก
ควบคุมด้วยแรงดันจุดฉนวนกระตุ้นที่ขา G ทาให้ไตรแอกสามารถทางานได้เช่นเดียวกับ SCR แต่เน่ืองจากไตรแอก
สามารถนากระแสได้ทั้งบวกและลบจึงสามารถจัดวงจรในการทางานให้กับไตรแอกได้ 4 สภาวะ (4 Quadrant) ดัง
รปู ท่ี 9.2 สภาวะการทางานของไตรแอก

รูปที่ 9.2 สภาวะการทางานของไตรแอก
สภาวะที่ 1 หรือ Quadrant1 :Q1 จ่ายแรงดันไฟบวก (+)ให้กับขา A2 และจ่ายแรงดันไฟลบ(-)ให้กับขาA1 และ
จ่ายแรงดันบวก (+)ให้กับขา G เมื่อเทียบกับขา A1 ไตรแอกจะทางานได้ก็ต่อเมื่อแรงดัน +VGG ไปกระตุ้นที่ขา G
ของไตรแอกทาให้ไตรแอกทางานเกิดกระแส IG ไหลจากขา G ไปยังขา A1ครบวงจร และกระแส IA ไหลจาก +VAA
ไปยังขา A2 ผ่านตัวไตรแอกไปยังขา A1ครบวงจรที่ -VAA ขณะน้ีไตรแอกทางาน จากวงจรสภาวะ Q1 จะเห็นว่าทิศ
ทางการไหลของกระแส IG และ IA มีทิศทางเสริมกันหรือกระแสรวมกัน ส่งผลให้ IA ไหลในวงจรเพ่ิมข้ึนทาให้ไตร
แอกทางานได้ดี

สภาวะท่ี 2 หรือ Quadrant2 :Q2 จ่ายแรงดันไฟบวก (+)ให้กับขา A2 และจ่ายแรงดันไฟลบ(-)ให้กับขาA1 และ
จ่ายแรงดันลบ (-)ให้กับขา G เม่ือเทียบกับขา A1 ไตรแอกจะทางานได้ก็ต่อเมื่อแรงดัน -VGG ไปกระตุ้นที่ขา G ของ
ไตรแอกทาใหไ้ ตรแอกทางานเกิดกระแส IG ไหลจากขา A1ไปยังขา G ครบวงจร และกระแส IA ไหลจาก +VAA ไปยัง
ขา A2 ผ่านตัวไตรแอกไปยังขา A1ครบวงจรท่ี -VAA ขณะน้ีไตรแอกทางาน จากวงจรสภาวะ Q2 จะเห็นว่าทิศ
ทางการไหลของกระแส IG และ IA มีทิศทางหักล้างกันหรือกระแสสวนทางกัน ส่งผลให้ IA ไหลในวงจรลดลงทาให้
ไตรแอกทางานไดไ้ มด่ ี

สภาวะที่ 3 หรือ Quadrant3 :Q3 จ่ายแรงดันไฟลบ (-)ให้กับขา A2 และจ่ายแรงดันไฟบวก(+)ให้กับขาA1 และ
จ่ายแรงดันลบ (-)ให้กับขา G เม่ือเทียบกับขา A1 ไตรแอกจะทางานได้ก็ต่อเม่ือแรงดัน -VGG ไปกระตุ้นท่ีขา G ของ
ไตรแอกทาใหไ้ ตรแอกทางานเกดิ กระแส IG ไหลจากขา A1ไปยังขา G ครบวงจร และกระแส IA ไหลจาก +VAA ไปยัง
ขา A1 ผ่านตัวไตรแอกไปยังขา A2ครบวงจรที่ -VAA ขณะน้ีไตรแอกทางาน จากวงจรสภาวะ Q3 จะเห็นว่าทิศ
ทางการไหลของกระแส IG และ IA มีทิศทางเสริมกันหรือกระแสรวมกัน ส่งผลให้ IA ไหลในวงจรเพิ่มขึ้นทาให้ไตร
แอกทางานไดด้ ี

สภาวะท่ี 4 หรือ Quadrant4 :Q4 จ่ายแรงดันไฟลบ (-)ให้กับขา A2 และจ่ายแรงดันไฟบวก(+)ให้กับขาA1 และ
จ่ายแรงดันบวก (+)ให้กับขา G เมื่อเทียบกับขา A1 ไตรแอกจะทางานได้ก็ต่อเมื่อแรงดัน +VGG ไปกระตุ้นที่ขา G
ของไตรแอกทาให้ไตรแอกทางานเกิดกระแส IG ไหลจากขา Gไปยังขา A1 ครบวงจร และกระแส IA ไหลจาก +VAA
ไปยังขา A2 ผ่านตัวไตรแอกไปยังขา A1ครบวงจรที่ -VAA ขณะนี้ไตรแอกทางาน จากวงจรสภาวะ Q2 จะเห็นว่าทิศ
ทางการไหลของกระแส IG และ IA มีทิศทางหักล้างกันหรือกระแสสวนทางกัน ส่งผลให้ IA ไหลในวงจรลดลงทาให้
ไตรแอกทางานได้ไมด่ ี ถึงแมว้ า่ ไตรแอกทางานได้ทั้งไฟตรงบวกและไฟตรงลบในทกุ ขาของไตรแอก แตใ่ นการนาไตร
แอกไปต่อใช้งานควรเลือกคุณสมบัติของวงจรในสภาวะท่ีไตรแอกสามารถนากระแสได้ดี นน้ั คือกระแส IG และ IA มี
ทิศทางเสริมกัน หรือกระแสรวมกันส่งผลให้ IA ไหลในวงจรเพ่ิมข้ึน จากสภาวะการทางานทั้ง 4 สภาวะ จะเห็นว่า
สภาวะที่ 1 และสภาวะที่ 3 เป็นวงจรที่ไตรแอกทางานได้ดี

9.3 คณุ สมบตั ขิ อง ไตรแอกตอ่ ไฟกระแสสลับ
เนื่องจากไตรแอกถูกออกแบบมาให้ทางานกับแรงดันไฟสลับได้ดีทั้งแรงดันช่วงบวกและช่วงลบ ทาให้

แรงดนั ไฟสลบั ที่ไหลผ่านไตรแอกออกเอาต์พุตได้ท้ังไฟซีกบวกและไฟซีกลบ ทาให้สามารถควบคุมเฟสของแรงดันไฟ
สลบั ได้โดยการควบคมุ แรงดนั ท่ีขา G ของไตรแอกดงั รูปที่ 9.3 วงจรการทางานของไตรแอกต่อไฟกระแสสลับ

รปู ที่ 9.3 วงจรการทางานของไตรแอกต่อไฟกระแสสลับ
จากวงจรรูปที่ 9.3 วงจรการทางานของไตรแอกต่อไฟกระแสสลับ ไตรแอกจะทาหน้าท่ีควบคุมการจ่าย
แรงดันให้กับโหลด (Load) ไตรแอกจะถูกควบคุมด้วยวงจรควบคุมเฟส(Phase Control) ป้อนเข้ามายังขา G ของ
ไตรแอกเพื่อเป็นแรงดันจุดฉนวน (Trigger Voltage :VG) ซ่ึงเป็นแรงดันพัลล์ชั่วขณะที่สามารถควบคุมจุดเริ่มต้น
ของมุมการทางานของไฟสลับที่แตกต่างได้ทั้งซีกบวกและซีกลบ ซ่ึงจะส่งผลให้แรงดันไฟสลับที่ตกคร่อมโหลด (VL)
แตกต่างกันไป
สาหรับกระแสไฟสลับ (เป็นคลื่นรูปไซน์ ) จะมีอยู่ช่วงเวลาหนึ่งช่วงกระแสตัดกับเส้นศูนย์ของกราฟ ที่
กระแสต่ากว่ากระแสโฮลดิ้ง ดังน้ันจึงทาให้ไตรแอกหยุดนากระแสเองและจะรอการจุดชนวนใหม่อีกครั้ง และถ้า
หากครึ่งลบของสัญญาณไฟสลับเข้ามาก็จะนากระแสทางด้านลบอีกเช่นเคย และจะหยุดนากระแสเมื่อค่ากระแส
ลดลงต่ากว่ากระแสโฮลด้งิ

9.4 ขอ้ มูลรายละเอียดของไตรแอก
ไตรแอกท่ผี ลติ ออกมาใช้งานมีมากมายหลายรูปแบบ หลายเบอร์ และหลายค่าในการทนกาลังไฟฟ้า ดงั นัน้

บริษัทผู้ผลิตจึงมักจะจัดทารายละเอียดการใช้งานของไตรแอกแต่ละเบอร์ไว้ เพ่ือให้สามารถเลือกใช้ไตรแอกให้ตรง
กับการใช้งาน ตัวอย่างรายละเอียดของไตรแอกเบอร์ L401E3 ดังรูปท่ี 9.4 รูปร่าง และข้อมูลรายละเอียดของไตร
แอก

TO-92 Triac 1A 600V Standard TO-220 Triac 16A 600V Standard
'Triac isol 600v 25a to-3 - Q6025P5'

TO-252 - Q4008DH3TP RD-91 Triac 25A 600V Standard
TOP3 Triac 25A 600V Standard

Triac Discrete Semiconductor Product 1A 400V Littelfuse / Teccor Brand Thyristors Logic -

Sensitive Gate L401E3

LOGIC TRIAC ISOLATED 1.0A 400V - L401E3 - Discrete Semiconductor Products

Technical/Catalog Information L401E3

Vendor Littelfuse / Teccor Brand Thyristors

Category Discrete Semiconductor Products

Triac Type Logic - Sensitive Gate

Configuration Single

Voltage - Off State 400V

Current - On State (It (RMS)) (Max) 1A

Voltage - Gate Trigger (Vgt) (Max) 1.3V

Current - Gate Trigger (Igt) (Max) 3mA

Current - Hold (Ih) (Max) 5mA Image show is a representation
only. Exact specifications should
Current - Non Rep. Surge 50, 60Hz 16.7A, 20A be obtained the product data sheet
(Itsm)

Mounting Type Through Hole

Package / Case TO-226-3, TO-92-3 (TO-226AA)

Packaging Bulk

Lead Free Status Lead Free

RoHS Status RoHS Compliant

Other Names L401E3

L401E3

รปู ท่ี 9.4 รูปร่าง และข้อมลู รายละเอยี ดของไตรแอก

9.5.วดั และทดสอบไตรแอก
ในการใช้มลั ติมิเตอรเ์ พอื่ การวัดทดสอบไตรแอก สามารถทาการวดั ไดด้ ังน้ี

1) ต้งั มัลตมิ ิเตอรย์ ่านการวดั R x 1 หรือ R x 10
2) มัลตมิ เิ ตอร์ทใี่ ชถ้ ้าขัว้ ภายในกบั ภายนอกไม่ตรงกันให้ทาการสลบั สายเพ่ือใหง้ ่ายต่อการจา
3) การวดั ไตรแอกทั้งหมด 6 ครง้ั จานวน 3 คู่ เราสามารถอา่ นคา่ ความต้านทานได้ 2 คร้ัง
หรือวัด 6 ครั้ง เข็มข้นึ 2 คร้ัง
4). ขั้วขาทไ่ี ม่มสี ่วนเก่ียวข้องกบั ค่าความตา้ นทานทั้ง 2 ครงั้ ดังกลา่ วจะเป็นขาแอโนด 2 หรือ ขา A2
5). คู่ขาท่ี 2 ในการวัดน้ันจะมีค่าความต้านทานที่ใกลเ้ คียงกันหรือเท่าเทียมกัน เราไม่สามารถบอกได้ว่า ขา
ใดเป็นขา A1 หรือขา G ดงั นัน้ เราจงึ ตอ้ งทาการตรวจสอบในลาดบั ข้ันตอ่ ไป
6). ให้สมมุติว่าขาใดขาหนึ่งเป็นขา G แล้วทาการจุดชนวนโดยใชไ้ ฟจากขาแอโนด 2 (A2) เข็มมิเตอร์จะช้ีที่
ค่าความต้านทานประมาณ 15 โอห์ม ต่อจากนั้นให้สลับขาที่เหลือเป็นขา G แล้วทาการจุดชนวนโดยใช้ไฟจากขา
แอโนด 2 เขม็ มเิ ตอรจ์ ะช้ีทค่ี า่ ความต้านทานประมาณ 20 โอหม์ จากการวดั จะสังเกตไดว้ า่ เม่ือทาการจุดชนวนท่ี
ขาเกตได้ค่าความตา้ นทานต่ากว่าการจดุ ชนวนทข่ี าแอโนด 1 (A1)

-+

รูปท่ี 9.5 การวัดหาขาของ ไตรแอก

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ี่ 9)

การจดั กิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ เรอ่ื ง เอส. ซ.ี อาร์.
1) ครูผู้สอนได้สาธิตการทางานของวาล์วน้าว่าถ้าเราเปิดวาล์วมากน้าก็ไหลมากเปิดวาล์วน้อยน้าก็ไหล
นอ้ ยมนั ทางานเชน่ เดยี วกบั ไตรแอกท่ีเราจะเรียนในหนว่ ยน้ี ใชเ้ วลา (10 นาที)
2) ใหผ้ ู้เรียนได้ซักถามข้อมูลเพม่ิ เติม ใช้เวลา (5นาท)ี
3) ผสู้ อนชแี้ จงจดุ ประสงค์/สมรรถนะ การเรยี นรูเ้ รื่องไตรแอก และเกณฑก์ ารวัดผลในหนว่ ยท่ี 9 เรื่องไตร
แอก ใหผ้ เู้ รยี นได้ทราบใช้เวลา (5นาที)
4) ผ้สู อนแจกใบความร้ทู ่ี 9 เรอ่ื ง ไตรแอก ใช้เวลา (5นาท)ี
5) ผสู้ อนอธบิ ายความรูจ้ ากใบความรทู้ ี่ 9 ในหัวขอ้ 9.1โครงสรา้ ง และสัญลักษณข์ อง ไตรแอก ใช้เวลา (10
นาท)ี โดยใชส้ อ่ื จากสื่อ Power point เรอ่ื ง ไตรแอก
6) ผูส้ อน และผเู้ รียนร่วมกันสรุป เรือ่ งโครงสร้าง และสญั ลักษณ์ของ ไตรแอก อีกครั้ง ใช้เวลา (5 นาท)ี
7) ผู้สอนอธิบายความรู้จากใบความรทู้ ่ี 9 ในหวั ขอ้ 9.2 เร่ืองคุณสมบัตขิ อง ไตรแอก ต่อไฟกระแสตรงใช้
เวลา (30 นาท)ี โดยใช้สือ่ จากสือ่ Power point เรอ่ื งไตรแอก และจาลองการทางานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

8) ผู้สอน และผเู้ รยี นร่วมกันสรุป เรอ่ื งคณุ สมบัตขิ อง เอส. ซ.ี อาร์. ตอ่ ไฟกระแสตรงอีกคร้งั ใช้เวลา (5
นาที)ไตรแอก

9) ผู้สอนอธิบายความรูจ้ ากใบความรทู้ ่ี 9ในหัวขอ้ 9.3 เรือ่ งคุณสมบัติของ ไตรแอก ต่อไฟกระแสสลบั ใช้
เวลา (30 นาที) โดยใช้ส่ือจากสือ่ Power point เรื่องไตรแอก และจาลองการทางานด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

10) ผสู้ อน และผู้เรียนรว่ มกันสรุป เร่อื งคณุ สมบัติของ ไตรแอก ต่อไฟกระแสสลบั อีกครง้ั ใชเ้ วลา (5 นาที)
11) ผสู้ อนอธิบายความร้จู ากใบความรู้ท่ี 9ในหัวขอ้ 9.4 เรอ่ื งการแปลความหมายของคุณลักษณะทาง
ไฟฟา้ ของไตรแอก โดยใชส้ ื่อจากส่ือ Power point เรื่องไตรแอกใชเ้ วลา (15 นาที)

12) ผู้สอน และผเู้ รยี นรว่ มกันสรปุ เร่ืองการแปลความหมายของคณุ ลกั ษณะทางไฟฟ้าของไตรแอก

อกี ครั้ง ใช้เวลา (5 นาที)

13) ผสู้ อนสอนใหน้ กั เรียนแบ่งกล่มุ กลุ่มละ 3 คนตามความสมคั รใจ
14) ผู้สอนสอนแจกใบงานการทดลองหนว่ ยที่ 9 เร่ืองการวัดและทดสอบคุณสมบัตขิ องไตรแอก ใหผ้ เู้ รยี น
แต่ละกลมุ่ ใชเ้ วลา (5 นาท)ี
15) ผสู้ อนอธิบายข้นั ตอนการทดลองใบงานการทดลองในหน่วยท่ี 9 เรอื่ งการวดั และทดสอบคุณสมบัติ
ของไตรแอก พรอ้ มให้คาแนะนา ชีแ้ นะ และสังเกตพฤตกิ รรมของผ้เู รียนทกุ กลุ่ม โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมท่ี 9
ใชเ้ วลา (70 นาท)ี
16) ผเู้ รียนแต่ละกลุม่ นาผลการทดลองและสรปุ ผลการทดลองออกมานาเสนอกลมุ่ ละ 3 นาที ใช้เวลา
ท้งั หมด (15 นาที)
17) ผู้สอนกบั ผเู้ รียนร่วมกนั อภปิ รายและให้ข้อเสนอแนะประเมินผลการทดลองในหนว่ ยท่ี 9 เรือ่ งการวัด
และทดสอบคุณสมบตั ิของไตรแอก ใชเ้ วลา (20 นาท)ี

18) ผู้สอนเสรมิ คณุ ธรรมด้วยการสอนสอดแทรกเรอ่ื งคา่ นยิ มของคนไทย ๑๒ ประการใช้เวลา (10 นาท)ี
19 ผ้สู อนและผเู้ รียนร่วมกันสรปุ ส่งิ ท่เี รยี นมาท้ังหมด ก่อนทาการแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่9 เรอ่ื งไตร
แอก (20 นาที)

20) ผูเ้ รยี นช่วยกันทาความสะอาด ปดิ ไฟ ตรวจดูความเรยี บรอ้ ยชน้ั เรียนใชเ้ วลา (5 นาที)

6.ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้

6.1 ใบความรู้หนว่ ยที่ 9 เรอ่ื งไตรแอก

6.2 ใบงานท่ี 9 เรื่อง การวัดและทดสอบคณุ สมบตั ขิ องไตรแอก

6.3 แบบทดสอบหนว่ ยที่ 9 ไตรแอก
6.4 โปรแกรมการจาลองการทางาน

7. หลกั ฐานการเรียนรู้

7.1 หลักฐานการเรยี นรู้
1) แบบทดสอบหนว่ ยท่ี 9 ไตรแอก
2) ใบงานที่ 9เร่ือง การวัดและทดสอบคุณสมบตั ิของไตรแอก
3) แบบประเมนิ พฤตกิ รรม
4) แบบสังเกตการณป์ ฏบิ ตั งิ าน

7.2 หลักฐานการปฏบิ ตั ิงาน
1) ใบงานท่ี 9 เร่ือง การวัดและทดสอบคุณสมบตั ิของไตรแอก
2) แฟม้ สะสมผลงาน

8. การวัดและประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม วธิ ีการวดั เคร่ืองมือ ผู้ประเมนิ
ครผู สู้ อน
1.บอกโครงสร้างและ 1.ทดสอบ -แบบทดสอบท่ี 9

สญั ลักษณข์ องไตรแอก ได้

ถูกต้อง

2. อธิบายคณุ สมบัติของ ไตร

แอก. ต่อไฟกระแสตรงได้

ถกู ต้อง

3. อธิบายคุณสมบตั ิของ ไตร

แอก ต่อไฟกระแสสลับได้

ถกู ต้อง

4.การแปลความหมายของ 1.อ่ า น ค่ า จ า ก

คณุ ลักษณะทางไฟฟา้ ของไตร อุ ป ก ร ณ์ จ ริ ง แ ล ะ

แอก ไดถ้ ูกต้อง ตารางจาก

Datasheet

5. วดั และทดสอบไตรแอก ได้ 1.ต ร ว จ ผ ล ก า ร ใบงานการทดลองหน่วยที่ 9

ถกู ต้อง ปฏิบัตงิ าน -แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน-

2.สั ง เ ก ต ก า ร ณ์ แบบสังเกตพฤติกรรม

ปฏิบตั งิ าน

9.เอกสารอา้ งอิง

พันธ์ศกั ดิ์ พฒุ ิมานติ พงศ์. อเิ ลก็ ทรอนิกสใ์ นงานอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพซ์ เี อ็ดยเู คชั่น, 2553
ชัยวัฒน์ ลิ้มพรจิตรวิลัย. คูม่ ือนักอเิ ล็กทรอนกิ ส์.กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ซีเอ็ดยเู คชนั่ ,

อดลุ ย์ กัลยาแกว้ .อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร(อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส)์ .กรุงเทพฯ : สานักพิมพศ์ ูนย์สง่ เสริม
อาชีวะ,2546

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ุ่น).เทคโนโลยีสารก่ึงตัวนา.กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ดวงกมลสมัย จากดั

10. บันทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้

10.1 ขอ้ สรุปหลังการจดั การเรียนรู้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10.2 ปญั หาทีพ่ บ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10.3 แนวทางแก้ปัญหา

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รายงานการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้

เห็นควรอนญุ าตใหใ้ ชส้ อนได้
เห็นควรปรบั ปรงุ เกีย่ วกับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงช่ือ(……………………………………………………………)

หัวหน้าหมวด / แผนกวิชา
…………/……………………………/………………..
เหน็ ควรอนุญาตใหใ้ ช้สอนได้
ควรปรับปรุงเกย่ี วกับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อื่นๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงช่ือ(……………………………………………………………)

รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
…………/……………………………/………………..
เหน็ ควรอนญุ าตใหใ้ ชส้ อนได้
อนื่ ๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..

ลงช่ือ(……………………………………………………………)
ผู้อานวยการวทิ ยาลัยการอาชีพกาญจนบรุ ี
…………/……………………………/………………..

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท่ี 10 ช่วั โมง
จานวน 5
สัปดาห์ท่ี 10

ชอื่ วิชา อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร
……………..…………………………………………………………………………………….
ชื่อหน่วย ไดแอก…………………………………………………………………………………………………………………………………….
ชอ่ื เรือ่ ง ไดแอก………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.สาระสาคัญ

ไดแอก (DIAC) เปน็ อปุ กรณ์ประเภทสารกึ่งตวั นาประเภทไทรสิ เตอรอ์ ีกชนิดหนึ่ง ทม่ี ีการทางานแตกต่างไป
จาก SCR สามารถนาไปใชง้ านได้กบั แรงดนั ไฟสลับ โดยแรงดนั ไฟสลบั สามารถไหลผ่านไดท้ ั้งซีกบวกและซีกลบ ถูก
สร้างข้นึ มาเพ่ือใชง้ านเปน็ ตวั ป้องกันแรงดนั กระโชกท่เี ข้ามายงั ขา G ของไตรแอก หรือ SCR เพ่ือปอ้ งกนั การชารดุ
เสียหายของไตรแอก หรอื SCR

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

วัดทดสอบคุณลกั ษณะทางไฟฟา้ ของไดแอก

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ประจาหนว่ ย

3.1 จดุ ประสงค์ทัว่ ไป
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในโครงสรา้ ง สัญลักษณ์ คุณลักษณะทางไฟฟ้า การแปลความหมาย

ของคณุ ลกั ษณะทางไฟฟ้า รวมถงึ การวัดทดสอบไดแอก และกจิ นสิ ัยในการคน้ คว้าความรูเ้ พิ่มเตมิ

3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม / สมรรถนะประจาหน่วย
เม่อื ผูเ้ รยี นเรียนจบในหน่วยแล้วผเู้ รยี นสามารถ
1. เขยี นโครงสรา้ ง และสัญลกั ษณ์ของ ไดแอกได้
2. อธบิ ายคณุ สมบตั ิของ ไดแอกต่อไฟกระแสตรงได้
3. อธิบายคุณสมบัติของ ไดแอกต่อไฟกระแสสลับได้

4. แปลความหมายของคุณลักษณะทางไฟฟ้าของไดแอกได้

5. อธิบายหลกั การของวงจรใช้งานร่วมกนั ของไตรแอกและไดแอกได้
6.วดั และทดสอบประกอบวงจรเพ่อื หาคุณสมบตั ิของ ไดแอก ได้
7. ใฝห่ าความรู้ หมนั่ ศกึ ษาเล่าเรียน ทั้งทางตรงและทางอ้อม
8. รจู้ กั ดารงตนอยู่โดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดารสั ของสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวฯ
รจู้ กั อดออมไว้ใช้เม่ือยามจาเป็น มีไวพ้ อกนิ พอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหนา่ ยและพร้อมที่จะขยายกจิ การเมื่อมีความ
เมอ่ื มภี ูมิคมุ้ กนั ที่ดี

4. สาระการเรยี นรู้

10.1 โครงสรา้ ง และสัญลกั ษณ์ของไดแอก
ไดแอก (DIAC) เป็นอปุ กรณ์ประเภทสารกึง่ ตวั นาประเภทไทริสเตอร์อีกชนิดหนงึ่ ที่มกี ารทางานแตกต่างไป

จาก SCR สามารถนาไปใช้งานได้กับแรงดันไฟสลับ โดยแรงดนั ไฟสลับสามารถไหลผา่ นได้ทั้งซีกบวกและซีกลบ ถกู
สร้างขึ้นมาเพ่ือใช้งานเป็นตัวปอ้ งกันแรงดันกระโชกท่ีเข้ามายังขา G ของไตรแอก หรือ SCR เพื่อป้องกันการชารดุ
เสียหายของไตรแอก หรือ SCR ไดแอกมีคุณสมบัติในการทางานเสมือนเป็นสวิตช์ที่มีความไวต่อแรงดัน (Voltage
Sensitive Switch) โดยมีขาใช้งาน 2 ขา คือ ขาแอโนด 1 (A1) หรือขาเมนเทอร์มินอล 1(MT1) และขาแอโนด 2
(A2) หรอื ขาเมนเทอรม์ ินอล 2 (MT2) ดังรปู ท่ี 10.1 โครงสร้างและสัญลักษณ์ของไดแอก

A2 A2 A2
A1 A1
NP
N
PN

A1

รูปที่ 10.1 โครงสรา้ งและสญั ลักษณ์ของไดแอก

10.2 คุณสมบัตขิ อง ไดแอกต่อไฟกระแสตรง
การนาไดแอกไปใช้ในไฟกระแสตรงดังรูปท่ี 10.2 วงจรไดแอกต่อไฟกระแสตรงสามารถทางานได้ดีทั้งไฟ

บวกและไฟลบ

A2 IA A2 IA
RL RL
NP
N - VAA - VAA
PN
A1 + +

A1

รูปท่ี 10.2 วงจรไดแอกตอ่ ไฟกระแสตรง
จากรูปท่ี 10.2 วงจรไดแอกต่อไฟกระแสตรง จากวงจรไดแอกจะนากระแสได้ก็ต่อเม่ือต้องจ่ายแรงดัน
ไฟตรงให้กบั ไดแอกถงึ แรงดนั พังทลายของไดแอก (Break over Voltage : VBO) ทร่ี ะบไุ ว้ในตัวไดแอกเบอร์นนั้ ๆ ถ้า
จ่ายแรงดันให้ไดแอกไม่ถึงค่าแรงดันพังทลายของไดแอก ไดแอกไม่ทางานจะทาให้แรงดันตกคร่อมตัวไดแอก
ประมาณเท่ากับแหล่งจ่าย เม่ือจ่ายแรงดันถึงจุดแรงดันพังทลายไดแอกนากระแส คุณสมบัติของไดแอกขณะนี้มีค่า

ความต้านทานลดลงจานวนหน่ึง ทาให้เกิดแรงดันตกคร่อมค่าหนึ่งที่ตัวไดแอก แรงดันที่เหลืออีกสาวนหนึ่งไปตก
ครอ่ มทโี่ หลด RL

10.3 คุณสมบตั ขิ อง ไดแอกต่อไฟกระแสสลบั

การนาไดแอกไปใชง้ านในไฟกระแสสลับ ดงั วงจรรปู ที่ 10.3 ไดแอกต่อไฟกระแสสลับ ไดแอกนากระแสได้
ทั้งไฟซกี บวก +VAC และ -VAC หลกั การทางานกเ็ ชน่ เดยี วกบั ไฟกระแสตรงคือต้องจ่ายแรงดนั ให้ไดแอกถึงจดุ
พังทลาย ไดแอกจงึ จะนากระแส จากรูปสัญญาณท่ตี กคร่อมไดแอก (VA2-A1) จะเหน็ ว่าเมื่อไดแอกนากระแสค่าความ
ต้านทานในตัวไดแอกลดลงจานวนหนง่ึ ทาให้มีแรงดันตกคร่อมที่ไดแอก(Vo)ทั้งซกี บวกและซกี ลบ ของแรงดนั ไฟ
สลบั

A2 + t
VA2-A1 RL VAC 0 t

A1 VAC +VBO -

V +VO 0
A2-A1
-VO

-VBO

รปู ท่ี 10.3 ไดแอกต่อไฟกระแสสลับ

10.4 แปลความหมายของคุณลักษณะทางไฟฟา้ ของไดแอก
โดยปกติแล้วเบอร์ใช้งานของไดแอกจะบอกถึงแรงดันพังทลายของไดแอก เพ่ือง่ายต่อการนาไดแอกไปใช้

งาน เช่น ไดแอกเบอร์ GT- 32 หรือ HT-32 รหัสตัวเลข 32 เป็นตัวบอกว่าไดแอกเบอร์น้ีจุดแรงดันพังทลาย (VBO)
อย่ทู ี่ 32 V ดงั นั้นการท่จี ะทาให้ไดแอกเบอร์น้ีทางานต้องจา่ ยแรงดนั ให้ถงึ 32V ไดแอกถึงจะทางาน

Package / Case : DO-35 A1
Power Dissipation Ptot Max : 150mW
Repetitive Peak Forward Current Itrm : 2A A2
Termination Type: Axial Leaded
Image show is a representation
Thyristor Type: Diac only. Exact specifications should
Voltage Vbo Max: 36V be obtained the product data sheet
Voltage Vbo Min: 28V
Voltage Vbo Typ: 32V
Voltage Vo: 5V

Part Number Package Availability VBO

MINIMELF DO-35 DO-214 Min Max

XX-32 - HT-32 ST-32 27V 37V

XX-32A/5761 - HT-32A - 28V 36V

XX-32B/5761A HTM-32B HT-32B ST-32B 30V 34V

XX-34B - HT-34B ST-34B 32V 36V

XX-35 - HT-35 ST-35 30V 40V

XX-36A/5762 - HT-36A ST-36A 32V 40V

XX-36B - HT-36B ST-36B 34V 38V

XX-40 - HT-40 ST-40 35V 45V

XX-60 - HT-60 - 56V 70V

*XX* =HTM for MINIMELF

HT for DO-35, ST for DO-214

รปู ที่ 10.4 รปู ร่าง และข้อมูลรายละเอียดของไดแอก

10.5 การตอ่ ใช้งานร่วมกนั ของไตรแอกและไดแอก
ในการนาไตรแอกไปใชง้ านกบั ไฟกระแสสลับ การจุดฉนวนทข่ี า G ของไตรแอกจะถูกควบคุมดว้ ยแรงดันไฟ

กระแสสลบั เชน่ เดยี วกนั แรงดันไฟกระแสสลบั มีโอกาสกระโชกเข้าทขี่ า G ของไตรแอกอาจทาใหไ้ ตรแอกเสยี หายได้
จึงนิยมนาไดแอกมาต่อวงจรร่วมกับไตรแอกในการทางานกับไฟกระแสสลับเพื่อป้องกันการเสียหายของไตรแอกที่
เกิดจากการกระโชกของแรงดนั ไฟสลับ

จากการทน่ี าไดแอกใช้งานร่วมกับไตรแอกน้ัน เพ่อื ให้ง่ายต่อการออกแบบวงจรการทางาน ทาใหม้ ีการผลิต
อปุ กรณช์ นดิ ใหม่ขนึ้ มาเรยี กวา่ ควอดแดรก (Quardrac) เป็นอุปกรณไ์ ทรสิ เตอร์ทีผ่ ลติ ขึ้นมาจากการรวมเอาไดแอก
และไตรแอกต่อเข้าด้วยกันโดยนาไดแอกต่ออนุกรมกับขา G ของไตรแอกดังรูปที่ 10.5 การรวมเอาไดแอกและไตร
แอกต่อเขา้ ดว้ ยกัน เรยี กวา่ ไตรแอกท่มี ีการกระตุ้นภายใน (Internally Triggered Triac)

A2 A2
A1
A2 A1 G G

A1

รปู ท่ี 10.5 การรวมเอาไดแอกและไตรแอกต่อเข้าดว้ ยกัน

ในการต่อวงจรใช้งานของไตรแอกกับไฟกระแสสลับน้ัน เพ่ือป้องกันความปลอดภัยที่เกิดจากการกระโชกของ
แรงดันไฟสลับที่ใช้ในการจุดฉนวนให้กับไตรแอกท่ีขา G จึงจาเป็นต้องต่อไดแอกอนุกรมกับขา G ของไตรแอกเพื่อ
ป้องกันการชารดุ เสียหายของไตรแอก ซึ่งสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้งานได้อย่างกว้างขวาง ทัง้ งานควบคุมทวั่ ไป และ
งานควบคุมด้านอุตสาหกรรม เช่นวงจรควบคุมความร้อน วงจรควบคุมความสว่างของหลอดไฟฟ้า และวงจร
ควบคุมความเรว็ มอเตอร์ เป็นตน้

10.5.1 วงจรควบคุมขดลวดความร้อน จะเห็นว่าไตรแอกทาหนา้ ทเ่ี ป็นสวติ ช์ในการตดั ต่อแรงดนั ไฟสลับ ท่ี
ถูกควบคุมด้วยแรงดันกระตุ้นท่ีสง่ ผ่านมายังไดแอกก่อนส่งใหข้ า G ของไตรแอกดังวงจรรูปที่ 10.6 วงจรควบคุมขด
ลวดความร้อน

H1

Sw R1 A2
VAC Q1
R2 D1
G A1
A2
A1

C1

รูปที่ 10.6 วงจรควบคมุ ขดลวดความร้อน

จากวงจรรูปท่ี 10.6 วงจรควบคุมขดลวดความร้อน โดยใช้ไตรแอกและไดแอกในการควบคุมขด
ลวดความร้อน ซึ่งจะถูกควบคุมการจุดฉนวนขา G ด้วย R1 , R2 และ C1 ทางานร่วมกันเป็นวงจรหน่วงเวลา
(RC Time Constance) ในการจ่ายแรงดันไปให้ไดแอกเพื่อไปจุดฉนวนที่ขา G ของไตรแอกเพื่อให้ไตรแอกทางาน

มลี กั ษณะการทางานดังน้ี
กรณีปรับค่าความต้านทาน R2 ให้มีค่าความต้านทานมากจะทาให้ C1 เก็บประจุช้าทาให้มีการหน่วงเวลา

มากทาให้แรงดันที่จา่ ยให้ไดแอกถงึ จดุ เบรกโอเวอร์ (VBO) ชา้ ทาใหไ้ ตรแอกทางานชา้ ตามไปด้วย ทาใหก้ ระแสทไ่ี หล
ผ่านขดลวดความรอ้ น H1 นอ้ ย ทาใหข้ ดลวด H1 รอ้ นนอ้ ย

กรณีปรับค่าความต้านทาน R2 ให้มีค่าความต้านทานน้อยจะทาให้ C1 เก็บประจุได้เร็วทาให้มีการหน่วง
เวลานอ้ ยลงทาให้แรงดนั ท่ีจ่ายให้ไดแอกถึงจดุ เบรกโอเวอร์ (VBO) ไดเ้ รว็ ขน้ึ ทาให้ไตรแอกทางานเร็วตามไปดว้ ย ทา
ใหก้ ระแสทไ่ี หลผ่านขดลวดความร้อน H1 มจี านวนมาก ทาใหข้ ดลวด H1 รอ้ นมาก

10.5.2 วงจรควบคมุ ความเร็วมอเตอร์ ซึ่งมอเตอร์ที่นิยมใช้ในวงจรปรบั ความเร็วเปน็ มอเตอรช์ นิด ยูนิเวอร์

แซลมอเตอร์ (Universal Motor) เป็นมอเตอร์ท่ีสามารถใช้ได้ท้ังไฟกระตรง และไฟกระแสสลับ ดังวงจรรูปที่ 10.7

วงจรควบคมุ ความเร็วมอเตอร์

M R1 A2
R2 Q1
Sw
G A1

C1

รปู ที่ 10.7วงจรควบคุมความเรว็ มอเตอร์
จากวงจรรูปที่ 10.7 วงจรควบคุมความเร็วมอเตอร์ โดยใช้ควอดแดรก Q1ซึ่งโครงสร้างภายในประกอบไป
ด้วยไดแอกต่ออนุกรมกับขา G ของไตรแอก เป็นตัวควบคุมแรงดันไฟสลับให้กับมอเตอร์ M โดยมี R1 , R2 และ C1
ทางานร่วมกันเป็นวงจรหนว่ งเวลา (RC Time Constance) ซึ่งเป็นชุดควบคุมในการจ่ายแรงดันไปจุดฉนวนท่ีขา G
ของควอดแดรกเพือ่ ใหค้ วอดแดรกทางาน มีลักษณะการทางานดงั นี้
กรณีปรับค่าความต้านทาน R2 ให้มีค่าความต้านทานมากจะทาให้ C1 เก็บประจุช้าทาให้มีการหน่วงเวลา
มาก ส่งผลให้แรงดันที่จา่ ยให้ขา G ช้า ทาให้ควอดแดรกทางานช้าตามไปด้วย ทาให้กาลังไฟฟ้าที่จ่ายให้มอเตอร์ M
น้อย ทาใหม้ อเตอรห์ มุนช้า
กรณีปรับค่าความต้านทาน R2 ให้มีค่าความต้านทานน้อยจะทาให้ C1 เก็บประจุได้เร็วทาให้มีการหน่วง
เวลาน้อยลง ส่งผลให้แรงดันทจ่ี ่ายให้ขา G เร็วขึน้ ทาใหค้ วอดแดรกทางานเร็วตามไปด้วย ทาใหก้ าลงั ไฟฟา้ ที่จ่ายให้
มอเตอร์ M มากขน้ึ ทาใหม้ อเตอรห์ มนุ เรว็ ขน้ึ ตามไปดว้ ย
10.5.3 วงจรควบคมุ ความสว่างของหลอดไฟ หรอื วงจรหร่ไี ฟ จะเหน็ ว่าไตรแอกทาหน้าทเ่ี ป็นสวติ ชใ์ นการ
ตัดต่อแรงดนั ไฟสลับ ที่ถกู ควบคุมดว้ ยแรงดันกระตุน้ ที่ส่งผ่านมายังไดแอกก่อนส่งให้ขา G ของไตรแอกดังวงจรรูปท่ี
10.8 วงจรควบคมุ ความสว่างของหลอดไฟ ซงึ่ คณุ ลักษณะการทางานเช่นเดียวกับวงจรควบคมุ ความร้อน และวงจร
ควบคุมความเรว็ มอเตอร์

Lamp

Sw R1 A2
VAC Q1
R2 D1
G A1
A2
A1

C1

รูปที่ 10.8 วงจรควบคุมความสวา่ งของหลอดไฟ

10.6 วดั และทดสอบไตรแอก
ในการใชม้ ลั ตมิ เิ ตอร์เพ่ือการวัดทดสอบไตรแอก สามารถทาการวดั ได้ดงั นี้

A2 A2 A2

Rx10 N P
N

-+

PN

A1 A1 A1

รปู ที่ 10.9 การวัดทดสอบไดแอก
1) ตง้ั มลั ตมิ เิ ตอร์ย่านการวัด R x 10
2) เอาสายมิเตอร์ศกั ย์ไฟบวกจับทข่ี า A1 สายมเิ ตอร์ศกั ย์ไฟลบจบั ทข่ี า A2 เขม็ จะชีท้ ต่ี าแหนง่ ∞
3) เอาสายมิเตอร์ศกั ย์ไฟบวกจับทขี่ า A2 สายมเิ ตอร์ศักย์ไฟลบจบั ท่ขี า A1 เขม็ จะชี้ท่ีตาแหนง่ ∞

5. กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 10)

การจัดกิจกรรมการเรียนร้โู ดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั เร่ือง เอส. ซี. อาร์.

1) ครูผู้สอนให้นักเรียนช่วยกันอธิบายกราฟที่ครูผู้สอนให้นักเรียนดู เพ่ือเชื่อมโงถึงหลักการทางานของ
อุปกรณท์ ่ีจะเรยี นต่อไปว่ามีการทางานอย่างไร ใชเ้ วลา (10 นาท)ี

-V V

+I

2) ใหผ้ ู้เรียนได้ซักถามข้อมูลเพ่ิมเตมิ ใชเ้ วลา (5นาที)
3) ผูส้ อนชี้แจงจุดประสงค/์ สมรรถนะ การเรยี นรเู้ รอ่ื งไดแอก และเกณฑก์ ารวัดผลในหนว่ ยท่ี 10 เร่อื งได
แอก ให้ผเู้ รียนไดท้ ราบใชเ้ วลา (5นาท)ี
4) ผู้สอนแจกใบความร้ทู ี่ 10 เรื่อง ไดแอก ใช้เวลา (5นาที)
5) ผสู้ อนอธิบายความร้จู ากใบความรู้ที่ 10 ในหัวขอ้ 10.1โครงสรา้ ง และสัญลักษณ์ของ ไดแอก ใชเ้ วลา
(10 นาท)ี โดยใช้สอื่ จากสอ่ื Power point เรอ่ื ง ไดแอก
6) ผู้สอน และผเู้ รยี นรว่ มกนั สรปุ เรื่องโครงสร้าง และสญั ลักษณ์ของ ไดแอก อกี ครั้ง ใช้เวลา (5 นาที)
7) ผูส้ อนอธิบายความรจู้ ากใบความรู้ท่ี 10 ในหัวขอ้ 10.2 เรื่องคุณสมบตั ขิ อง ไดแอก ต่อไฟกระแสตรงใช้
เวลา (15 นาท)ี โดยใชส้ ื่อจากสือ่ Power point เรื่องไดแอก และจาลองการทางานดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
8) ผู้สอน และผเู้ รยี นร่วมกันสรปุ เรื่องคุณสมบัตขิ อง ไดแอก ต่อไฟกระแสตรงอีกครั้ง ใช้เวลา (5 นาที)
9) ผู้สอนอธบิ ายความรจู้ ากใบความรทู้ ี่ 10 ในหัวข้อ 10.3 เรื่องคุณสมบตั ิไดแอก ต่อไฟกระแสสลับใชเ้ วลา
(15 นาท)ี โดยใช้สื่อจากส่อื Power point เรื่องไดแอก และจาลองการทางานดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

10) ผสู้ อน และผเู้ รยี นร่วมกันสรุป เรื่องคณุ สมบัตขิ อง ไดแอก ต่อไฟกระแสสลับอีกครง้ั ใช้เวลา (5 นาท)ี
11) ผสู้ อนอธิบายความรู้จากใบความรู้ท่ี 10 ในหัวข้อ 10.4 เรอ่ื งการแปลความหมายของคณุ ลกั ษณะทาง
ไฟฟ้าของไดแอก โดยใชส้ ่อื จากส่อื Power point เรื่องไดแอก ใชเ้ วลา (10 นาที)
12) ผ้สู อน และผู้เรียนร่วมกันสรุป เรอื่ งการแปลความหมายของคุณลักษณะทางไฟฟา้ ของไดแอกใช้เวลา
(5 นาที)
13) ผสู้ อนสอนใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ 3 คนตามความสมคั รใจ
14) ผสู้ อนสอนแจกใบงานการทดลองหน่วยท่ี 10 เร่อื งการวัดและทดสอบคุณสมบัติของไดแอก ให้ผเู้ รียน
แต่ละกลมุ่ ใช้เวลา (5 นาท)ี
15) ผสู้ อนอธบิ ายขน้ั ตอนการทดลองใบงานการทดลองในหน่วยที่ 10 เร่อื งการวดั และทดสอบคณุ สมบัติ
ของไดแอก พร้อมให้คาแนะนา ชแี้ นะ และสงั เกตพฤตกิ รรมของผู้เรียนทุกกลมุ่ โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมที่ 10
ใช้เวลา (90 นาท)ี
16) ผู้เรยี นแต่ละกล่มุ นาผลการทดลองและสรุปผลการทดลองออกมานาเสนอกลุ่มละ 3 นาที ใชเ้ วลา
ทั้งหมด (20 นาท)ี
17) ผ้สู อนกับผเู้ รียนร่วมกันอภปิ รายและใหข้ ้อเสนอแนะประเมนิ ผลการทดลองในหนว่ ยที่ 10 เรอื่ งการวดั
และทดสอบคุณสมบตั ขิ องไดแอก ใชเ้ วลา (20 นาท)ี
18) ผูส้ อนเสริมคุณธรรมดว้ ยการสอนสอดแทรกเร่อื งค่านยิ มของคนไทย ๑๒ ประการใชเ้ วลา (10 นาท)ี
19 ผสู้ อนและผู้เรียนร่วมกันสรุปสิ่งท่ีเรียนมาทั้งหมด ก่อนทาการแบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยท่ี 10 เรอื่ ง
ไดแอก (20 นาท)ี
20) ผเู้ รียนช่วยกันทาความสะอาด ปิดไฟ ตรวจดูความเรยี บร้อยช้ันเรียนใช้เวลา (5 นาที)

6.สื่อและแหล่งการเรยี นรู้

6.1 ใบความรู้หนว่ ยท่ี 10 เรอื่ งไดแอก
6.2 ใบงานท่ี 10 เรื่อง การวัดและทดสอบคณุ สมบตั ขิ องไดแอก
6.3 แบบทดสอบหน่วยที่ 10 เร่อื งไดแอก
6.4 โปรแกรมการจาลองการทางาน
6.5 บทเรยี นออนไลน์

7. หลกั ฐานการเรยี นรู้

7.1 หลักฐานการเรียนรู้
1) แบบทดสอบหนว่ ยที่ 10 เรอื่ งไดแอก
2) ใบงานที่ 10 เร่อื ง การวดั และทดสอบคุณสมบัติของไดแอก
3) แบบประเมนิ พฤติกรรม

4) แบบสงั เกตการณป์ ฏบิ ตั ิงาน

7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ัตงิ าน
1) ใบงานที่ 10 เรอ่ื ง การวัดและทดสอบคุณสมบตั ขิ องไดแอก
2) แฟ้มสะสมผลงาน

8. การวัดและประเมนิ ผล

จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม วธิ ีการวัด เครอื่ งมอื ผู้ประเมนิ
ครูผู้สอน
1.บอกโครงสร้างและ 1.ทดสอบ -แบบทดสอบท่ี 10
ครผู ูส้ อน
สญั ลกั ษณข์ องไดแอกได้

ถกู ต้อง

2. อธิบายคุณสมบตั ิของ ได

แอกต่อไฟกระแสตรงได้ถกู ต้อง

3. อธบิ ายคณุ สมบตั ิของ ได

แอก ต่อไฟกระแสสลับได้

ถกู ต้อง

4.การแปลความหมายของ 1.อ่ า น ค่ า จ า ก

คณุ ลักษณะทางไฟฟ้าของได อุ ป ก ร ณ์ จ ริ ง แ ล ะ

แอกไดถ้ ูกต้อง ตารางจาก

Datasheet

5.อธิบายหลักการของวงจรใช้ 1.ทดสอบ

งานรว่ มกันของไตรแอกและได

แอกได้

5. วดั และทดสอบไดแอกได้ 1.ต ร ว จ ผ ล ก า ร ใบงานการทดลองหน่วยที่ 10

ถูกต้อง ปฏบิ ตั ิงาน -แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน-

2.สั ง เ ก ต ก า ร ณ์ แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

ปฏิบัติงาน

10.เอกสารอ้างอิง

พนั ธ์ศกั ด์ิ พฒุ ิมานติ พงศ์. อิเลก็ ทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์ซีเอ็ดยเู คชนั่ , 2553
ชยั วัฒน์ ลิม้ พรจิตรวิลยั . คู่มอื นกั อิเลก็ ทรอนกิ ส์.กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ซีเอด็ ยเู คชน่ั ,
อดุลย์ กัลยาแกว้ .อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์และวงจร(อปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์).กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์ศนู ย์สง่ เสริม

อาชีวะ,2546

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ุ่น).เทคโนโลยสี ารกง่ึ ตัวนา.กรุงเทพฯ : บริษทั ดวงกมลสมัย จากัด

10. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้

10.1 ข้อสรปุ หลงั การจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10.2 ปญั หาท่ีพบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10.3 แนวทางแก้ปัญหา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รายงานการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้

เหน็ ควรอนญุ าตใหใ้ ชส้ อนได้
เห็นควรปรับปรุงเกย่ี วกบั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงช่อื (……………………………………………………………)

หัวหน้าหมวด / แผนกวิชา
…………/……………………………/………………..
เห็นควรอนุญาตใหใ้ ช้สอนได้
ควรปรับปรงุ เกย่ี วกบั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อนื่ ๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงช่ือ(……………………………………………………………)

รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ

…………/……………………………/………………..
เหน็ ควรอนุญาตให้ใช้สอนได้
อ่นื ๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………..
ลงชอื่ (……………………………………………………………)

ผ้อู านวยการวทิ ยาลยั การอาชีพกาญจนบุรี
…………/……………………………/………………..

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 11 ชั่วโมง
จานวน 5

สปั ดาห์ท่ี 11

ชือ่ วิชา อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร
……………..…………………………………………………………………………………….
ชื่อหน่วย ยู. เจ.
ท.ี ……………………………………………………………………………………………………………………………………
ชอ่ื เรือ่ ง ยู. เจ.
ท.ี ………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.สาระสาคัญ

ยนู จิ ังชนั่ ทรานซิสเตอร์ (Uni junction Transistor) หรอื เรียกวา่ ยู. เจ. ที. (UJT) แปลความหมายได้ว่า
ทรานซิสเตอร์ชนิดรอยตอ่ เดยี ว จัดเปน็ อุปกรณ์ประเภทสารก่ึงตัวนาชนิดหนึง่ ทส่ี ามารถนาไปประยุกต์ใช้งานได้
อยา่ งกว้างขวาง เชน่ วงจรกาเนิดความถ่ี (Oscillator) วงจรจุดฉนวน (Trigger Circuit) วงจรกาเนดิ สัญญาณฟัน
เลือ่ ย (Saw tooth Generator) วงจรตง้ั เวลา (Timing Circuit) เป็นตน้

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

วดั ทดสอบคุณลกั ษณะทางไฟฟา้ ของยู. เจ. ที.

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ประจาหน่วย

3.1 จดุ ประสงค์ทว่ั ไป

เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในโครงสรา้ ง สัญลักษณ์ คุณลักษณะทางไฟฟ้า การแปลความหมาย
ของคุณลักษณะทางไฟฟา้ รวมถงึ การวัดทดสอบยู. เจ. ที. และกจิ นสิ ัยในการคน้ คว้าความรเู้ พม่ิ เติม

3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / สมรรถนะประจาหน่วย
เมอ่ื ผูเ้ รียนเรียนจบในหนว่ ยแลว้ ผู้เรียนสามารถ
1. บอกโครงสรา้ ง และสัญลกั ษณข์ อง ย.ู เจ.ท.ี ได้
2. อธิบายคณุ สมบตั ิการทางานของ ย.ู เจ.ที. ได้
3. อธิบายวงจรการใชง้ านของ ยู.เจ.ที. ได้
4. วดั และทดสอบประกอบวงจรเพื่อหาคุณสมบตั ิของ ย.ู เจ.ที. ได้
5. ใฝห่ าความรู้ หมน่ั ศึกษาเล่าเรยี น ทง้ั ทางตรงและทางอ้อม
6. มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยร้จู ักเคารพผ้ใู หญ่

4. สาระการเรียนรู้

11.1 โครงสรา้ ง และสญั ลักษณข์ อง ยู. เจ. ที.

ยนู จิ งั ช่ัน ทรานซิสเตอร์ (Uni Junction Transistor) หรอื เรยี กวา่ ยู เจ ที (UJT) จัดเปน็ ทรานซสิ เตอร์
ชนิดรอยต่อเดียว โครงสร้างภายในของ UJT ประกอบดว้ ยสารกึง่ ตวั นา 2 ตอน ประกอบด้วยสาร P - Type และ
สาร N - Type ตอ่ ชนกันคลา้ ยกับไดโอด แต่มีขาใชง้ าน 3 ขา คือขาเบส 1 (Base 1 : B1) ขาเบส 2 (Base 2 : B2)
และขาอมิ ิตเตอร์ (Emitter : E) ดังรปู ท่ี11.1 โครงสรา้ งและสญั ลักษณ์ของ UJT

Base 2 (B2)

Base 2 (B2)

Emitter (E) P Emitter (E)
N

Base 1 (B1) Base 1 (B1)

รูปที่ 11.1 โครงสร้างและสัญลกั ษณข์ อง ยู เจ ที

จากรปู ท1ี่ 1.1 ถ้าดจู ากโครงสรา้ งแลว้ สามารถเรยี ก UJT ไดอ้ ีกชื่อหนงึ่ วา่ ไดโอดชนิดเบสคู่ (Double Base
Diode) จะเห็นได้ว่าท่ีสารกึ่งตวั นาชนิด N – Type จะมีขาต่อใช้งาน 2 ขาคือ ขาเบส 1 และขาเบส 2 ซ่ึงมีเน้ือสาร
กงึ่ ตัวนาเช่อื มตอ่ ถงึ กัน สารก่ึงตวั นาชนดิ P – Type มขี นาดเล็กต่ออยูภ่ ายในสารกึ่งตวั นาชนิด N – Type ถกู ต่อมา
ใช้งานเป็นขาอิมิตเตอร์ จากสัญลักษณ์จะมีหัวลูกศรช้ีเข้าต่อชนกับสาร N – Type ของขา B2 และขา B1 ลักษณะ
ขา E เขียนไปทางขา B2 บอกให้ทราบว่าขา E อยู่ใกล้ขา B2 มากกว่าขา B1 ส่วนหัวลูกศรชี้เข้าด้านในบอกให้ทราบ


Click to View FlipBook Version