The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิ1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by malinee_kan, 2021-05-13 10:47:49

ชีววิทยาเบื้องต้น ๒

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิ1

ชวี วิทยา 2
หนา้ 1

บทท่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มีชีวิต

Diversity of life

ชีววิทยา 2
หน้า 2

1. ความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวติ

ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) หมายถงึ การมสี ิง่ มีชีวิตนานาชนดิ นานาพนั ธใุ์ นระบบ
นเิ วศอันเป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกตา่ งกันทว่ั ไป ความหลากหลายทางชวี ภาพสามารถ
พิจารณาได้จากความหลากหลายระหวา่ งสายพันธ์ุ ระหว่างชนิดพนั ธ์ุ และระหวา่ งระบบนิเวศ

ความหลากหลายทางชีวภาพระหวา่ งสายพันธ์ุ ที่เหน็ ได้ชัดเจนทสี่ ุด คอื ความแตกต่างระหวา่ งพนั ธพุ์ ชื
และสัตวต์ า่ งๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกตา่ งหลากหลายระหว่างสายพันธ์ุ ทาให้สามารถเลอื กบริโภคข้าว
เจ้า หรือข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ หากไมม่ ีความหลากหลายของสายพันธุต์ ่างๆ แล้ว อาจจะต้อง
รบั ประทานส้มตาปูเค็มกับขา้ วจา้ วกเ็ ปน็ ได้ ความแตกตา่ งทมี่ ีอยู่ในสายพนั ธ์ตุ า่ งๆ ยังชว่ ยใหเ้ กษตรกรสามารถ
เลอื กสายพันธ์ุปศุสตั ว์ เพอื่ ให้เหมาะสมตามความตอ้ งการของตลาดได้ เช่น ไกพ่ นั ธุ์เนอ้ื ไกพ่ นั ธไุ์ ข่ดก วัวพันธ์ุ
นม และววั พนั ธเุ์ นือ้ เปน็ ตน้

ความหลากหลายระหวา่ งชนดิ พนั ธุ์ สามารถพบเห็นไดโ้ ดยทั่วไปถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งพชื และสัตว์
แตล่ ะชนิด ไมว่ า่ จะเปน็ สัตว์ทอ่ี ยใู่ กล้ตวั เชน่ สนุ ัข แมว จิง้ จก ตกุ๊ แก กา นกพิราบ และนกกระจอกเปน็ ตน้
หรือสิง่ มชี ีวติ ท่อี ยู่ในป่าเขาลาเนาไพร เช่น เสอื ชา้ ง กวาง กระจง เกง้ ลงิ ชะนี หมี และววั แดง เป็นตน้ พนื้ ที่
ธรรมชาติเป็นแหลง่ ที่อยู่อาศยั ของสง่ิ มชี ีวิตท่ีแตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุษย์ได้นาเอาสิ่งมชี ีวิตมาใชป้ ระโยชน์
ทางการเกษตร และอตุ สาหกรรม น้อยกวา่ รอ้ ยละ 5 ของสง่ิ มชี ีวติ ทง้ั หมด ในความเป็นจริงพบว่ามนุษย์ได้ใช้
พชื เป็นอาหารเพยี ง 3,000 ชนดิ จากพืชมีท่อลาเลยี ง (vascular plant) ทีม่ ีอย่ทู ้ังหมดในโลกถึง 320,000
ชนิด ทงั้ ๆ ท่ปี ระมาณรอ้ ยละ 25 ของพืชทีม่ ีท่อลาเลยี งนส้ี ามารถนามาบริโภคได้ สาหรบั ชนดิ พันธ์ุสัตว์นน้ั
มนษุ ย์ไดน้ าเอาสตั ว์เลย้ี งมาเพือ่ ใชป้ ระโยชนเ์ พียง 30 ชนิด จากสตั ว์มีกระดกู สันหลังทั้งหมดท่ีมีในโลกประมาณ
50,000 ชนิด (UNEP 1995)

ความหลากหลายระหว่างระบบนเิ วศเป็นความหลากหลายทางชีวภาพซง่ึ ซบั ซอ้ น สามารถเหน็ ไดจ้ าก
ความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศประเภทตา่ งๆ เชน่ ปา่ ดงดิบ ทุ่งหญ้า ปา่ ชายเลน ทะเลสาบ บงึ
หนอง ชายหาด แนวปะการงั ตลอดจนระบบนเิ วศทมี่ นษุ ยส์ ร้างขน้ึ เช่น ทุง่ นา อ่างเก็บนา้ หรอื แมก้ ระทงั่
ชมุ ชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหลา่ น้ี สิ่งมชี ีวิตก็ตา่ งชนิดกนั และมีสภาพการอยอู่ าศัยแตกต่างกนั

ความแตกตา่ งหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทาใหโ้ ลกมีถนิ่ ที่อย่อู าศัยเหมาะสมสาหรับสิ่งมชี ีวิตชนิด
ตา่ งๆ ระบบนิเวศแตล่ ะประเภทให้ประโยชน์แก่การดารงชีวิตของมนุษย์แตกต่างกนั อาทเิ ชน่ ป่าไม้ทาหน้าที่
ดดู ซบั น้า ไมใ่ หเ้ กิดน้าท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทาหน้าที่เก็บตะกอนไม่ใหไ้ ปทบถมจน
บริเวณปากอา่ วต้นื เขิน ตลอดจนป้องกนั การกัดเซาะบรเิ วณชายฝง่ั จากกระแสลมและคล่นื ดว้ ย เป็นต้น

อนกุ รมวิธาน (Taxonomy หรือ Systematics)

อนุกรมวิธาน (Taxonomy หรอื Systematics)
อนกุ รมวิธาน (Taxonomy หรือ Systematics) เป็นการศกึ ษาวิจัยเก่ียวกบั การจาแนกพันธ์ุ
คอื การจัดหมวดหมขู่ องสงิ่ มชี วี ติ ซึ่งจะศกึ ษาในดา้ นต่าง ๆ 3 ลกั ษณะ ได้แก่

1. การจัดจาแนกส่งิ มีชวี ิตออกเป็นหมวดหมู่ในลา ดับขน้ั ต่าง ๆ (Classification)
2. การตรวจสอบหาชอ่ื วทิ ยาศาสตรท์ ี่ถกู ตอ้ งของสงิ่ มีชีวิต (Identification)
3. การกาหนดชอื่ ทเี่ ปน็ สากลของหมวดหมู่และชนิดของส่ิงมีชีวติ (Nomenclature)

ชีววทิ ยา 2
หนา้ 3

ลาดบั การจัดหมวดหมู่
การจัดหมวดหม่ขู องสง่ิ มีชีวติ

การจดั หมวดหมขู่ องสิ่งมีชวี ติ จะจดั เป็นลา ดบั ขั้นโดยเรมิ่ ดว้ ยการจดั เป็นหมวดหมูใ่ หญ่ก่อน แล้วแตล่ ะหมู่
ใหญก่ ็จาแนกออกไปเป็นหม่ยู ่อยลงไปเรื่อย ๆ ในแต่ลา ดบั ข้ัน (taxon) จะมีช่ือเรียกกากับ ลาดับข้ันสูงสดุ หรอื
หม่ใู หญท่ สี่ ดุ ของสง่ิ มชี ีวิต คือ อาณาจักร (Kingdom) รองลมาเป็นไฟลมั (phylum) สา หรบั พืชใชด้ ิวชิ นั
(Division) ไฟลมั หรือดวิ ชิ นั หน่งึ ๆ แบ่งเปน็ หลายคลาส (Class) แตล่ ะคลาสแบง่ เปน็ หลาย ๆ ออร์เดอร์
(Order) ในแต่ละออร์เดอรม์ ีหลายแฟมิลี (Family) แฟมิลีหนึง่ ๆ แบ่งเป็นหลายจนี สั (Genus) และในแตล่ ะ
จีนัสกม็ หี ลายสปชิ ีส์ (Species) ดังนน้ั ลา ดบั ขน้ั ของหมวดหม่สู ่งิ มชี วี ิต (taxonomic category) จะเขียน
เรียงลาดับจากข้นั สงู สุดลดหล่นั มาข้นั ต่าดังนี้

 อาณาจกั ร (Kingdom)

 ไฟลัมหรือดวิ ชิ นั (Phylum or Division)

 คลาส (Class)

 ออร์เดอร์ (Order)

 แฟมลิ ี (Family)

 จีนสั (Genus)

 สปชิ ีส์ (Species)
การตงั้ ชื่อส่ิงมชี วี ิต ในการเรียกชื่อสงิ่ มชี ีวิต มเี รียกกัน 2 ชนดิ คือ

1. ช่อื สามัญ (Common name)
ชอื่ สามัญ (Common name) เป็นชือ่ เรยี กสิง่ มีชวี ติ ชนดิ หนงึ่ ซง่ึ แตกตา่ งกนั ไปตามภาษาและทอ้ งถน่ิ และ
มักมีช่อื เรียกกันอย่างสบั สน กอ่ ใหเ้ กิดปญั หามากมาย เป็นตน้ วา่ “แมลงปอ”ภาคเหนือเรียกวา่ “แมงกะป”้ี
ภาคใต้เรียกวา่ “แมงพี้” ภาคตะวันออก เรยี กวา่ “แมงฟ้า” “มะละกอ”ภาคเหนอื เรยี ก “บกั ก้วยเต้ด” ภาคใต้
เรยี ก “ล่อกอ” ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เรยี ก “บกั หุ่ง” เปน็ ตน้

2. ช่อื วทิ ยาศาสตร์ (Scientific name)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ (Scientific name) เปน็ ช่ือเฉพาะเพือ่ ใช้เรียกสง่ิ มีชีวติ เป็นแบบ
สากล ซึง่ นักวิทยาศาสตร์ทว่ั โลก ไม่ว่าชาติใดภาษาใดรู้จักกันโดยใช้ภาษาลาตนิ สาหรับตัง้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์

ชวี วทิ ยา 2
หน้า 4

อาณาจักรของสงิ่ มชี ีวิต

วิทเทเคอร์ (Whittaker, 1969) แบง่ สง่ิ มชี วี ติ ออกเป็น 5 อาณาจกั ร

บอกช่อื สงิ่ มชี ีวิตท่อี ยูใ่ นอาณาจกั รตอ่ ไปนี้

โพรติสตา สตั ว์ พืช
.................................. ............................... ...............................
.................................. ............................... ...............................
.................................. ............................... ...............................
.................................. ............................... ...............................
.................................. ............................... ...............................
..................................
................ .....

อาณาจักรสิ่งมชี วี ิต

มอเนอรา ฟังไจ
............................... ...............................
............................... ...............................
............................... ...............................
............................... ...............................
...........................
...............

ชีววิทยา 2
หน้า 5

อาณาจักรสตั ว์ (Kingdom Animalia หรือ Metazoa)

ชวี วทิ ยา 2
หน้า 6

ชีววิทยา 2
หน้า 7

กจิ กรรม

เพม่ิ เตมิ

อนสุ ัญญาวา่ ด้วยการค้าระหวา่ งประเทศซ่ึงชนดิ สตั วป์ า่ และพืชปา่ ที่ใกลส้ ูญพนั ธ์ุ Convention on
International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรือเรยี กโดยย่อวา่
ไซเตส (CITES) และเป็นท่รี ูจ้ กั ในช่ือ อนสุ ญั ญากรุงวอชงิ ตัน (Washington Convention) เป็น
สนธิสญั ญา ซ่ึงเริม่ ใช้บงั คับตั้งแตว่ ันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2518

นกั เรียนบอกเรอ่ื งราวที่เก่ียวขอ้ งกับ ไซเตส (CITES) มาเปน็ ข้อ ๆ

.................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
..............................................................................................................
...............................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................

................................................................................................................
.....................................
……………………………………………………………………………………………………

ชวี วิทยา 2
หนา้ 8

สิ่งมชี วี ิตในอาณาจกั รสตั ว์ มลี ักษณะสาคญั คือ
 เปน็ เซลลย์ คู าริโอต (Eukaryotic cell) มหี ลายเซลล์
 เซลล์เรยี งตัวเป็นเนือ้ เยอ่ื สร้างอาหารไมไ่ ด้ (Heterotrophic organism)

สัตว์แบง่ ออกเปน็ ไฟลัมตา่ งๆ ดังน้ี
1. ไฟลมั พอริเฟอรา (Phylum Porifera)

ลกั ษณะสาคัญ : อาศยั อย่ใู นนา้ เค็มเปน็ ส่วนใหญ่ ตัวเต็มวยั มักเกาะอยู่กบั ท่ี ลาตัวเป็นโพรง มชี อ่ งเปิด
ด้านบนมโี ครงสรา้ งค้าจนุ เรียกว่า สปคิ ุล (Spicule)

ตวั อยา่ ง : ฟองนา้ แก้ว ฟองน้าถูตวั ฟองนา้ หนิ ปูน

2. ไฟลัมซเี ลนเทอราตา (Phylum Coelenterata)

ลักษณะสา คญั : ลาตวั ทรงกระบอก มีชอ่ งเปดิ ออกจากลา ตวั ช่องเดยี ว มีอวยั วะคล้ายหนวดเรียกวา่
เทนตาเคิล(Tentacle) ที่เทนตาเคิลมีเนมาโทซิสต์ (Nematocyst) ไว้ป้องกนั ตัวและจบั เหยอ่ื กลางลา ตัวเปน็

ชอ่ งกลวง เรียกว่าGastrovascular cavity สบื พันธไ์ุ ด้ทั้งแบบอาศยั เพศและไมอ่ าศัยเพศ
ตวั อย่าง : ซีแอนนโี มนี ปะการงั กัลปงั หา แมงกะพรุน ไฮดรา

3. ไฟลัมแพลทเี ฮลมินเทส (Phylum Platyhelminthes)
ลกั ษณะสา คญั : มีลาตัวแบนยาว มชี ่องปากแตไ่ ม่มที วารหนกั ไม่มีระบบหมนุ เวียนเลอื ด อวยั วะ

สืบพนั ธุ์ท้งั สองเพศอยใู่ นตัวเดยี วกัน สืบพนั ธ์ไุ ดท้ ง้ั แบบอาศัยเพศและไมอ่ าศยั เพศ
ตวั อยา่ ง : พลานาเรีย พยาธใิ บไม้ พยาธติ ัวตดื

4. ไฟลัมเนมาโทดา (Phylum Nematoda)
ลักษณะสาคญั : ลาตัวกลมยาว ผิวเรยี บ ไม่เปน็ ปลอ้ ง มที ้ังปากและทวารหนกั แตไ่ ม่มรี ะบบเลอื ด

เพศผู้และเพศเมียแยกกันคนละตัว
ตวั อยา่ ง : หนอนในนา้ สม้ สายชู พยาธปิ ากขอ พยาธิโรคเทา้ ชา้ ง พยาธเิ สน้ ด้าย พยาธิแส้ม้า พยาธิตวั จดี๊ พยาธิ
ไสเ้ ดือน

5. ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)

ลกั ษณะสาคัญ : ลาตวั กลมยาวคล้ายวงแหวนต่อกันเปน็ ปลอ้ ง มีเยื่อก้นั ระหวา่ งปลอ้ ง แตล่ ะปล้องมี
เดอื ยสัน้ ๆเรียกว่า เดือย (Setae) ผวิ หนงั เปยี กชน้ื มรี ะบบหมนุ เวียนเลอื ดแบบวงจรปิด
ตวั อยา่ ง : ไสเ้ ดอื นดิน ทากดูดเลือด ปลงิ นา้ จดื แมเ่ พรยี ง

6. ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda)

ลักษณะสาคญั : มีเปลอื กแข็งหุ้มลา ตัว ลา ตัวแบง่ ออกเปน็ 3 ส่วน คอื ส่วนหวั ส่วนอก ส่วนทอ้ ง
บางพวกมีส่วนหัวกบั สว่ นอกเชือ่ มเป็นส่วนเดยี วกัน มีรยางค์เป็นข้อๆ ต่อกนั มรี ะบบเลือดแบบแวงจรเปดิ มี
ช่องว่างของลา ตัว(Haemocoel) สืบพนั ธุ์แบบอาศัยเพศ แบ่งย่อยเปน็ ระดบั คลาสไดห้ ลายคลาสดังน้ี

ชีววิทยา 2
หนา้ 9

6.1 คลาสอินเซกตา (Class Insecta) ได้แก่ สัตวจ์ า พวกแมลง
ลกั ษณะสาคญั : รา่ งกายแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น คอื สว่ นหัว ส่วนอก และส่วนท้อง มีหนวด 1
คู่ มีขา 3 คู่ อยทู่ ีส่ ว่ นอก

6.2 คลาสครัสเตเชยี (Class Crustacean) ไดแ้ ก่ สัตวพ์ วกก้งุ กงั้ ปู ไรน้า เหาไม้ (Wood lice)
เพรยี งตวั กะปิ ฯลฯ
ลกั ษณะสาคัญ : สว่ นหัวกบั สว่ นอกเชอื่ มรวมกัน มหี นวด 2 คู่ มีรยางคร์ อบปากจานวนมาก มี
ขา 5 คู่ อยู่ทสี่ ่วนอก หายใจด้วยเหงอื ก

6.3 คลาสอะแรชนดิ า (Class Arachnida) ไดแ้ ก่ สตั วพ์ วกเหบ็ แมงมุม แมงปอ่ ง
ลกั ษณะสาคญั : มขี า 4 คู่ ไมม่ ีหนวด สว่ นหัวและอกเชอ่ื มรวมกัน อาศัยอยู่ทั้งบนบกและ
ในนา้

6.4 คลาสเมอโรสโตมาตา (Class Merostomata) ไดแ้ ก่ แมงดาทะเลหางเหลยี่ มหรอื แมงดาจาน
แมงดาทะเลหางกลมหรือแมงดาถว้ ยหรอื เหรา (เห-รา)
ลักษณะสาคญั : มขี าเดนิ 5 คู่ สว่ นหวั และอกรวมเปน็ สว่ นเดยี วกัน ไมม่ ีหนวด

6.5 คลาสชิโลโพดา (Class Chilopoda) ไดแ้ ก่ สัตว์จา พวกตะเข็บ ตะขาบ ตะขาบฝอย
ลักษณะสาคญั : มขี าปลอ้ งละ 1 คู่ มีหนวด 1 คู่ มตี ่อมพษิ กินซากเน่าเปือ่ ยเป็นอาหาร

6.6 คลาสไดโพลโพดา (Class Diplopoda) ได้แก่ สตั วจ์ า พวกก้ิงกือ
ลกั ษณะสาคัญ : มีขาปลอ้ งละ 2 คู่ มหี นวด 1 คู่ กนิ ซากเนา่ เปอ่ื ยเปน็ อาหาร

7. ไฟลัมมอลลสั กา (Phylum Mollusca)
ลักษณะสาคญั : ลา ตวั นม่ิ ปกคลมุ ดว้ ยแมนเทิล (Mantle) ซึ่งเป็นเนอ้ื เยอื่ บางๆ ทีจ่ ะพฒั นาไปเป็น

เปลอื กแขง็ ระบบเลอื ดแบบวงจรเปิด ยกเว้น หมกึ หายใจด้วยเหงือก
ตัวอย่าง : หอยฝาเดียว หอยสองฝา ลนิ่ ทะเล ทากเปลอื ย และหมึกชนิดต่างๆ

8. ไฟลมั เอไคโนเดอมาตา (Phylum Echinodermata)
ลักษณะสาคัญ : เป็นสัตว์ทะเลทั้งส้ิน ผวิ หนงั หยาบขรขุ ระ ไม่มีส่วนหวั

ตัวอยา่ ง : ดาวทะเล เมน่ ทะเล ปลิงทะเล อีแปะทะเล ขนนกทะเล พลับพลงึ ทะเล
9. ไฟลมั คอรด์ าตา (Phylum Chordata)

ลกั ษณะสาคัญ : มชี อ่ งเหงอื ก ระบบประสาทอย่เู หนือทางเดินอาหาร มกี ระดกู สนั หลังหรือมีโนโต
คอร์ด แบง่ ออกเป็น 2 กลุม่ ใหญ่ๆ คอื

 สัตวใ์ นกลุม่ โพรโทคอร์เดต (Protochordate) ไม่มกี ระดูกสนั หลงั แต่มโี นโตคอรด์ เปน็ แกน
พยงุ ร่างกาย ได้แก่ สัตวพ์ วกเพรยี งหวั หอม เพรยี งสาย เพรียงลอย มีโนโตคอรด์ ในระยะตวั
อ่อนทบ่ี รเิ วณหางเมือ่ โตขน้ึ หางจะหายไปพร้อมกับโนโตคอร์ด แอมฟิออกซสั (Amphioxus)
มโี นโตคอร์ดตลอดชีวิต

 สตั วม์ ีกระดูกสนั หลัง(Vertebrate)มโี นโตคอรด์ ในระยะตัวอ่อน เม่ือเจริญเติบโตมากขึ้นจะมี
กระดูกสันหลงั ห่อหุ้มเสน้ ประสาทและไขสันหลังเอาไว้ ซงึ่ แบง่ เป็น

ชีววิทยา 2
หน้า 10

1. คลาสไซโคลสโตมาตา (Class Cyclostomata หรือ Agnatha) ได้แก่ ปลาปากกลม

มีทง้ั โนโตคอรด์ และกระดกู สันหลงั ตลอดชีวิต กระดกู อ่อน
2. คลาสคอนดริคไทอิส (Class Chondricthyes) ไดแ้ ก่ ปลากระดกู อ่อน เช่น ปลา

ฉลาม ปลากระเบนปลาฉนาก ปลาโรนนั และปลาไคมรี า
3. คลาสออสติอิคไทอิส (Class Osteichthyes) ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง
4. คลาสแอมฟเิ บีย (Class Amphibia) ได้แก่ สตั ว์คร่งึ บกคร่ึงน้า (Amphibian)

5. คลาสเรปทเี ลีย (Class Reptilia) ได้แก่ พวกสตั วเ์ ลอื้ ยคลาน (Reptile) เชน่ งู เตา่ กระ
ตะพาบนา้ จระเข้ จิ้งจก ตกุ๊ แก จง้ิ เหลน ตุด๊ ตู่ แย้ ตะกวด ไดโนเสาร์

6. คลาสเอวสี (Class Aves) ไดแ้ ก่ พวกสตั ว์ปกี
7. คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia) ได้แก่ สัตว์เล้ียงลกู ดว้ ยนา้ นม (Mammal)

กจิ กรรมเพมิ่ เติม อาณาจักรสตั ว์ ประกอบดว้ ย 9 ไฟลมั ให้เขียนชือ่ ไฟลมั และ ตวั อยา่ งสัตว์

ในแตล่ ะไฟลมั มา 1 ชนิด

.

อาณาจักรสัตว์

ชีววิทยา 2
หน้า 11

อาณาจักรพชื (Plant Kingdom)

ชวี วิทยา 2
หน้า 12

ชวี วิทยา 2
หน้า 13

ชวี วทิ ยา 2
หน้า 14

ความสาคัญของอาณาจักรพชื
พชื มีความสาคญั เปน็ อย่างมาก เน่อื งจากพืชทาหน้าที่เปน็ ผูผ้ ลติ อาหารใหแ้ กร่ ะบบนเิ วศ นอกจากนี้พืชยัง

มีประโยชน์ในด้านอ่ืนอีกหลายประการ เช่น พืชขนาดใหญ่ให้ไม้ซึ่งใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนและ
สิ่งของเครื่องใช้อ่ืนๆ พืชสมุนไพรใช้ในการรักษาโรคต่างๆได้หลายชนิด ไม้ดอกไม้ประดบั กล้วยไม้ วา่ น และ
พวกบอนต่างๆ ปลูกเพ่ือ ให้ความสวยงามและสบายใจแก่ผู้ปลูก แต่ก็มีพืชบางชนิดท่ีให้โทษเหมือนกัน เช่น
พวกวัชพืชต่างๆ ก่อให้เกดิ ความเสียหาย แกก่ ารเกษตร ผักตบชวา เจริญและแพรพ่ ันธุ์ลงสแู่ ม่น้าอยา่ งรวดเร็ว
ทาใหก้ ีดขวางการจราจรทางน้า ต้องเสยี ค่าใช้ จ่ายในการแกป้ ัญหาเหล่านเี้ ปน็ อย่างมาก พืชทั้งหมดทจ่ี ัดอยใู่ น
อาณาจักรนี้มีมากกว่า 350,000 species พืชเหล่าน้ีแพร่กระจาย ไปได้แทบทุกหนทุกแห่ง ทั้งบนบก ในน้า
บนภูเขาสูง หรือในทะเลทราย พืชแต่ละชนิดจะแตกต่างกันออกไป ทั้งทางด้านรูปร่าง ขนาด และการ
ดารงชวี ิต
ส่งิ มีชีวิตในอาณาจกั รพืช มลี ักษณะสาคญั คือ

 สร้างอาหารเองไดจ้ ึงเรยี กวา่ พวกออโตโทรป (Autotroph)
 มเี ซลล์แบบยูคารโิ อต
 ผนงั เซลล์ของพืชประกอบดว้ ยเซลลูโลสเปน็ ส่วนใหญ่
 วัฏจกั รชีวติ ของพืชเป็นแบบสลบั (Alternation of generation) ประกอบด้วย ระยะแกมโี ทไฟต์

(Gametophyte) เป็นระยะทม่ี ีโครโมโซมเพยี งชุดเดียว (n) และระยะสปอรโ์ รไฟต์ (Sporophyte)
เปน็ ระยะทมี่ จี านวนโครโมโซม 2 ชดุ (2n)
 มรี งควตั ถุสเี ขยี วบรรจอุ ยูใ่ นคลอโรพลาสต์
 การเจริญเติบโตผ่านระยะเอม็ บริโอ
ส่งิ มีชวี ิตในอาณาจกั รพืชแบง่ ออกเป็นหลายดิวชิ นั (Division) ดังน้ี
1. ดิวิชันไบรโอไฟตา (Division Bryophyta)
ลักษณะสาคญั : ไมม่ ีเนือ้ เย่ือลา เลียง (Non-vascular plant) มโี ครงสร้างคลา้ ยราก เรยี กวา่ ไรซอยด์
(Rhizoid) มีแกมีโทไฟต์เด่น สปอโรไฟต์อาศัยอยู่บนแกมีโทไฟตต์ ลอดชีวติ
ตวั อย่าง : มอส ลเิ วอร์เวิร์ต ฮอรน์ เวริ ์ต

2. ดวิ ิชันไซโลไฟตา (Division Psilophyta)
ลักษณะสาคญั : ลา ตน้ เปน็ เหลี่ยมแตกกิ่งออกเปน็ คๆู่ (Dichotomous branching) มอี บั สปอร์อยู่ทีก่ ิง่
มีโครงสรา้ งคลา้ ยราก เรยี กว่า ไรซอยด์ ต้นท่ีเหน็ ทัว่ ไปคือระยะสปอโรไฟต์ แกมโี ทไฟตม์ ขี นาดเลก็ และอายสุ ้ัน
ตัวอยา่ ง : หวายทะนอย หรือไซโลตัม (Psilotum)

3. ดวิ ิชนั ไลโคไฟตา (Division Lycophyta)
ลักษณะสาคญั : ใบบริเวณยอดจะเรียงซอ้ นกนั แนน่ เรยี กวา่ สโตรบิลัส (Strobilus) มหี น้าทส่ี ร้างสปอร์
ตวั อย่าง : ซแี ลกจเิ นลลา (Selaginella) หรอื พวกตนี ตุ๊กแก และพวกไลโคโพเดียม (Lycopodium) เช่น
สนหางสิงห์ สร้อยสกุ รม ช้องนางคล่ีและสามรอ้ ยยอด

ชีววิทยา 2
หน้า 15

4. ดวิ ชิ ันสฟโี นไฟตา (Division Sphenophyta)
ลกั ษณะสาคัญ : ลา ต้นมีขนาดเลก็ มขี ้อและปล้องเหน็ ชดั เจน มสี โตรบิลัสที่ปลายยอด เมอ่ื เจรญิ เติบโตเตม็ ที่
ภายในลา ตน้ จะกลวง ผนังเซลล์ประกอบด้วยสารซลิ กิ า
ตวั อย่าง : อคิ วิเซตัม (Equisetum) หรอื หญา้ หางม้า หรือหญ้าถอดปลอ้ ง

5. ดวิ ิชันเทอโรไฟตา (Division Pterophyta)
ลกั ษณะสาคญั : ใบออ่ นจะม้วนเปน็ วงเหมือนลานนาฬิกา (Circinate leaf) ต้นที่เหน็ คอื ระยะสปอโรไฟต์ มี
การสรา้ งสปอรภ์ ายในอบั สปอรท์ อ่ี ย่บู รเิ วณใต้ใบ เมอื่ สปอร์แกเ่ ต็มที่และตกลงไปในทชี่ ่มุ ช้นื ก็จะงอกเปน็ แกมโี ท
ไฟตซ์ ่ึงมีลักษณะเป็นแผน่ เลก็ ๆ คล้ายรปู หัวใจเรยี กวา่ Prothallus ทา หน้าทสี่ ร้างเซลลส์ ืบพนั ธุ์
ตวั อยา่ ง : พชื พวกเฟนิ (Fern) เช่น ชายผา้ สีดา ผักแว่น ผักกดู นา้ เฟินใบมะขาม แหนแดง จอกหหู นู
ย่านลิเภา ฯลฯ

6. ดิวิชนั โคนเิ ฟอโรไฟตา (Division Coniferophyta)
ลักษณะสาคัญ : เมลด็ ไมม่ ผี นังรงั ไขห่ ่อหุ้ม จึงเรียกวา่ เมล็ดเปลอื ย (Naked seed) อวัยวะสืบพนั ธมุ์ ีลกั ษณะ
เปน็ แผ่นแข็ง เรยี กวา่ สโตรบิลัส หรือโคน (Cone) เนือ้ เย่ือลา เลียงน้ามีเฉพาะเทรคี (Tracheid) ในปมรากสน
มรี าไม-คอร์ไรซา (Mycorrhiza) ราพวกนส้ี ามารถเปลีย่ นฟอสฟอรสั ในดนิ ให้อยู่ในรปู ที่พืชนา ไปใช้ได้ ทา ให้
ตน้ สนโตเรว็
ตวั อย่าง : สนสองใบ สนสามใบ สนหางสิงห์ สนฉัตร

7. ดวิ ิชันไซแคโดไฟตา (Division Cycadophyta)
ลกั ษณะสาคัญ : ตน้ ตัวผแู้ ละตัวเมียแยกกัน มีสโตรบิลัสหรอื โคนท่ีปลายยอดของลาตน้ เมลด็ ไม่มีผนังรงั ไข่ห้มุ
ตัวอยา่ ง : ปรง

8. ดิวิชันกิงโกไฟตา (Division Ginkgophyta)
ลักษณะสาคญั : แผ่นใบกว้างคล้ายรูปพัด เมลด็ ไม่มีผนงั รงั ไขห่ ุ้ม เมล็ดมขี นาดใหญ่รับประทานได้ ชอบข้ึนใน
เขตหนาว เช่น จนี เกาหลี ญีป่ ุน่
ตวั อย่าง : แปะกว๊ ย (Ginkgo biloba)
[พชื พวกสน ปรงและแปะกว๊ ย เรยี กรวมกันว่า พวกจมิ โนสเปริ ม์ (Gymnosperm)

9. ดวิ ิชั่นนีโทไฟตา (Division Gnetophyta)
ลักษณะสาคัญ : จดั เปน็ Gymnosperm ท่มี วี ิวัฒนาการสูงสดุ มีลกั ษณะบางอยา่ ง ใกลเ้ คยี งกบั พชื มดี อก
สว่ นใหญ่พบในเขตแหง้ แล้งหรือทะเลทราย ท่ีมตี ้นแยกเพศ ลกั ษณะเปน็ ไม้เถาเลื้อยขนาดใหญ่ และ
มใี บเจรญิ ดี แผแ่ บนและมีเส้นใบเป็นร่างแหเหมือนกับใบของพชื ใบเลี้ยงคู่พชื ที่สร้างเมล็ดเปลอื ย
ตวั อยา่ ง : มะเมื่อย (Gnetum)

ชีววิทยา 2
หน้า 16

9. ดวิ ิชันแอนโทไฟตา (Division Anthophyta)
ลักษณะสาคัญ : มีดอกเป็นอวัยวะสืบพนั ธุ์ เมลด็ มีรังไขห่ อ่ หุ้มและเจริญอยูใ่ นรังไข่ เรียกพชื พวกนว้ี า่
แองจโิ อสเปิร์ม (Angiosperm) พชื ดอกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อยๆ คือ พืชใบเลี้ยงเดยี่ ว (Monocotyledon)
กับพืชใบเลยี้ งคู่(Dicotyledon)
ตัวอยา่ ง : พชื มดี อก มีขนาดแตกต่างกันต้ังแต่ขนาดเล็ก เชน่ แหนเป็น ( Duckweed ) ไขน่ า้ หรอื ผา ไปจนถึง
ขนาดใหญ่ เช่น ตน้ สกั

กิจกรรมเพ่ิมเติม

วาดภาพ Plant cell

นวิ เคลยี ส

ชีววทิ ยา 2
หน้า 17

กจิ กรรมเพ่ิมเตมิ

อาณาจกั รพืช ประกอบดว้ ย 10 ดวิ ิช่นั

.

อาณาจักร
พืช

ชวี วิทยา 2
หน้า 18

อาณาจกั รมอเนอรา (Monara kingdom)

bacteria

ชีววิทยา 2
หนา้ 19

ส่ิงมีชีวิตทอ่ี ย่ใู นอาณาจกั รมอเนอรา โครงสรา้ งของเซลล์เปน็ แบบโพรคารโิ อต (Procaryote)
ไม่มีเย่อื หุ้มนิวเคลยี ส สิ่งมชี ีวิตในอาณาจักรน้แี บ่งออกเปน็ 2 ไฟลมั คือ

1. ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta)
ลกั ษณะสาคญั : เป็นส่งิ มีชีวิตเซลลเ์ ดยี วขนาดเลก็ (1-5 ไมโครเมตร) ไม่มเี ยอ่ื หุม้ นวิ เคลียส สารพันธกุ รรม
กระจายทัว่ ไปในเซลล์ มรี ปู รา่ งหลายแบบ เชน่ รูปร่างกลม เรียกวา่ คอคคสั (Coccus) รูปร่างเป็นท่อน
เรียกวา่ บาซลิ ลัส (Bacillus) และพวกที่มรี ูปรา่ งเปน็ เกลยี ว เรยี กวา่ สไปรลิ ลมั (Spirillum) พวกทีด่ ารงชวี ิต
แบบภาวะมกี ารยอ่ ยสลายจะทา ให้อาหารบูดเน่า แบคทเี รียบางชนิด เชน่

Rhizobium sp. : Azobactor sp. สามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศมาเปลยี่ นเป็นเกลือไนเตรต ซงึ่
เปน็ ประโยชนต์ ่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื

แบคทเี รียพวกบาซิลลัส (Bacillus sp.) นา มาผลิตวิตามิน B12 ได้
แบคทเี รียพวกสเตรปโตมัยซิส(Streptomyces sp.) ใชผ้ ลติ สารปฏชิ วี นะ เชน่

สเตรปโตมัยซนิ คานามัยซนิ ได้
แบคทีเรยี บางชนิดนา มาใช้ในการผลิตนา้ ปลา นมเปร้ยี ว นา้ สม้ สายชู และผลติ สารต่างๆ ท่ี

สาคญั เชน่ ฮอรโ์ มน เอนไซม์ วคั ซีน เป็นต้น
ตวั อย่าง : แบคทเี รยี Streptomyces sp , Rhizobium sp. , Azobactor sp. , Bacillus sp.

2. ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta)
ลกั ษณะสาคัญ : มคี ลอโรฟีลลใ์ นไซโตพลาสซมึ สามารถสงั เคราะห์ด้วยแสงได้ มี Phycocyanin รงควตั ถุ
สนี ้าเงนิ และ Phycoerythrin (รงควัตถุสีแดง) สาหร่ายสีเขยี วแกมนา้ เงนิ พวกท่ตี รึงไนโตรเจนได้ เช่น

 Anabaena sp. ;Nostoc sp. สว่ นพวกท่ีมีโปรตีนสูงนา มาใชเ้ ปน็ อาหารเสรมิ ของคนได้
เช่น สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina sp.)

ตวั อยา่ ง : Anabaena sp. ; Nostoc sp. , Spirulina sp. , Oscillatoria sp.

ชวี วทิ ยา 2
หน้า 20

กิจกรรมเพิ่มเติม

เร่อื งนา่ สนใจ… จากการรายงานผลการศึกษาของทีมนกั วิจยั ในทป่ี ระชุมสมาคมเคมแี ห่งสหรฐั อเมรกิ า (American

Chemical Society) ไดเ้ ผยถึงขอ้ มลู ของจลุ ินทรีย์ท่ีจะนามาใช้ในการย่อยสลายนา้ มนั พรอ้ มกบั ให้ขอ้ สรุปด้วยว่าทาไมการ
ใช้สารเคมขี จดั คราบน้ามนั จึงไม่เปน็ ผลสาเร็จในภารกิจดงั กลา่ ว ขณะท่ีผลกระทบในระยาวจากการปนเปอ้ื นของน้ามนั ดบิ
ปริมาณมหาศาลในทะเลเปน็ เวลานานหลายสบิ สัปดาหก์ ็ยงั ไม่เป็นท่ที ราบแน่ชัด แม้วา่ จะมกี ารกาจัดน้ามันดิบออกไปไดใ้ น
เวลา 87 วนั ภายหลงั การระเบดิ ของแท่นขดุ เจาะ และข้อวติ กกงั วลทเี่ ด่นชัดที่สดุ ของนักวิทยาศาสตร์กค็ ือ ทาอยา่ งไรใหอ้ า่ ว
เม็กซิโกกลับคนื สูส่ ภาพเดมิ

ศาสตราจารย์ เทอร์รี ฮาเซน (Prof Terry Hazen) จากมหาวทิ ยาลัยเทนเนสซี (University of Tennessee) เมือง
น็อกซว์ ิลล์ มลรฐั เทนเนสซี ผู้ทาการศึกษาจลุ นิ ทรยี ์ย่อยสลายคราบน้ามนั ที่ค่อยๆ ขยายผลในการศึกษาไปสรู่ ะดับที่ใหญ่ขนึ้
เร่ือยๆ นับต้งั แต่เกิดหายนภยั แทน่ ขดุ เจาะนา้ มันดีพวอเตอร์ฮอไรซนั (Deepwater Horizon) ของบริติชปโิ ตรเลียม (BP)
ระเบดิ เม่ือ เม.ย.2010 ส่งผลให้เกดิ การร่ัวไหลของน้ามนั ดิบคร้ังรนุ แรงท่สี ดุ นอกชายฝั่งสหรฐั ฯ กระทง่ั ล่าสดุ ทมี วิจยั ค้นพบ
จลุ ินทรยี ์บางกล่มุ ที่มปี ระสิทธภิ าพในการย่อยสลายคราบนา้ มนั ชนดิ ท่ีวา่ ไม่เคยเห็นมาก่อน
“พวกมนั สามารถยอ่ ยสลายโมเลกลุ ของสารแอลเคน (alkane) ซึง่ เปน็ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดสายโซ่ยาวท่ี
เป็นองค์ประกอบในน้ามนั ปโิ ตรเลยี ม เรยี กไดว้ า่ พวกมนั เปน็ จรวดนาวิถใี นการค้นหาน้ามันโดยแทจ้ ริง” ฮาเซนเผยในการ
ประชมุ ซง่ึ บบี ซี นี ิวส์นามารายงานต่อ เขาบอกวา่ ในทางทฤษฎีกค็ งไมใ่ ชเ่ รื่องนา่ ประหลาดใจทท่ี อ้ งทะเลจะเป็นแหลง่ ของ
จุลนิ ทรยี ์กินน้ามัน เพราะโดยธรรมชาตแิ ลว้ กเ็ กดิ การรัว่ ซึมของน้ามันจากก้นมหาสมุทรมาเปน็ เวลาหลายล้านปีแล้ว และจาก

รไวา้วยา่ งาในนขแอตงล่ สะมปามี คีกมาวรทิ รยวั่ ซาศมึ อาขสอาตงณรน์แา้ หามง่ันจชดกัาบิ ตรใสิ นโหบพรรัฐิเรอวตณเมิสอร่าิกตวาเาม(U็ก(SซKิโNกiaเnฉtiลgo่ียndมaาolกAmถcึงad1P4e0mr,o0y0to0ifsตStันcaie)nces report) ในปี 2546 ไดร้ ะบุ

ผลของการศกึ ษาวิจยั ครงั้ ล่าสุดท่ตี ีพิมพ์ในวารสาร “ฟรอนเทยี รส์ อินไมโครไบโอโลจ”ี (Frontiers in Microbiology)
ศ.ฮาเซน และทีมวจิ ัยได้ทาการสร้างแผนท่จี โี นมของจลุ ินทรยี ์ และทาการค้นหาว่ายนี ใดเกยี่ วข้องกับคุณสมบตั ิในการยอ่ ย
สลายนา้ มนั ที่มคี วามเข้มข้นสงู ซึง่ น้ามนั ทร่ี ่วั ออกมาจากแทน่ ขุดเจาะน้ามันดีพวอเตอร์ ฮอไรซัน ประกอบไปดว้ ยโมเลกลุ
คารบ์ อนหลากหลายชนิด เชน่ แอลเคน, มีเทน และสารในกล่มุ โพลิไซคลกิ อะโรมาตกิ ไฮโดรคาร์บอน (polycyclic
aromatic hydrocarbons : PAHs) ซง่ึ มคี วามเป็นพษิ ตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม

(บทความจาก http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9560000044195 16 เมษายน 2556 08:56 น.)

นักเรยี นเหน็ ดว้ ยกับการใช้ แบคทีเรยี กินน้ามัน หรือไม่ เพราะเหตุผลใด

............................................................................................................................. ....................................................................

............................................................ ............................................................................................................................. ........

.......................................................................................................................... .......................................................................

............................................................................................................................. ........................................................... ...........

............................................................................................................................. ...................................................................

................................................................................................................................................................................ ................

................................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..................................................................

............................................................................................................................. ...................................................................

................................................ ............................................................................................................................. ...................

................................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ................................................. ..................

ชีววิทยา 2
หน้า 21

อาณาจักรโพรตสิ ตา (Protista) Kingdom)

ชวี วิทยา 2
หน้า 22

ชวี วิทยา 2
หนา้ 23

สงิ่ มชี วี ิตท่จี ัดไว้ในอาณาจักรนเี้ ซลล์เป็นแบบยคู าริโอต (Eucaryote) เซลล์ยังไมม่ ีการจัดเรยี งเปน็
เนอื้ เยอ่ื ไมม่ รี ะยะเอ็มบรโิ อ ประกอบด้วยพวกโพรโตซวั (Protozoa) และสาหรา่ ย (Algae) แบง่ ออกได้หลาย
ไฟลัมดังนี้
1. ไฟลมั โพรโตซวั (Phylum Protozoa)

แบ่งย่อยออกเปน็ 4 กล่มุ ดังน้ี
1.1 พวกทีเ่ คลื่อนท่ีโดยใช้แฟลกเจลลมั (Flagellum) เชน่ ยูกลีนา (Euglena sp.) แคลมโิ ด-

โมแนส (Chlamydomonas sp.)
1.2 พวกที่เคล่อื นทโ่ี ดยใชซ้ เิ ลีย (Cilia) เชน่ พารามเี ซียม (Paramecium sp.) วอร์ตเิ ซลลา

(Vorticella sp.)
1.3 พวกที่เคลอ่ื นทโ่ี ดยใชซ้ ูโดโพเดยี ม (Pseudopodium) เชน่ อะมบี า (Amoeba sp.) เชื้อบดิ

มีตัว (Entamoeba histolyitca) ทา ใหเ้ กิดโรคบิดชนดิ มตี ัวมีผลใหล้ า ไส้อักเสบในคน
1.4 พวกทไ่ี ม่มโี ครงสร้างในการเคลอ่ื นที่ ไดแ้ ก่ พลาสโมเดียม ซ่ึงเป็นสาเหตุของโรคมาลาเรยี

สบื พนั ธุ์โดยการสรา้ งสปอร์ จึงเรยี กว่า พวกสปอโรซวั (Sporozoa) โปรโตซวั ที่ดารงชีวติ
แบบภาวะพึ่งพา (Mutualism) เช่น Entamoeba gingivalis อาศยั อย่ทู ี่คอฟันคอยกนิ
แบคทีเรยี ในปาก, Trichonympha sp. ทอ่ี าศยั อยู่ในลา ไสป้ ลวก

ชีววิทยา 2
หน้า 24

2. ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta)

ไดแ้ ก่ พวกสาหรา่ ยสเี ขียว เช่น คลอเรลลา (Chlorella sp.) ซีนีเดสมสั (Senedesmus sp.) สไปโรไจรา
(Spirogyra sp.) หรอื เทานา้

3. ไฟลัมคริโซไฟตา (Phylum Chrysophyta)

ได้แก่ พวกสาหร่ายสีนา้ ตาลแกมเหลือง (Golden - brownalgae) เช่น ไดอะตอม (Diatom sp.) ผนังเซลลม์ ี
สารพวกซลิ ิกา ไดอะตอมจัดเป็นส่ิงมชี ีวติ ท่สี ามารถผลติ แก๊สออกซิเจน ได้มากทีส่ ดุ ในทะเล

4. ไฟลัมฟโี อไฟตา (Phylum Phaeophyta)

ได้แก่ พวกสาหรา่ ยสีนา้ ตาล เชน่ ลามนิ าเรยี (Larminaria sp.) พาไดนา (Padina sp.) และฟวิ กัส
(Fucus sp.) สาหร่ายทง้ั 3 ชนดิ นีใ้ ช้ทา ปยุ๋ โพแทสเซียมได้ ซาร์แกสซัม (Sargassumsp.) มธี าตไุ อโอดนี สูง
สาหร่ายสนี ้าตาลบางชนิดสามารถนา มาสกดั แอลจิน (Algin) นา มาใชใ้ นอตุ สาหกรรมทา ยา สบกู่ ระดาษ ยา
และอาหารบางชนดิ

5. ไฟลัมโรโดไฟตา (Phylum Rhodophyta)
ไดแ้ ก่ สาหรา่ ยสีแดง เชน่ จฉี ่ายหรือพอร์ไฟรา(Porphyra sp.)ใช้เป็นอาหารได้ สาหร่ายผมนางหรือ
กราซิลาเรยี (Gracilaria sp.) ใช้ผลิตวุ้น

6. ไฟลมั มิกโซไมโคไฟตา (Phylum Myxomycophyta)
ไดแ้ ก่ พวกราเมอื ก (Slime mold) เช่น สเตโมนิทิส (Stemonitis sp.) ไฟซารัม (Physarum sp.)
ดคิ ไทโอสเตลเลียม (Dictyostellium sp.) ส่วนใหญด่ า รงชีวิตแบบภาวะยอ่ ยสลาย แตม่ บี างชนดิ เช่น พลาส
โมดิโอฟอรา (Plasmodiophora sp.) เปน็ สาเหตุทา ให้เกิดรากโป่งในกะหลา่ ปลี

ชีววิทยา 2
หน้า 25

กจิ กรรมเพิม่ เติม

อาณาจกั รโพรตสิ ตา ประกอบด้วย 6 ไฟลมั

.

อาณาจักร
โพรติสตา

ชวี วทิ ยา 2
หน้า 26

อาณาจกั รฟงั ไจ (Kingdom Fungi)

สงิ่ มชี วี ิตในอาณาจกั รน้ี ได้แก่ พวกเห็ด รา ยีสต์ (ยสี ตม์ เี ซลล์เดียว) พวกหลายเซลล์ ประกอบดว้ ยเส้น
ใยเรยี กว่า ไฮฟา (Hypha) รวมกันเป็นกลุม่ เรียกวา่ ไมซเี ลยี ม (Mycelium) ผนงั เซลล์ประกอบด้วยสารไคทิน
(Chitin) และเซลลูโลส สืบพนั ธโ์ุ ดยการสรา้ งสปอรแ์ บบอาศยั เพศและไม่อาศยั เพศ การแบ่งหมวดหมขู่ อง
อาณาจกั รฟงั ไจออกเปน็

ดวิ ชิ ันต่างๆ จะใช้การสร้างสปอร์เป็นเกณฑ์ ดงั น้ี
1.ดิวิชนั ไซโกไมโคไฟตา (Division Zygomycophyta)

ราดา (Rhizopus spp.) ทข่ี ้ึนบนขนมปัง
ลักษณะสาคัญ : ไฮฟาไมม่ เี ยอ่ื หุ้มจึงมนี ิวเคลียสมาก ผนังเซลลเ์ ปน็ สารพวกไคติน มีการสร้างสปอรโ์ ดยการ
สบื พันธแ์ุ บบอาศยั เพศ เรียกว่า ไซโกสปอร์ (Zygospore)
ตัวอย่าง : ราดา (Rhizopus spp.) ที่ขนึ้ บนขนมปัง

2. ดวิ ชิ ันแอสโคไมโคไฟตา (Division Ascomycophyta)
ลกั ษณะสาคัญ : ไฮฟามีเย่ือกนั้ ไฮฟามรี ูทะลุทา ให้ไซโตพลาสซมึ และนวิ เคลียสไหลถึงกนั ได้ มีการสร้างสปอร์
โดยการสืบพนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศ เรยี กวา่ แอสโคสปอร์ (Ascospore)
ตวั อยา่ ง : ยสี ต์ (Saccharomyces spp.) ราสีแดง (Monascus spp.) ทใี่ ช้ผลติ ข้าวแดงและเต้าหู้ย้ี

ชวี วทิ ยา 2
หนา้ 27

3. ดวิ ิชันเบสิดิโอไมโคตา (Division Basidiomycota)

ได้แก่ เห็ดชนิดต่างๆ และราสนมิ (Puccinia graministritici) ซ่ึงเป็นราที่ทา ใหเ้ กิดโรค
ลกั ษณะสาคญั : ไฮฟามีเยอ่ื กัน้ อย่างสมบรู ณ์ มกี ารสรา้ งสปอรโ์ ดยการสืบพนั ธแ์ุ บบอาศัยเพศ เรยี กว่า
เบสิดโิ อสปอร์ (Basidiospore)

ตวั อย่าง : เหด็ ชนิดตา่ งๆ และราสนมิ (Puccinia graministritici) ซึ่งเปน็ ราทท่ี าใหเ้ กดิ โรค

4. ดิวชิ นั ดวิ เทอโรไมโคตา (Division Deuteromycota)
ลกั ษณะสาคญั : ไมม่ ีการสืบพนั ธ์แุ บบอาศยั เพศ สรา้ งสปอรโ์ ดยโครงสร้างท่ีเรยี กวา่ โคนเิ ดยี (Conidia)
ตัวอย่าง : ราเพนซิ ลิ เลยี ม (Penicillium sp.) รา Aspergillus niger

ประโยชน์และโทษของฟังไจ
- ใชเ้ ป็นอาหาร

- นา มาผลิตเนยแขง็ เต้าเจี้ยว ซีอว๊ิ เตา้ หยู้ ้ี กรดซติ รกิ และสารเคมีต่างๆ เชน่ เอนไซม์
เซลลูเลส
- นา มาผลติ ยาปฏชิ ีวนะ เช่น เพนซิ ิลลนิ เทอราไมซนิ เป็นต้น

- ทา ให้อาหารบดู เน่า
- ทา ให้เกดิ โรคผวิ หนัง

- ราบางชนดิ เชน่ Aspergillus flavas ผลิตสารพษิ พวก อะฟลาทอกซิน (Aflatoxin)
เปน็ สาเหตุทา ใหเ้ กิดโรคมะเร็งตับ- ทา ใหเ้ กิดโรคในพืช

กจิ กรรมเพิ่มเติม อาณาจักรฟงั ไจ ประกอบด้วย 4 ดิวิชนั่


อาณาจักร .
ฟังไจ

ชีววิทยา 2
หนา้ 28

ไลเคนส์ (Lichens) ไวรัส (Virus) ไวรอยด์ (Viroid)

ไวรสั

ไลเคนส์ (Lichens)
ไลเคนสป์ ระกอบด้วยโปรตสิ ต์ 2 ชนิด คอื รากบั สาหร่าย โดยอยรู ่ว่ มกันแบบภาวะพึ่งพา มีประโยชน์
คือ สรา้ งกรดมาย่อยสลายหินให้กลายเป็นดิน สารปฏชิ วี นะในไลเคนสช์ ว่ ยรกั ษาบาดแผลทเี่ กิดจากไฟลวกได้
และยงั เป็นเครอื่ งบง่ ชีม้ ลพิษทางอากาศ โดยการช่วยดูดอากาศเสีย ถ้าอากาศเปน็ พษิ มาก
ไลเคนสจ์ ะตาย ไลเคนสแ์ บง่ ออกเปน็ 3 พวก คอื
1. Crustose lichen หรือฟองหิน มีลกั ษณะเป็นแผน่ บาง ชอบขึ้นตามหนิ และเปลอื กไม้
2. Foliose lichen มลี ักษณะเป็นแผน่ บางคล้ายใบไม้ เกาะตามหิน เปลือกไม้
3. Fruticose lichen หรอื ฝอยลม มลี กั ษณะเป็นเสน้ ยาวมาก เกาะตามกงิ่ ไม้
ไวรสั (Virus)

ไวรสั ไมม่ ลี ักษณะเปน็ เซลล์เพราะไม่มเี ยอ่ื หุ้มเซลล์และไซโทพลาสซมึ มแี ต่ DNA หรอื RNA มี
โปรตีนหอ่ หุ้มอยูด่ ารงชวี ติ แบบปรสติ ภายในเซลล์ (Obligatory parasite) ไมอ่ ยเู่ ปน็ อิสระ สบื พันธ์เุ พิม่ จานวน
โดยการจา ลองตัวเอง และตอ้ งอาศัยสารเคมีจากโฮสต์ ไวรสั ท่ีเปน็ ปรสติ อยใู่ นแบคทีเรีย เรียกวา่
Bacteriophage ตวั อยา่ งโรคท่ีเกิดจากไวรสั

 โรคใบด่างของยาสูบและถั่วลิสง
 โรคใบหงกิ ของพริก
 โรคแคระแกรน็ ในตน้ ขา้ ว
 โรคไวรัสในกุ้งกลุ าดา เกดิ จากไวรัส MBV (Monodom Baculo Virus)
 ไข้หวัด ไขห้ วัดใหญ่ โปลิโอ ตบั อักเสบ โรคพิษสนุ ขั บ้า งสู วดั
 โรคเอดส์ เกิดจากไวรัส HIV (Human Immune Deficiency Virus)
 ไวรสั ทีท่ า ให้เกดิ โรคกับหนอนกระทู้เกดิ จากไวรสั Nuclear polyhediosis virus
 โรคปากและเท้าเปือ่ ยในสตั ว์

ไวรอยด์ (Viroid)
ไมเ่ ป็นเซลล์ จดั เป็นอนุภาคเชน่ เดยี วกบั ไวรัส มีสารพันธกุ รรมเฉพาะ RNA เท่านน้ั ไม่มีปลอกโปรตนี หุ้ม
ไม่มีเอนไซมส์ าหรับเมแทบอลซิ ึม เป็นปรสิตในพชื ไม่สามารถเพิ่มจานวนได้เมื่ออยนู่ อกเซลล์

ชีววิทยา 2
หนา้ 29

ความรเู้ พ่มิ เติม

ไวรัสโคโรนาคอื อะไร

ไวรัสโคโรนาเป็นไวรสั ในวงศใ์ หญ่ที่เป็นสาเหตุของโรคทง้ั ในสตั ว์และคน ในคนน้ัน ไวรัสโคโรนาหลาย
สายพนั ธ์ทุ าให้เกิดโรคระบบทางเดนิ หายใจตั้งแต่โรคหวัดธรรมดาจนถงึ โรคทีม่ อี าการรุนแรง เชน่ โรคทางเดิน
หายใจตะวันออกกลาง (MERS) และโรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลนั ร้ายแรง (SARS) ไวรัสโคโรนาที่
คน้ พบลา่ สุดทาใหเ้ กิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โควิด 19

โรคโควิด 19 คืออะไร

โรคโควดิ 19 คือโรคติดต่อซึง่ เกิดจากไวรัสโคโรนาชนดิ ทมี่ กี ารค้นพบล่าสดุ ไวรสั และโรคอุบัติใหม่นี้
ไมเ่ ปน็ ท่ีร้จู กั เลยก่อนท่ีจะมกี ารระบาดในเมืองอูฮ่ ่ัน ประเทศจีนในเดือนธนั วาคมปี 2019 ขณะนีโ้ รคโควดิ 19
มกี ารระบาดใหญไ่ ปท่ัว สง่ ผลกระทบแกห่ ลายประเทศท่วั โลก

ให้นกั เรยี นเขียนข้อมูลเพ่ิมเตมิ เกยี่ วกับส่ิงมีชีวิตในภาพ
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version