The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาวิเคราะห์เมืองอู่ทองประวัติศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-13 08:13:56

การศึกษาวิเคราะห์เมืองอู่ทองประวัติศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

การศึกษาวิเคราะห์เมืองอู่ทองประวัติศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

128

ครอบคลุมไปท่ัวในแถบแหลมอินโดจีน ตอมาพุทธศตวรรษที่ 6 พระพุทธศาสนานิกายมหายาน ก็ได
เขาสูประเทศไทยสมัยกอน โดยมาทางบกเขามาทางแควน เบงกอล ทางพมาเหนือ และทางทะเลซึ่ง
มาข้ึนท่ีแหลมมลายู สุมาตราและออมอาวเขามาทาง ประเทศกัมพูชา ชวงเวลาดังกลาว ชาวฟูนันนับ
ถือพระพุทธศาสนาทั้งแบบเถรวาทและมหายาน ซึ่งเจริญรุงเรืองอยางมากจนถึงกับมีสมณทูตชาว
ฟูนันเดินทางไปแปลพระคัมภีรถึงประเทศจีน ในพุทธศตวรรษที่10 คือ ทานพระสังฆปาละ และพระ
มันทรเสน8

6. สังคีติยวงศ พงศาวดารเรื่องสังคายนาพระธรรมวินัย9 กลาววา พระพุทธศาสนา เขาสู
ประเทศไทยตั้งแตสมัยสุวรรณภูมิคือหลังจากทําสังคายนาคร้ังท่ี 3 พระเจาอโศกมหาราชทรง ใหสง
พระโสณะกบั พระอตุ ระพรอมดวยพระสงฆอีก 5 รูปมาทําการเผยแผพระพทธศาสนา

7. สุวรรณภูมิตนกระแสประวัติศาสตรไทย10 อาจารย สุจิตต วงษเทศ กลาวว่าประมาณ
พุทธศตวรรษท่ี 3 พระโสณเถระกับพระอุตตรเถระ อาศัยเรือพอคามาเผยแผ่พระพุทธศาสนา เปน
ครั้งแรก ท่ีดินแดนสวรรณภูมิบริเวณท่ีอยูระหวางลําน้ําแมกลอง-ทาจีน ปจจุบันคือ เขตอําเภออู่ทอง
จังหวัดสุพรรณบุรี กบั บานดอนตาเพชร อําเภอพนมทวน จงั หวัดกาญนบรุ ี

กลมุ ที่ 2 เชอ่ื วา พระพทุ ธศาสนาเขามาหลงั พุทธศตวรรษท่ี 6

1. เรอ่ื งโบราณคดีจากลายพระหัตถสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับของศาสตรา
จารยหลวงบริบาลบริภัณฑ11 หลวงบริบาลบริภัณฑ เห็นวา วัฒนธรรมอินเดียไดเขามามีบทบาทใน
ประเทศไทย และประเทศใกลเคียงต้ังแตสมัยโบราณ เร่ิมปรากฏหลักฐานต้ังแต่ พุทธศตวรรษท่ี 6
เปนตนมา และเห็นวา พระพุทธศาสนาไดเขามาสูประเทศไทยคล่ืนลูกแรกสุด ต้ังแตสมัยอมราวดี
(พุทธศตวรรษที่ 7-9) โดยอางถึงหลักฐานคือประติมากรรมดินเผารูปพระภิกษุ 3 องค์ และ
ประติมากรรมปูนป้นั รปู พระพุทธรปู นาคปรกศลิ าแบบอมราอมุ้ บาตร ที่อทู่ อง

2. สยามประเทศภูมิหลังของประเทศไทย ตั้งแต่ยุคดึกดําบรรพจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา
ราชอาณาจักรสยาม12 อาจารยศรีศักร วัลลิโภดม กลาวถึงอิทธิพลของศาสนาพุทธและฮินดูวา นาจะ
แพรหลายเขามาในดินแดนไทย เป็นท่ีนิยมอยางแพรหลายไม่นอ้ ยกวาพทุ ธศตวรรษท่ี 7-8

3. สวุ รรณภูมจิ ากหลักฐานโบราณคดี13 อาจารยผาสุข อนิ ทราวธุ กลาวถึงเมืองอูทองวา มี
การที่ติดตอกับพอคาอินเดียมาตั้งแตพุทธศตวรรษท่ี 3-5 พระพุทธศาสนาจากศูนยกลาง ในอินเดียใต

8 เสถยี ร โพธนิ ันทะ, ภูมปิ ระวัตพิ ระพุทธศาสนา, หนา 1-6
9 สมเด็จพระวันรัตน,(แตง,พระยาปริยตั ิธรรมธาดา(แพ ตาลลักษณ) แปล), สังคีติยวงศ พงศาวดาร
เรอื่ งสงั คายนาพระธรรมวินยั , หนา 46-75.
10 สจุ ติ ต วงษเทศ,สวุ รรณภมู ิ ตนกระแสประวตั ิศาสตรไทย, หนา 74-77.
11 หลวงบรบิ าลบรภิ ณั ฑ,ศ.,เร่ืองโบราณคดีฯ ,(พระนคร: รุงเรืองรตั น, 2503) หนา
12 ศรศี ักร วลั ลิโภดม,รศ.ศ.,สยามประเทศ ภูมิหลังของประเทศไทยตั้งแตยุคดึกดําบรรพจนถึง สมัย
กรงุ ศรอี ยธุ ยาราชอาณาจกั รสยาม, หนา 131.
13 ผาสุข อินทราวุธ,ศ.ดร.,สุวรรณภูมิจากหลักฐานโบราณคดี,(กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร
,2548), หนา 105-111.

129

ไดเขาสูประเทศไทยสมัยทวารวดีใน ราวพุทธศตวรรษท่ี 8-9 โดยอางหลักฐาน คือ ประติมากรรมดิน
เผารูปภิกษุ 3 องค อมุ บาตร

4.เมืองอู่ทองนั้นแท้จริง คือ เมืองโบราณท่ีสําคัญท่ีสุดแห่งหน่ึง ในประเทศไทย
ศาสตราจารย์ฌอง บวสเซอลิเยร์ นักโบราณคดีชาวฝร่ังเศส14 การพบเมืองสุพรรณภูมิวา่ เป็นเมืองอก
แตกขนาดใหญ่ที่ซ้อนกันอยู่กับเมืองสุพรรณบุรี ก็เป็นอีกกรณีหน่ึงท่ีทําให้ความเช่ือแต่เดิมท่ีว่า เมือง
อ่ทู องคือ เมอื งสุพรรณภมู ิ ทส่ี มเดจ็ พระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงทิง้ มาเพราะเกิดโรคระบาด
แล้วไปสร้างพระนครศรีอยุธยาเป็นราชธานี หมดไปทํานองตรงข้ามกลับพบว่า เมืองอู่ทอง ที่อําเภอ
อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีน้ัน แท้จริงคือเมืองโบราณสําคัญท่ีสุดแห่งหน่ึง ในประเทศไทย จนนัก
โบราณคดีชาวฝรั่งเศส ที่เดินทางมาสํารวจและขุดค้นทางโบราณคดีช่วงเวลาน้ัน ให้นําหนักว่า เป็น
เมืองสําคัญของแคว้นฟูนันที่มีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 7-8 ทเี ดียว และเมืองนี้ มีฐานะเป็นเมืองหลวง
มากอ่ นเมืองนครปฐมด้วยที่สําคัญ นักปราชญ์ชาวฝรั่งเศสทา่ นนีย้ อมรับวา่ เมืองอู่ทองรา้ งไปก่อนสมัย
สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ 1 ไมต่ ่าํ กวา่ 200-300 ปี.”

5. กลุ่มชนอาศัยอยู่ในบริเวณภาคกลาง กรมศลิ ปกร แหล่งโบราณคดแี ห่งประเทศไทย15มี
ความชัดเจนมากยิ่งขึ้นเมื่อเร่ิมมีหลักฐานดานโบราณคดีรองรับ แมวา หลักฐานจะมีเกาไปเพียงพุทธ
ศตวรรษที่ 8-9 กต็ าม ก็ยงั ชีใ้ หเ้ ห็นรองรอยว่า กลุมชนทอ่ี ยูในบริเวณภาคกลาง มพี ัฒนาการและความ
เจริญมากพอที่จะสามารถรับวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาได้ และ พบวาพระพุทธศาสนาเจริญรุ
งเรืองในสมัยทวารวดีอยางมากระหวางพุทธศตวรรษท่ี 11-16 รวมท้ังเปนศูนย์กลางเผยแผ
พระพทุ ธศาสนา

จากขอมูลเอกสารดังกลาว ทําให้วิเคราะห์ไดวา การเขามาของพระพุทธศาสนาจาก
ประเทศอินเดีย ตั้งแตสมัยพระเจาอโศกมหาราชนั้น มีมาแลวต้ังแต่ พุทธศตวรรษที่ 3 เจริญรุงเรือง
สืบตอมาจนถึงสมัยทวารวดี เพียงแต่ยังไมมีหลักฐานดานโบราณคดีมารองรับเทาน้ัน เนื่องจากนัก
โบราณคดี ไดตีความและวิเคราะหหลักฐานโบราณคดีท่ีพบบริเวณที่พระพุทธศาสนาเขามาวา มีอายุ
ไมเกนิ พทุ ธศตวรรษท่ี 8-9 เทาน้ัน

ในขณะที่ วรรณกรรมตางประเทศ ก็ไมได้ใหความกระจางมากนัก แม้แตวรรณกรรม
โบราณของอินเดีย ทั้งวรรณกรรม ในศาสนาพราหมณ ศาสนาพุทธ และนิกายของศาสนาเชน ไม่ได
กลาวถึงการขยายตัวของพระพุทธศาสนาจากประเทศอินเดียมายังดินแดนสุวรรณภูมิ แตประการใด
แมแต่ศิลาจารึก ของพระเจาอโศกมหาราช (พ.ศ.269-311) ซึ่งระบุเรื่องการสงสมณทูตไปเผยแผ
พระพุทธศาสนานอกประเทศอินเดีย ก็ไมไดกลาวถึงการสงสมณทูตไปเผยแผในสุวรรณภูมิด้วย
เชนกันอยางไรกต็ าม แมว้ า่ วรรณกรรมของอินเดียจะมิไดก้ ลาวถงึ รายละเอียดการเขามาของ

14 ศรีศักร วัลลิโภดม,รศ. หนังสือหลกั ฐานประวัติศาสตร์โบราณคดี,การประชุม สมั มนาทางวิชาการ
เร่ืองอู่ทองเมืองโบราณเมืองสร้างสรรค์การท่องเท่ียวเชิงประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตด้ังเดิม(2525),หน้า
50..

15 กรมศิลปากร,แหลงโบราณคดีประเทศไทย,(กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย,
2531), เลม 1 หนา 121-291; เลม 2 หนา 90-250.

130

พระพทุ ธศาสนาสูสุวรรณภูมิหรือทวารวดีไว้ แต่ตรงกันขามกบั วรรณกรรมโบราณของลังกาท่สี ําคัญ 16
คือ ทีปวงศ ที่เขียนข้ึนในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-10 และมหาวงศ เขียนข้ึนในชวงพุทธศตวรรษที่ 11-
12 กลาวถึงการที่พระเจาอโศกมหาราช สงสมณทูตจากอินเดียสูดินแดนสุวรรณภูมิ แตไมไดระบุว่า
อยูทใี่ ด

นอกจากน้ียังผู้วิจัยยังพบวา คัมภีรของลังกาที่มีการกลาวถึง ดินแดนสุวรรณภูมิว่า ดวย
การเดนิ ทางเขามาแสวงโชคและคาขาย ไดแก มหาชนกชาดก สังขพราหมณชาดก และ สุสันธีธชาดก
เปนตน สวนที่ว่า ด้วยการเผยแผพระพทธศาสนาสูสุวรรณภูมิก็เป็นคัมภีรของลังกาเปนหลักเช่นกัน
โดยเฉพาะ คมั ภรี มหานิเทส คมั ภีรสมันตปาสาทกิ า เปนตน ดังทไี่ ดกลาวไว้แลว

สรุปไดวา หลักฐานขอมลู ดานเอกสารตางประเทศ ทกี่ ลาวถงึ พระพุทธศาสนาท่ีเผยแผจาก
อินเดียมายงั ดินแดนสุวรรณภูมสิ วนใหญเป็นหลักฐานจากลังกา ทั้งน้ี อาจเปนเพราะวา ประเทศไทยมี
ความสัมพันธ์ด้านวฒั นธรรมกบั ประเทศลังกาอยางดี มาตั้งแต่สมัยหลังพทุ ธกาล

โดยเฉพาะวัฒนธรรมพระพุทธศาสนา และในสมัยตอมาอีกจนถึงปจจุบัน ผูวิจัยเชื่อวา
เอกสารหลักฐานเกี่ยวกับดนิ แดนสุวรรณภูมิ(อู่ทอง)ดังกลาว ได้ใหรายละเอยี ดเก่ียวกับสุวรรณภูมิและ
สมัยอู่ทอง ไดอย่างนาสนใจ และทําใหทราบวา เมืองอูทองเปนเมืองทาโบราณท่ีเจริญรุงเรืองสืบตอ
มาจนกลายเป็นเมอื งทาสําคญั ของรฐั ทวารวดี เปนศูนยก์ ลางพระพทุ ธศาสนาท่เี กาแกทีส่ ุดของรัฐทวาร
วดี ตลอดจนเป็นศนู ย์กลางหรือเมืองหลวงของรฐั ทวารวดียุคตน

เมืองอูทองเปนสวนหน่ึงของรัฐทวารวดี โดยทวารวดีก่อตัวข้ึนจากผูคนในทองถิ่นท่ี รับ
วัฒนธรรมอินเดียเขามาปรับใชใหเหมาะกับวัฒนธรรมทองถ่ิน มีลักษณะเด่นคือ เปนการรับเอา
ศิลปวฒั นธรรมพุทธศาสนาในสมยั คุปตะ และหลังคุปตะเขามาผสมผสานกับคติความเช่ือในเมือง แถบ
ชายฝงทะเลภาคกลางของไทย ศนู ยกลางรัฐทวารวดีเป็นเมืองอทู อง เพราะตั้งอยูบนเสนทางนํา้ ท่อี อก
สูทะเลได ศิลปวัฒนธรรมทวารวดี กระจายแพรออกไปเมืองตาง ๆ ท่ีเปนชุมชนยอย ทั้งในเขตลุมแม
นํ้าเจาพระยา ภาคอีสาน ภาคเหนือและภาคใต ประเพณีเกี่ยวกับการสรางพระพิมพ พระพุทธรูป
ตลอดจน การสรางและการบูชา พระบรมธาตุเจดีย ลวนเป็นอิทธิพลท่ีได้รับการสืบทอดมาจาก
พระพุทธศาสนา ดังพบหลักฐานโบราณคดีในดินแดนไทย เริ่มตั้งแต่อารยธรรมอินเดียเขาสูดินแดน
ไทยในสมัยกอนทวารวดี สมัยทวารวดี และหลักฐานทางโบราณคดีหลังสมัยทวารวดี แสดงใหเห็นถึง
ประเพณีดังกลาว โดยเฉพาะการสรางพระบรมธาตุเจดีย์กลางเมืองต่างๆ ทั้งยังเช่ือมโยงใหเห็นความ
ตอเนอ่ื งของประเพณี ดงั กลาวในสมยั ตอๆ มาในไทยตราบเท่าทุกวนั น้ี

4.2 วิเคราะหจากหลกั ฐานโบราณคดดี านศลิ ปกรรมหลกั ธรรมและจารกึ

จากการขุดคนทางโบราณคดีตามแหลงโบราณคดีตาง ๆ และเมืองโบราณสมัย
ประวัติศาสตร์ตอนตนในประเทศไทย ไดพบหลักฐานดานโบราณคดีศิลปกรรมทั้งสถาปตยกรรม

16 ผาสุข อนิ ทราวธุ ,สุวรรณภูมิ จากหลักฐานโบราณคดี,หนา 199-203.

131

ประติมากรรมตลอดจนหลักฐานดานจารึกจํานวนมาก โดยเฉพาะท่ีเก่ียวของ กับพระพุทธศาสนา
สมัยทวารวดี(อทู่ อง) เปนหลกั ฐานท่ีจะนาํ ไปสูขอสรุป ดังน้ี

1. หลกั ฐานเกาแกท่ีแสดงใหเห็นการเขามาของพระพุทธศาสนาในราวพุทธศตวรรษท่ี
7-11

1). หัวแหวน คาถา เย ธมฺมา พบ ณ เมืองออกแก้ว คือหัวแหวน มีจารึก คาถา เย
ธรรมา ภาษาสันสกฤต อักษรพราหมี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 7-8 สันนิษฐานวา เป็นโบราณวัตถุท่ี
นํามา จากประเทศอินเดีย แสดงใหเห็นวา พระพุทธศาสนาไดเขาสูทวารวดีต้ังแตนั้นโดยทางอาว
เวียดนาม

2). จารกึ คาถา เย ธมมฺ า 2 หลัก พบที่ไทรบุรี อายุราวพทุ ธศตวรรษท่ี 8-11
3). ประติมากรรมปูนปนรูปพระภิกษุ 3 องคอุมบาตร และประติมากรมปูนปนรูป
พระพุทธรูปนาคปรก อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 10-11 ที่เมืองอูทอง ที่เมืองโบราณอูทอง แสดงให
เหน็ วา พระพทธศาสนา จากศูนยกลางในลุมแมนํ้ากฤษณา-โคทาวดี เขามายังดนิ แดน ทวารวดีทีเ่ มือง
อทู อง
4). พระพุทธรูปแบบอมราวดี ท่ีอําเภอสุไหวโก-ลก จังหวัดนราธิวาส เปนโบราณ
วตั ถทุ ่ีเกาทส่ี ุด ในประเทศไทย อายุราวพทุ ธศตวรรษที่ 7-10
5). พระพุทธรปแบบอมราวดีที่ ตําบลพงตึก ราวพุทธศตวรรษท่ี 8 อําเภอทามะกา
จังหวัดกาญจนบรุ ี อายุราวพทธศตวรรษที่ 8
6) .พระพุทธรูปแบบคปุ ตะ 2 องคท่ี จังหวดั กาญจนบุรี 1 องคและทน่ี ครปฐมอีก 1
องค อายรุ าวพุทธศตวรรษท่ี 10
7). พระพุทธรูปศิลปะแบบคุปตะ ที่ตําบลเวียงสระ อําเภอบานนา จังหวัดสุราษฎร
ธานี อายรุ าวพุทธศตวรรษท่ี 10-11
สรุปไดวา จากหลักฐานโบราณคดีท่ีพบนําไปสูขอสรุปไดวา พระพุทธศาสนาไดเขาสู
ดนิ แดนทวารวดี ครั้งแรก ราวพุทธศตวรรษท่ี 7-11 และจากหลักฐานท่พี บแสดงใหเห็นเสนทางเขามา
โดยทางเรือ เปนสวนใหญโดยมาทางแหลมมลายแู ละทางเวียดนาม เปนหลกั
2. หลกั ฐานท่ีแสดงถึงการเขา้ มาต้ังมั่นของพระพุทธศาสนาในสมยั ทวารวดี(อู่ทอง)

เมื่อวิเคราะหจากหลักฐานทั้งดานสถาปตยกรรม ประติมากรรม และจารึก เปนเครื่อง
ยนื ยันวา พระพุทธศาสนาต้ังม่ันและเจริญเรืองตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 8-16 ท้ังนี้ เห็นไดจากมีการสราง
สถูปเจดีย วิหารตาง ๆ โดยเฉพาะที่พบในภาคกลาง เชน ท่ีเมอื งอู่ทองโบราณ เจดยี ์วัดพระเมรุ เจดีย์
พระประโทนเจดียจลุ ประโทน และพระปฐมเจดีย ท่ีมีอายรุ าวพุทธศตวรรษท่ี 12-16

ประติมากรรมท่ีพบจํานวนมากน้ัน ทั้งวงพระธรรมจักร พระพุทธรูปและพระพิมพเปนตน
มีอายุ ในชวงพุทธศตวรรษท่ี 11-16 และกระจายไปท่ัวทุกหนแห่ง

หลักฐานท่ีเป็นจารึก พบจํานวนมากโดยเฉพาะจารึกหลังพระพิมพมากกวาอยางอ่ืน ซ่ึง
แสดงใหเห็นวา พระพุทธศาสนาต้งั มนั่ และรุงเรอื งอยางมาก อาทิ

132

1. จารึก เย ธมฺมา จารึกด้วย อักษรปลลวะ ภาษาบาลี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 12
พบที่ อาํ เภออู่ทอง จงั หวดสุพรรณบุรี

2. จารกึ นโม วุทฺธาย จารกึ ดวยอักษรปลลวะ ภาษาบาลี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 12
พบท่ีบริเวณนอกเมืองอูทอง จงั หวัดสุพรรณบุรี

3. จารึกพระนาม พระศรีอาริยะเมตไตรย จารึกด้วยอักษรปลลวะ ภาษาบาลีอายุ
ราว พทุ ธศตวรรษที่ 12 พบท่เี จดยี หมายเลข 11 อําเภออูทอง จงั หวัดสุพรรณบุรี

4. จารึกนาม พระสารีบุตร จารึกด้วยอักษรปลลวะ ภาษาบาลี อายุราวพุทธ
ศตวรรษ ท่ี 12 พบท่ี เจดยี หมายเลข 11 อาํ เภออูทอง จังหวัดสพุ รรณบุรี

5. จารึกนาม พระมหากัสสปะหรอื พระมหากัจจายนะ จารึกด้วยอกั ษรปลลวะ ภาษา
บาลี อายรุ าวพุทธศตวรรษที่ 12 พบที่เจดยี ์ หมายเลข 11 อาํ เภออูทอง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

6. จารึกนาม พระโสโณโกลิวิโส จารึกดวยอักษรปลลวะ ภาษาบาลี อายุราวพุทธ
ศตวรรษท่ี 12 พบท่ีเจดีย์หมายเลข 11 อาํ เภออูทอง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

7. จารึกนาม พระกังขาเรวัต จารึกด้วยอักษรปลลวะ ภาษาบาลี อายุราวพุทธ
ศตวรรษที่ 12 พบทเ่ี จดยี ์หมายเลข 11 อาํ เภออทู อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

8. จารึกนาม พระปุณโณสุนาปรันโต จารึกด้วยอักษรปลลวะ ภาษาบาลี อายุราว
พุทธศตวรรษท่ี 12 พบท่เี จดยี หมายเลข 11 อําเภออทู อง จังหวัดสพุ รรณบุรี

9. จารึกพระนาม พระเจาศุทโธทนะ จารึกดวยอักษรหลังปลลวะ ภาษาสันสกฤต
อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 13-14 พบทเี่ จดยี ์หมายเลข 11 อําเภออทู อง จงั หวัดสุพรรณบุรี

10. จารกึ บนซีล่ อพระธรรมจักรศลิ า พบท่ี วดั พระศรีรตั นมหาธาตุ จังหวัดลพบรุ ี
ขอความในจารึกแปลได้วา่ “สฬายตนะ เปนปจจยให้เกดิ ผสั สะ เวทนาดบั ตณั หาดบั ”เปน
ขอความ ทอนหนึง่ ของปฏิจจสมปุ บาท

หลักฐานทางโบราณคดีตาง ๆ เปนตนเหล่านี้เปนเครื่องยืนยันไดวา พระพุทธศาสนา ได
เจรญิ รุงเรืองและตงั้ มนั่ อย่างแพรหลาย เพราะไดรบั ความนยิ มนับถือ เคารพเล่ือมใสจากทวารวดี
(อู่ทอง) โดยเฉพาะบรเิ วณลุมแม่นํ้าเจ้าพระยา ประชาชนมีความรูความเขาใจใน หลักธรรมคําสอนใน
พระพุทธศาสนาเปนอยางดี โดยสังเกตไดวา การจารึกนาม พระอสีติมหาสาวก อยางมากมายเช่นนี้
ไม ปรากฏวาพบ ณ ท่ีใด มากอนเลย สอดคลองกับแนวความคิดเรื่องความเจริญรุงเรืองของ อูทอง
โบราณและเมืองนครปฐมโบราณ ที่เคยเปนศูนยกลางของพระพุทธศาสนาในยุคทวารวดีตอนตน
และตอนปลาย

จะเห็นได้ว่า หลักฐานที่เก่าแก่ท่ีสุดที่แสดงว่าพุทธศาสนาได้เป็นท่ียอมรับนับถือของชาว
พ้ืนเมืองอู่ทองนั้น เร่ิมปรากฏในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 8 หรือก่อนหน้าน้ัน 14 นั่นคือหลักฐานด้าน
ประติมากรรมดินเผาและปูนป้ันที่ใช้ประดับศาสนาสถานประเภทสถูปและวิหาร ซึ่งมีหลายช้ินท่ีสืบ
ทอดรูปแบบมาจากศิลปะแบบอมราวดีตอนปลาย (พุทธศตวรรษท่ี 8-10) เช่น ประติมากรรมดินเผา
รูปพุทธสาวก 3 องค์ถือบาตรห่มจีวรห่อคลุม ตามแบบนิยมของศิลปะแบบอมราวดี และ
ประติมากรรมปนู ปั้นรูปพระพุทธรูปนาคปรกท่ปี ระทับนัง่ ขดั พระบาทหลวมๆ ตามแบบนยิ มของศลิ ปะ
แบบอมราวดี รวมทั้งคติการสร้างพระพุทธรูปนาคปรก ซึ่งจัดเป็นคตินิยมของสกุลช่างอมราวดี
โดยเฉพาะ

133

ดังน้ันการค้นพบชิ้นส่วนประติมากรรมดังกล่าวแม้จะน้อยช้ิน แต่ก็เป็นส่วนของ
ประติมากรรมท่ีประดับศาสนสถาน ซ่ึงแสดงว่าได้มีการสร้างศาสนาในเมืองนี้ต้ังแต่ช่วงพุทธศตวรรษ
ท่ี 8-10 และแม้ว่าพุทธดังกล่าวจะพังทลายลงไปแล้ว ยังคงเหลือให้เห็นช้ินส่วนประติมากรรมท้ังท่ี
เป็นดินเผาและปูนปั้นที่เคยใช้ประดับพุทธสถานดังกล่าว จึงจัดเป็นหลักฐานสําคัญท่ีแสดงว่าพุทธ
ศาสนาได้เป็นทยี่ อมรับนับถือของชาวพ้ืนเมืองอู่ทองแล้วในชว่ งเวลาน้ัน และเป็นอิทธพิ ลพุทธศาสนา
จากศูนย์กลางพุทธศาสนาในลุ่มแม่น้ํากฤษณา (ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดีย) ซึ่งอยู่ใต้การ
อุปถัมภ์ของกษัตริย์ราชวงศ์ศาตวาหนะ (พุทธศตวรรษที่ 5-8) และสืบต่อโดยราชวงศ์อิกษวากุ (พุทธ
ศตวรรษที่ 8-10) โดยมีศนู ย์กลางอยู่ทเี่ มอื งอมราวดแี ละมเองนาคารชุนโกณฑะ

พระพิมพและจารึก อันท่ีจริง ได้พบประติมากรรมที่เกี่ยวของกับพระพุทธ ศาสนาจํานวน
มากและหลายแหงด้วยกัน แตท่ีมีมากและเป็นท่ีรับทราบของนักวิชาการทาง โบราณคดีได้แก
ประติมากรรมพระพมิ พทวารวดี จาก 4 แหลงเปนหลัก กลาวคือ

1. พระพิมพที่พบท่ีเมืองนาดูน จังหวัดมหาสารคาม กําหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่
14-16 อิทธิพลศิลปะทวารวดี จากภาคกลางโดยมีคติและรูปแบบตรงกับพระพิมพจากนครปฐม มาก
บางองค์มีจารึกการสรางดวยภาษามอญโบราณ ไดรับอิทธิพลจากคติการทําพระพุทธรูปจากอินเดีย
สมัยคุปตะ หลงั คปุ ตะ และสมยั ปาละ

2. พระพิมพท่ีเมืองกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม จํานวน 1 องค อายุราวพุทธ
ศตวรรษที่ 14-15 และแผนเงินบเุ ป็นพระพุทธรูป อีกจํานวน 66 แผน ศลิ ปะทวารวดี กําหนดอายุราว
พุทธศตวรรษที่ 15-16

3. พระพิมพที่เมืองฟาแดด สงยาง จังหวดกาฬสินธุ มีพระพุทธรูปสําริดจํานวน 2
องคและพระพิมพดินเผาอีก เปนจํานวนมากมีถึง 7 พิมพ และที่เมืองฟาแดดสงยางยังพบใบเสมาหิน
สมัยทวารวดีอีกจํานวน 11 ใบ ทั้งมีภาพเลาเรื่องชาดก และไมมีภาพ กําหนดอายุพุทธศตวรรษท่ี 14-
15

4. พระพิมพที่เมืองไพร อยูในเขตอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด พบพระพิมพนาค
ปรกประมาณ 3,000 องค เปนพระพิมพที่พบมากท่สี ุด ไดรบั อิทธิพลดานศิลปะทวารวดีจากภาคกลาง
ศิลปะทวารวดีอายุราวพุทธศตวรรษ 15 ท่ีบรเิ วณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดพบหลักฐานทแ่ี สดงถึง
ความต้ังม่ันของพระพุทธศาสนาสมัยทวารวดีจํานวนมาก ในส่วนท่ีเปนจารกึ อาทิ

1. จารึกใบเสมาวัดโนนศิลา 1 พบที่วัดโนนศิลา อําเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น
ภาษามอญโบราณ อักษรหลังปลลวะ อายรุ าวพุทธศตวรรษที่ 14 วาด้วยการทาํ บญุ อุทศิ และปรารถนา
ใหเกดิ ทนั พระศรีอาริย

2. จารึกบนฐานพระพุทธรูป พบท่ีจังหวัดกาฬสินธุ จารึกดวยอักษรหลังปลลวะ
ภาษาสันสกฤต อายุราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 กลาวถึงการสรางสรรคส่ิงท่ีเปนกุศลวามีอานิสงส์
สงใหไปเกดิ ดมี สี ุขในโลกสวรรค

134

3. จารึกสถาปนาสีมา พบที่อําเภอ กุฉินารายณ จังหวัดกาฬสินธุ จารึกด้วยอักษร
หลัง ปลลวะ ภาษาสันสกฤต อายุราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 เน้ือความกลาวถึงพระภิกษุสงฆสราง
สมมติ ศลิ าเปนเขตสีมา (เพ่ือทาํ สังฆกรรม)

จากหลักฐานด้านประติมากรรมและจารึกดังกลาวแสดงให้เห็นว่า พระพุทธศาสนา
จากศนู ยกลางในภาคกลางลุมแมนํ้าเจาพระยา แม่นํ้าทาจนี -แมกลอง ไดเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาเขามา
ไปยังชุมชนต่างๆ ราวพุทธศตวรรษที่ 12-15 โดยพระพุทธศาสนาไดรับความนับถือและบํารงุ ใหเจริญ
รงุ เรอื งขนึ้ เปนลาํ ดับและเจริญสงู สดุ ในช่วงพทุ ธศตวรรษที่ 14-15

จากหลักฐานทางโบราณ คดีประติมากรรมพระพิมพ ดังกลาว แสดงใหเห็นวา
พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ไดเจริญแพรหลายจากทางอินเดียเขามายังฝงตะวนั ตก ของคาบสมุทร
ในชวงพุทธศตวรรษท่ี 10-12 เจริญรุงเรืองอยูจนถึงราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 ตอมาจึงได้มี
พระพุทธศาสนาท้ังนิกายมหายานและนิกายสรวาสติวาท เจริญรุงเรอื งข้นึ มาแทน และเปนความนิยม
ของประชาชนทางภาคใต จนกระท่ังเขาสูสมัยกอนสุโขทัยจงึ ไดมีความนิยมพระพทุ ธศาสนา นกิ ายเถร
วาทดงั เดมิ

3. หลักฐานท่ีแสดงใหเห็นวาชาวพุทธสมัยทวารวดี(อู่ทอง)เขาใจในพระพุทธศาสนา
อยางดี

เมื่อวิเคราะหจากหลักฐานดานศิลปกรรมโดยเฉพาะพระพุทธรูป พระพิมพ และจารึก
หลักธรรมตาง ๆ ท่ีปรากฏแลว แสดงใหเห็นภาพความเจริญแพรหลายของพระพุทธศาสนาได อยางดี
และลึกซ้ึง ท้ังน้ีพบว่า จารึกหลักธรรมสํานวนอื่นๆ ท่ีคาดว่าชาวอู่ทองเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 12-13
พงึ่ ร้เู ร่ืองนี้มาจากขอ้ สันนิษฐานท่วี ่า กรมศิลปกรขุดพบพระธรรมจักรพร้อมเสาและฐานรองทพ่ี ระสถูป
หมายเลข 11 เมืองอู่ทอง มีรูปแบบคล้ายคลึงกับพระธรรมจักรพบท่ีเมืองโบราณใกล้เคียงคือเมือง
นครปฐมโบราณ พระธรรมจักรพบท่ีเมืองนครปฐมโบราณพบว่า มีจารึกคาถาธรรม และยังพบคาถา
ธรรมความใกล้เคียงกันน้ีท่ีบนฐานพระธรรมจักรเมืองโบราณกําแพงแสน (จังหวัดนครปฐม) บน
(ช้ินส่วน) ธรรมจักรพบที่เมืองลพบุรี บนเสาธรรมจักรพบท่ีเมืองซับจําปา (จังหวัดลพบุรี) อีกด้วย ก็
น่าเชื่อว่าคาถาธรรมความดังกล่าวบนธรรมจกั รพบที่เมืองนครปฐมโบราณและทอี่ ื่นๆ นา่ จะเป็นเร่ืองที่
รับรู้แก่พุทธศาสนิกชนเถรวาททั่วไปที่นิยมสร้างพระธรรมจักรประดิษฐานไว้ในศาสนสถานรว มท้ังท่ี
เมืองอู่ทอง

ขอความจารึกท่ีพบน้ันนอกจากจะเป็นเรื่องการทําบุญกุศลแลวยังเปนหลักธรรมคําสอนที่
คดั มาจากพระไตรปฎก ท่ีท้ังลุมลึกและสําคัญถึงขั้นเปนหัวใจพระพุทธศาสนาทีเดียว นั่นยอมแสดงให้
เห็นวา ประชาชนมีความเขาใจและศรัทธาในพระพุทธศาสนาอยางมากซ่ึงหลักธรรมตาง ๆ เม่ือ
ประมวลแลวสามารถสรุปได ดังนี้ 1. หลักธรรมคาถา เย ธมฺมา 2. หลักธรรมธัมมจักกัปปวตนสูตร
3. หลกั ธรรมปฏิจจสมปุ บาท 4. หลกั ธรรมอริยสจั จ 4 5. จารึกการทาบุญอุทิศตาง ๆ เปนตน

หลักธรรมตาง ๆ ดังกลาวนําไปสูขอสรุปไดวา พุทธบริษัทชาวทวารวดี มีความเคารพ
เลื่อมใสพระพุทธศาสนา มคี วามรูความเข้าใจ และเขาถึงหลักธรรมคําสอนไดอยางลึกซงึ้ ดัง หลักฐาน
จารึกที่คนพบจาํ นวนมาก อยางทไ่ี มเคยปรากฏมากอนในสมัยใด(แม้แตสมัยสุโขทัย)

135

นอกจากน้ียังพบวา พุทธบริษัทชาวทวารวดี มีความเชื่อในเร่ืองพระพุทธเจา 5 พระองค
อันเปนความเช่ือในพระพทุ ธศาสนาเถรวาท ดังปรากฏหลักฐานท่ีเจดีย์อิฐ ท่ีวัดพระเมรุจังหวัด
นครปฐม และมีความเช่ือเร่ืองอสีติมหาสาวก ดังปรากฏหลักฐานการจารึก ชื่อพระมหาสาวก ตาง ๆ
อันเป็นเคร่ืองยืนยันและช้ใี หเห็นไดอยางชดั เจนวา เป็นพระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทอยางแนนอน

โดย เฉพ าะการ นิ ย ม ส ร างปร ะติ มาก รรม รูป ธร รมจั ก รแล ะกว างห มอบ เป็ น สั ญ ลั ก ษ ณ์
แหงการแสดงปฐมเทศนาของพระพุทธองค หรือเปนการประกาศพระพุทธศาสนา และมีความนิยม
สลักจารกึ พระธรรมคําสอนในพระพุทธศาสนาลงบนธรรมจักรหรือช้ินสวนตาง ๆ ของธรรมจักร จารึก
หลักธรรมลงบนหลังพระพิมพตาง ๆ หรือแมแตที่ฐานของพระพุทธรูปสมัยทวารวดี เพื่อเป็นการ
ประกาศและสืบอายพุ ระพุทธศาสนาเปนตน นอกจากน้ียัง พบวา จารึกหลายหลักเปนประเพณี การ
ทําบุญอุทิศใหผูมีพระคุณ ทอดมาจนกระทั่งปจจุบัน อันเป็นคติในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ซ่ึง
เปนประเพณีที่ยังตก ท่ีนาสังเกตก็คือ แมวา ชาวทวารวดี(อู่ทอง) ส่วนใหญนับถือพระพุทธศาสนา
นิกายเถรวาทเปนหลักก็ตาม แตจากขอมูลหลักฐานทางโบราณคดีด้านศิลปกรรมพบวา ยังมีร่องรอย
ของพระพุทธศาสนานิกายมหายาน อยูเปนจาํ นวนมาก อยบู่ ้างไม่มากนัก

สรุปวา ชาวทวารวดี(อู่ทอง)นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีความรูความเขาใจใน
หลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนาอยางดีและลึกซึ้ง โดยเฉพาะจารึกที่วา ดวยหลักธรรมปฏิบัติ
สามารถตรวจสอบไดในพระไตรปฎก ของพระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาท ในปจจบุ ันได

เนื่องจากพระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงสันติ ไมกระทบหรือเบียดเบยี นศาสนาอ่ืน จึงได
รับความนิยมนับถือจากประชาชน ทําให้พระพุทธศาสนา นับตั้งแต่เขามาสู่ดินแดนแหงนี้ ถ้าจัดแบ่ง
เป็นระยะอยู่ ระยะที่ 3 คอื ระยะแรกกอ่ นสมัยทวารวดี (พทุ ธศตวรรษท่ี 3-8) ระยะที่ สอง สมยั ทวาร
วดี (พุทธศตวรรษท่ี 9-16) และระยะหลังทวารวดี (หลังพุทธศตวรรษที่ 16 เปนตน มา) เจริญรุงเรือง
เปนหลักยึดทางจิตใจให้ แกพุทธบริษัทไดอยางดี และกอใหเกิดศิลปวัฒนธรรมท่ี เปนแบบเฉพาะของ
ตนขึ้นในช่ือ วัฒนธรรมทวารวดี ที่ครอบคลุมทั้งดานการเมืองการปกครอง ประเพณีทําบุญตาง ๆ
ดานศิลปกรรมตาง ๆ ที่สงตอวัฒนธรรมดังกลาว ใหกับสมัยสุโขทัยได้อยาง งดงาม ท้ังยังพัฒนา
สืบเน่อื งตอมาจนกระท่งั ทุกวันนฯ้ี

4.3 ผลทไ่ี ดจากการวิเคราะห

จากการศึกษาวิเคราะหท้ังจากหลักฐานขอมูลเอกสารและดานโบราณคดีไดผลตามที่ ได
ตง้ั เปาไว 4 ประการ

1) ไดทราบวา ดินแดนท่ีเป็นประเทศไทยทุกวันนี้ มีพัฒนาการมาแลวตั้งแตสมัยกอน
ประวัติศาสตร์ โดยพัฒนาการมาอยางตอเนืองอยางนอย ต้ังแตสมัยสุวรรณภูมิ พัฒนาการผาน
อาณาจักรฟูนัน จนกระท่ังเขาสูสมัยทวารวดี เปนสมัยประวัติศาสตรของประเทศไทยท่ีมีหลักฐาน ทั้ง
เอกสารและหลกั ฐานทางโบราณคดี และเจริญรุงเรอื งดวยพระพทุ ธศาสนา การเมองการปกครอง โดย
ไดรับอทิ ธพิ ลจากอารยธรรมอินเดยี

136

2) ไดทราบถึงกําเนิดและการเขามาของพระพุทธศาสนาท่ีแพรหลายเขามายังบริเวณ
ดังกลาว ท้ังน้ีจากหลักฐานเอกสารยืนยัน ความเจริญแพรหลายของพระพุทธศาสนา ต้ังแตสมัยพระ
เจา อโศกมหาราช พุทธศตวรรษที่ 3 มีการแพรหลายเขามาของพระพุทธศาสนา อีกหลายระลอก
ดวยกัน ท่ีปรากฏหลักฐานในสมัยกอนทวารวดีเล็กนอย คือพุทธศตวรรษที่ 9-10 เปนตนและ
พระพุทธศาสนาไดเจรญิ รุงเรอื งสูงสุด ในชวงพทุ ธศตวรรษท่ี 11-16 :ซง่ึ เปน็ สมยั ทวารวด(ี อู่ทอง)

3) ไดทราบวา พระพุทธศาสนาในสมัยทวารวดี(อู่ทอง)น้ัน เจริญรุงเรือง แพรหลายเขา
ถึงประชาชนกลุ่มตาง ๆ และไดอํานวยประโยชนและความสุขความเจรญิ แกประชาชนที่ต้ังถน่ิ ฐานอยู
ในบริเวณท่ีเป็นประเทศไทยไดอยางดียิง่ ไดนําชาวประชาใหเขาถึงความสุขตามลําดบั ท่ีควรได เห็นได
จากหลักฐานท่ีเป็นจารึกหลักธรรมระดับตาง ๆ ในทุกส่วน เปนเครื่องยืนยันวา ประชาชนมีความสุข
และความเขาใจในพระพุทธศาสนาอยางลึกซ้ึง กอให้เกิดอิทธิพลทางวัฒนธรรมประเพณี ความเจริญด
านตาง ๆ และสงทอดสูสมัยสุโขทยั สมยั ตอมาอยางงดงาม

4) ไดทราบรองรอยแหงความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนา ความแพรหลายของ
วัฒนธรรมพระพุทธศาสนาแบบทวารวดี(อูท่ อง) และประชาชนชาวพุทธมีความเขาใจพระพุทธศาสนา
อยางลึกซึ้งยิ่งกวาสมัยใดในประวัติศาสตร์ชาติไทย เห็นไดจากรองรอยจากศูนยกลางของวัฒนธรรม
ทวารวดี ท่ีท้ิงรองรอยไวท่ัวทุกภาค ภาคกลางบริเวณลุมแมน้ําเจาพระยา การเคารพพระพุทธรูป
พระพิมพ และบรรดาจารึกเรื่องราวตาง ๆ เกี่ยวกับการทําบุญ การจารึกหลักธรรมคําสอนใน
พระพุทธศาสนาตลอดจนซากพุทธเจดีย์จํานวนมากมาย ลวนเปนหลักฐานที่แสดงใหเห็นถึงความ
เจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนาในสมัยทวารวดไี ด้เปนอย่างดี และเป็นตนแบบทางศิลปวัฒนธรรมให
กับสุโขทัยและสมัยตอมา

เม่ือสรุปการศึกษาวิเคราะห์การเขามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาวัฒนธรรมสู่เมืองอูท่ องและ
ปริมณฑล ตามลาํ ดับเหตุการณย์ คุ แตล่ ะพ.ศ. ได้ดงั นี้

1) 4,000 ปีมาแล้ว ตรงกับยุคหินใหม่ เร่ิมมีผู้คนกระจายตัวอยู่ทางตอนบนของ
จ.สุพรรณบุรี ปัจจุบันคือบริเวณ อ.ด่านช้าง อ.หนองราชวัตร และพื้นที่ข้างเคียงที่ต้ังอยู่ในเขต
จ.กาญจนบรุ ปี ัจจบุ นั

2) 2,500 ปีมาแล้ว ตรงกับยุคเหล็ก ผู้คนจากชุมชนบริเวณตอนบนของ จ.สุพรรณบุรี
ปัจจุบันเคลื่อนย้ายลงมาทางตอนล่างบริเวณ อ.ดอนเจดีย์ ศรีประจันต์เมืองสุพรรณ และอู่ทองในลุ่ม
น้ําทวน-จระเข้สามพัน และลุ่มนํ้าท่าว้า-ท่าจีน หรือแม่น้ําสุพรรณบุรีชุมชนกลุ่มนี้ จะพัฒนาเป็น
บ้านเมืองในวฒั นธรรมแบบทวารวดี

3) 2,000 ปีมาแลว้ ชุมชนบรเิ วณลุ่มน้ําทวน-จระเข้สามพัน และลุ่มนํ้าท่าว้า-ท่าจีน หรือ
แม่น้ําสุพรรณบุรีซ่ึงมีอู่ทองเป็นเมืองศูนย์กลาง เร่ิมมกี ารติดต่อกับภูมิภาคอ่ืนๆของโลกอย่างเข้มข้น มี
การพบโบราณวัตถนุ ําเข้าจากวฒั นธรรมภายนอกเป็นจํานวนมาก

4) 1,500 ปีมาแล้ว อู่ทองยอมรับวัฒนธรรมศาสนาพุทธ-พราหมณ์จากชมพูทวีป เริ่มมี
การสรา้ งรปู เคารพ และศาสนสถานในศาสนาพทุ ธ และศาสนาพราหมณ์

137

5) 1,300 ปมี าแล้ว คนู ํ้าลอ้ มรอบเมืองอู่ทองมีรปู ร่างเป็นอย่างที่เห็นอยใู่ นปัจจบุ นั

6) 1,000 ปีมาแล้ว เมืองอู่ทองลดความสําคัญลง แต่ไม่ได้ร้างพ้ืนท่ีบริเวณทางฝั่งตะวัน
ออก โดยผ่านลาํ น้ําท่าวา้ -ท่าจีน และลํานาํ้ ทวน เร่ิมเจริญรงุ่ เรอื งขนึ้ แทนที่

7) 800 ปีมาแล้ว เมืองสุพรรณบุรีกลายเป็นเมืองสําคัญของกลุ่มวัฒนธรรมน้ี แทนเมือง
อทู่ อง

มีสันนิษฐานดั้งเดิมของนักโบราณคดีท่ีเชื่อว่า รัฐในวัฒนธรรมทวารวดีอย่าง อู่ทอง น้ัน
เป็นเมืองท่าชายฝ่งั ทะเล ดูจะเป็นเรื่องท่ีทบทวนใหม่ เมื่อพจิ ารณาจากขอ้ มูลหลกั ฐานจากงานวิจัยทาง
ธรณีวิทยา และละอองเรณูวิทยา ในระยะหลัง ที่ช้ีให้เห็นไปในทิศทางที่ แตกต่างออกไป รัฐใน
วัฒนธรรมทวารวดียังคงมีลักษณะเป็นเมืองท่าอยู่ แต่ไม่ใช่เมืองท่าชายฝั่งทะเล เพราะมีลักษณะการ
วางตัวของเมืองท่ีลึกเข้าไปในแผ่นดิน รัฐในวัฒนธรรมทวารวดีเชื่อมต่อกับทะเลด้วยแม่นํ้าสายต่างๆ
ในกรณีของ อู่ทอง คือแม่น้ําท่าจีนและแม่น้ําแม่กลอง ทางด้านทิศตะวันออก และทิศตะวันตก
ตามลําดับ ลักษณะอย่างน้ีไม่ต่างไปจากกรุงศรีอยุธยา ในยุคหลัง ท่ีเช่ือมต่อกับทะเลโดยผ่านแม่นํ้า
เจา้ พระยา

ข้อมูลท่ีน่าสนใจ ซ่ึงเก่ียวข้องกับชายฝั่งทะเลในช่วงของวัฒนธรรมทวารวดีคือ มีการ
ค้นพบ ซากเรือจม ท่ีบรรจุสินค้าในช่วงเวลาดังกล่าว อยู่สองลําในเขต จ.สมุทรสาคร คือที่แหล่ง
โบราณคดีบ้านขอม ต.โคกขาม อ.เมือง (พยุง วงษ์น้อย, ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์) และอีกแห่งคือที่ วัดวิ
สุทธิวราวาส หรือวัดกลางคลอง ต.พันท้ายนรสิงห์ อ.เมืองเฉพาะข้อมูลของเรือที่วัดกลางคลองน้ัน
บริเวณที่พบเรือจมเป็นท่ีลุ่มต่อใกล้ปากอ่าวไทย ซึ่งเกิดจากตะกอนดินท่ีไหลลงมาทับถมกันต่อเนื่อง
จนกลายสภาพจากทะเลโคลนตมมาเป็นแผ่นดิน เม่ือราว 1,000 ปีมาแล้ว และมีทางนํ้าคดเค้ียวไหล
เช่ือมต่อกันเป็นโครงข่ายมาแต่โบราณ จนถึงสมัยอยุธยาซ่ึงมีหลักฐานของการขุดลัดคลองโคกขาม ที่
เป็นส่วนหน่ึงของเส้นทางเชอื่ มระหวา่ งแมน่ าํ้ เจ้าพระยากับท่าจีน

การพบหลักฐานของเรอื จมทวี่ ัดกลางคลอง นอกจากเป็นแหลง่ เรือจมทม่ี ีอายุเก่าแก่ที่สดุ ที่
พบในประเทศไทยปัจจุบันแล้ว ยังยืนยันถึงการใช้เส้นทางน้ําเหล่านี้มานับพันปีจนกระทั่งถึงสมัยต้น
กรุงรตั นโกสนิ ทร์ดว้ ย 17

4.4 องคค์ วามรทู้ ีไ่ ด้จากการวิจัย

ก่อใหเกิดองค์ความรู ใหมเก่ียวกับกําเนิด การเข้ามาของพระพุทธศาสนาในการเผยแผ่สู่
เมืองอู่ทอง ตลอดถึงรองรอยและอิทธิพลดานตาง ๆ ท่ีไดรับจากพระพุทธศาสนา ที่จะอํานวย
ประโยชน ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์เมืองอู่ทอง อันได้แก่ พระพุทธศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี
เปนตน้

ได้องค์ความรู้จากการศึกษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่สัมพันธ์กับการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาสู่เมืองอู่ทอง ลายเส้นจากดินเผารูปภิกษุสาวก 3 รูป ครองจีวรทําท่าบิณฑบาต เป็น

17 ประภัสสร์ชูวิเชียร, “แหล่งเรือจมท่ีวัดกลางคลอง สมุทรสาคร ข้อมลใหม่สู่การค้าโลกจากใต้
ทะเลโคลน ,”( สยามรัฐสัปดาหว์ ิจารณ์ 27 ธันวาคม 2556), หน้า40.

138

หลักฐานเก่าสุดที่แสดงว่า มีพระสงฆ์ในดินแดนสุวรรณภูมิ พบที่เมืองอู่ทอง อ. อู่ทอง จ. สุพรรณบุรี
ช้ินส่วนปูนป้ันรูปพระพุทธรูปขัดสมาธิพระบาทหลวมๆ บนขนดนาค ศิลปกรรมอินเดียแบบอมราวดี
ตอนปลายอายุราวพุทธศตวรรษที่ 9–11 พบที่เมืองอู่ทอง พระพุทธบิดาพระพุทธเจ้าสมณโคดม มี
จารึกอักษรปัลลวะ ระบุพระนามไว้ด้านลา่ งของฐานว่า “ ศทุ ฺโธทน” ยังมี ธรรมจักรและกวางหมอบ
กลาวไดวา เปนตัวแทนของอารยธรรม เพราะธรรมจักรเปนเคร่ืองหมาย การประกาศพระธรรมคํา
สอนของพระพุทธเจา เปนสญั ลักษณการแสดงปฐมเทศนา มีอายรุ าวพุทธศตวรรษที่ 13 กรมศิลปากร
ขุดคน้ พบที่ สถูปเจดยี ์หมายเลข 11 เมอื งอูท่ อง เปน็ ตน้

จะเห็นได้ว่า นักวิชาการส่วนใหญ่ลงความเห็นว่า เมืองหลวงของรัฐทวารวดีน่าจะอยู่ที่
เมืองอู่ทอง เป็นศูนย์กลางของรัฐทวารวดี เพราะได้พบเหรียญเงินมีจารึกว่า “ลวปุระ” ที่อู่ทอง 18
และข้อมูลแหล่งค้นพบในเบื้องต้น โดยสันนิษฐานว่า เมืองอู่ทองเป็นศูนย์กลางด้านตะวันตก หรอื เป็น
ศูนย์กลางในฐานะเมืองหลวงของรัฐทวารวดี โดยศึกษาจากสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ประกอบกับ
หลักฐานโบราณวัตถสุ ถานและหลักฐานเอกสารต่างๆ รวมท้ังจดหมายเหตขุ องจีนตลอดจน จารึกท่ีพบ
ในบริเวณเมอื งดว้ ย ดงั ไดพ้ บหลกั ฐานดา้ นศิลปกรรมเน่อื งในพทุ ธศาสนาจํานวนมาก

เมืองอู่ทองนั้นยังได้พบหลักฐานการติดต่อค้าขายกับอินเดียต้ังแต่สมัยยุคเหล็กตอนปลาย
ของอินเดีย (พุทธศตวรรษท่ี 3-5) 19 และเมืองอู่ทองนี้เองที่พ่อค้าชาวพุทธจากลุ่มแม่น้ํากฤษณา ได้
เดินทางเข้ามาติดต่อค้าขายและตั้งถิ่นฐานในช่วงสมัยอินโด-โรมัน และได้นําเอาพุทธศาสนาจาก
ศูนย์กลางพุทธศาสนาในอินเดียใต้ที่อยู่ใต้การอุปถัมภ์ของกษัตริย์ราชวงศ์ศาตวาหนะ และสืบต่อด้วย
ราชวงศ์อิกษวากุ (พุทธศตวรรษท่ี 8-10) ซ่ึงมีศูนย์กลางงานศิลปกรรมเน่ืองในศาสนาอยู่ท่ีเมือง
อมราวดีและเมืองนาคารชุนโกณฑะ เข้ามาเผยแพร่ให้ชุมชนโบราณที่เมืองอู่ทอง ดังได้พบ
ประติมากรรมดินเผารูป ลายเส้นจากดินเผารูปภิกษุสาวก 3 รูป ครองจีวรทําท่าบิณฑบาต และเป็น
หลักฐานเก่าสุดที่แสดงว่า มีพระสงฆ์ในดินแดนสุวรรณภูมิ พบที่เมืองอู่ทอง อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี
ช้ินส่วนปูนปั้นรูปพระพุทธรูปขัดสมาธิพระบาทหลวมๆ บนขนดนาค ศิลปกรรมอินเดียแบบอมราวดี
ตอนปลายอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 9 – 11 พบที่เมืองอู่ทอง พระพุทธบิดาพระพุทธเจ้าสมณโคดม มี
จารกึ อกั ษรปัลลวะ ระบพุ ระนามไว้ด้านล่างของฐานว่า “ ศุทฺโธทน” อายรุ าวพุทธศตวรรษที่ 13 กรม
ศิลปากรขุดคน้ พบท่สี ถปู เจดีย์หมายเลข 11 เมืองอู่ทอง เปน็ ต้น

ดังน้ันเมืองอู่ทองจึงจัดเป็นเมืองท่าโบราณท่ีเจริญรุ่งสืบต่อมาจนกลายเป็นเมืองท่าสําคัญ
ของอาณาจกั ร และเป็นศูนย์กลางพทุ ธศาสนาที่เกา่ แก่ท่สี ุดของรัฐทวารวดี

ฉะนั้นย่อมได้บทวิเคราะห์ของนักวิชาการทางประวัติศาสตร์ที่สัมพันธ์กับการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาเมืองอู่ทอง ที่ขาดหายไปเพื่อจะไดเกิดองคความรูใหม ๆ อันจะเป็นประโยชนทาง
การศกึ ษาตอไป

18 Boeles, J.J. “A note on the ancient city called Lavapura” Journal of the Siam
Society, Vol. LV, Partl (January 1967),.

19 ชิน อยู่ดี “เร่ืองก่อนประวัติศาสตร์ท่ีเมืองอู่ทอง” โบราณวิทยาเรื่องเมืองอู่ทอง (กรมศิลปากร
2509), หน้า 43-50

บรรณานุกรม

1. ภาษาบาลี – ภาษาไทย:

ก. ขอมลู ปฐมภมู ิ

มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. พระไตรปฎกภาษาบาลี. ฉบับมหาจฬุ าเตปฏก,ํ 2500.
กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , 2535.
________.พระไตรปฎกภาษาไทย . ฉบับมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . กรงุ เทพมหานคร:
โรงพิมพมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , 2539.
________.อรรถกถาภาษาบาล.ี ฉบับมหาจุฬาอฏกถา. กรุงเทพมหานคร :
โรงพมิ พมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , 2532- 2534
________..ฎกี าภาษาบาล. ีฉบบั มหาจุฬาฎกี า. กรุงเทพมหานคร:
โรงพมิ พมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , 2539- 2545.

ข.ข้อมลู ทุติยภมู ิ
ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ,.ตํานานพุทธเจดีย์,พิมพ์

ครั้งท่ี 3. กรงุ เทพฯ :ครุ ุสภา, 2551
พระปฐมเจดยี ์, กรงุ เทพฯ : กรมศลิ ปากร,2528 ,
ศกั ด์ิชยั สายสงิ ห,ผศ.ดร., ศิลปะทวารวดี : วัฒนธรรมพุทธศาสนายุคแรกเริม่ ในดินแดนไทย,พมิ พ์

ครง้ั ที่ 2 (กรุงเทพมหานครฯ ด่านสทุ ธาการพมิ พ,์ 2547), .
สจุ ติ ต วงษเทศ,สุวรรณภมู ิ ตนกระแสประวตั ิศาสตรไทย,.(กรงุ เทพฯ บรษิ ัทพิมพด์ ีจาํ กดั ,2549),.
เสถียร โพธนิ นั ทะ, ภูมปิ ระวัตพิ ระพทุ ธศาสนา, (กรงุ เทพฯ: สาํ นักพมิ พบรรณาคาร, 2515), .
________.ประวตั ิศาสตรพระพทุ ธศาสนา ฉบับมุขปาฐะ เลม 1 ,.
เสนอ นลิ เดช. ศิลปะสถาปตั ยกรรมล้านนา. (กรงุ เทพฯ : เมอื งโบราณ, 2526),.
กรมศิลปากร โบราณคดีและประวัติศาสตร์เมืองสุพรรณบุรี,(กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจํากัด

สารรังสรรค์, 2542), .
________. หนังสือเผยแพรศิลปวัฒนธรรมเน่ืองในโอกาสเปดศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย

(กรงุ เทพฯ: วิคตอรเ่ี พาเวอรพอยท, 2530),.
________. แหลงโบราณคดีประเทศไทย,(กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2531),

เลม 1 หนา 121-291; เลม 2 หนา 90-250.
________. โบราณคดีเมอื งอูทอง,(นนทบรุ :ี สหมิตรพรนิ้ ต้ิง, 2545), หนา 27-30.
________. ศิลปะในประเทศไทย,(มูลนิธิเอเชียจัดพิมพเนื่องในการจัดแสดงศิลปวัตถุจาก

สหรฐั อเมรกิ าและญี่ปุน,2506),
________. หนังสือเผยแพรศิลปวัฒนธรรมเนื่องในโอกาสเปดศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย

,(กรุงเทพฯ: วคิ ตอร่เี พาเวอรพอยท, 2530),.
________. รายงานการสํารวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถานเมืองเก่าอู่ทอง,อําเภออู่ทองจังหวัด

สุพรรณบรุ .ี พระนคร : ศวิ พร, 2509.
ขนุ วิจิตรมาตรา, หลักไทย, (พระนคร: อักษรบริการ, 2506),.

148

คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุฯ, วัฒนธรรม พัฒนาการ ทางประวัติศาสตร
เอกลักษณ และภูมิปญญา จังหวัดปราจีนบุรี, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,
2544

ครีเอทีฟคอมมอนส์ Wikipedia มูลนิธิวิกิมีเดีย โบราณสถานบ้านโคกไม้เดน จังหวัดนครสวรรค์ (เว็บ
ไซท์) https://th.wikipedia.org สบื ค้นเมือ่ วันที่ 11 กันยายน 2562

จิรา จงกล พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรมศิลปากรจัดพิมพ์เน่ืองในงานเสด็จพระราชดําเนิน
ทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร วันที่ 25 พฤษภาคม 2510 รูปที่ 15;
Indrawooth, Phasook, 1983. The Excavation at the Ancient Town of
Nakhon Pathom, Tambon Phra Praton, Amphoe Muang, Changwat
Nakhon Pathom. (in Thai) Nakhon Pathom : Silpakorn University Press

จี. เซเดส, ชนชาติตาง ๆ ในแหลมอินโดจีน,แปลโดย ปญญา บริสุทธ์ิ, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิ โครงการตํารา
สังคมศาสตร และมนษุ ยศาสตร, 2521),.

ชนิ อยดู่ ี “เรื่องกอ่ นประวัติศาสตร์ท่เี มอื งอู่ทอง”โบราณวทิ ยาเรื่องเมอื งอู่ทอง (กรมศิลปากร 2509),.
________.“เรอื่ งกอ่ นประวัตศิ าสตรท์ ี่อาํ เภออู่ทอง”โบราณวทิ ยาเร่ืองเมืองอู่ทองกรมศลิ ปากร 2509
________. “คนก่อนประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ออกทะเล”วารสารโบราณคดีปีที่ 6 ฉบับท่ี 4 พ.ศ.

2519
________. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย,.(พระนคร : กรมศลิ ปากร, 2513),
ฌอง บวสเชอลิเยร์ “ทฤษฏีใหม่เก่ียวกับท่ีต้ังอาณาจักร ฟูนัน”เก็บความโดย มจ.สุภัทรดิศ ดิศกุล ใน

โบราณวิทยาเร่อื งเมอื งอูท่ อง
ดํารงพันธ อินฟาแสง, “การจัดระบบฐานขอมูลของผลการศึกษาลักษณะดินท่ีไดจากการขุดคนทาง

โบราณคดีในประเทศไทย”, รายงานการวิจัย, ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, 2547,.
ด.ี จ.ี อี.ฮอลล,ประวตั ิศาสตรเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต เลม 1,แปลโดย อานันท กาญจนพันธ, (กรุงเทพฯ ,
มลู นธิ โิ ครงการตําราสงั คมศาสตรและมนษุ ยศาสตร, 2522), .
ทกั ษิณ อนิ ทโยธา, ใครคือเจาถิ่นลุมนา้ เจาพระยาและดามขวานทองเม่ือ 2,000-3,000 ปกอน,
(กรุงเทพฯ: ดานสทุ ธาการพมิ พ, 2534),.
ธนาคารไทยพาณิชย,มลู นิธิสารานกุ รมวัฒนธรรมไทย, สารานุกรมวฒั นธรรมภาคกลาง ฉบบั ตนแบบ
2,(กรงุ เทพฯ: บริษทั อมรนิ ทรพริ้นตง้ิ แอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), พมิ พเนื่องใน
วโรกาสท่ี สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ 40
พรรษา, 2538),.
ธนติ อย่โู พธิ์,สุวัณณภมู ิ,(กรุงเทพฯ:กรมศลิ ปากร, 2510).
ธิดา สาระยา, ทวารวดี : ประวัติศาสตรยุคตนของสยามประเทศ, (กรุงเทพมหานคร:เมืองโบราณ
,2532),.
________. (ศรี), ทวารวดีประวตั ิศาสตรย์ ุคตน้ ของสยามประเทศ,.(กรงุ เทพฯ: เมอื งโบราณ, 2532).
น.ณ ปากนา้ํ (นามแฝง). พจนานุกรมศลิ ป, (พิมพค์ รั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ, 2552),

149

________. น.ณ ปากนาํ้ , ศิลปะโบราณในสยาม,( กรุงเทพฯ:ดานสุทธาการพิมพ, 2537), -
นลินี เหมนิธิ,น้าชมพิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระปฐมเจดีย จังหวัดนครปฐม, (กรุงเทพฯ:การ

ศาสนา, 2514),.
นายภูธร ภูมะธน “หลักฐานและหลักธรรมพุทธศาสนาสมัยแรกเร่ิมท่ีเมืองอู่ทองและปริมณฑล,

2556.
นิติพันธ ศิริทรัพย, “พระพิมพดินเผาทวารวดีท่ีนครปฐม”, วิทยานิพนธศิลปะศาสตรมหา บัณฑิต,

(บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, 2526),.
บวสเซอลเี ย่, ฌอง. ความรใู้ หมท่ างโบราณคดีจากเมืองอทู่ อง.,(พระนคร : กรมศิลปากร, 2511).
________. ฌอง (Boisselier, Jean), สุภัทรดิศ ดิศกุล, ม.จ., “ศิลปะทวาราวดี”, ศิลปากร, ป ท่ี 11

ฉบับท่ี 5(มกราคม 2511),.
ปานจิตร จนิ หิรญั ,ศึกษาผลกระทบของการท่องเทยี่ วต่อชมุ ชนชาวเกาะพงัน, 2556,.
ผรยิ ะ ไกรฤกษ,์ ผศ,ดร. ประวตั ิศาสตรศ์ ิลปะในประเทศไทยฉบับค่มู อื นกั ศึกษา,
ผาสุข อินทราวุธ ทวารวดี : การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, (Indrawooth

Phasook, Dbara vati Dharmacakra (Bangkok : Saksopa Press, 2008).
________. รายงานการขุดคนเมอื งโบราณฟาแดดสงยาง อา้ เภอกมลาไสย จังหวดั กาฬสินธุ,

( ม.ป.ท: ม.ป.ป.), ผาสขุ อนิ ทราวุธ, สวุ รรณภมู ิจากหลักฐานโบราณคดี,
________. ทวารวดี, การศึกษาเชิงวิเคราะหจากหลักฐานทางโบราณคดี, (กรุงเทพฯ: อักษรสมัย,

2542), .
________.ทวารวดกี ารศกึ ษาวเิ คราะหจ์ ากหลกั ฐานโบราณคดี,. กรงุ เทพฯ : อักษรสมยั , 2542.
พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต),รูจักพระไตรปฎกเพื่อเปนชาวพุทธท่ีแท,พิมพครังท่ี 2, (กรุงเทพฯ:

เอดสิ นั เพรส โปรดกั ส, 2543).
________. พจนานุกรมพุทธศาสนฉบับประมวลศัพท, พิมพครังท่ี 10 , (กรุงเทพฯ: บริษัท

เอส.อาร.พร้นิ ติ้ง แมส โปรดกั สจํากัด, 2546),
________. พระไตรปฎกสิ่งที่ชาวพุทธตองรู(ฉบับสองภาษา), (กรุงเทพฯ: บริษัทเอส.อาร.พร้ินติ้ง

แมส โปรดักสจํากัด,2545),./ นิกายเถรวาท ปจจุบันไดแก พระพุทธศาสนาท่ีนับถือกัน
ในประเทศไทย ศรีลังกา พมา เขมร และลาว เปนหลัก(ปจจุบันมีการเผยแผในยุโรป
แลวหลายประเทศ) และคําวานิกายเถรวาท มีช่ือเรียกอยางอื่นอีกคือ หีนยานและทักษิณ
นิกาย แตคําวาหนิ ยานนน้ั ทราบวามมี ติใหเลิกใชแลว เนอ่ื งจากเปนคาํ ที่เสมือนดูถูกนิกาย
เถรวาทน่ันเอง
ผองศรี วนาสิน และทิวา ศุภจรรยา, เมืองโบราบริเวณชายฝงทะเลเติมของท่ีราบภาคกลางประเทศ
ไทย: การศึกษาตําแหนงที่ต้ังและภูมิศาสตรสัมพันธ, (กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,
2556.
พระพรหมโมลี(วิลาศ ญาณวโร ป.ธ.9),วิปสสนาวงศ: พิมพในงานพระราชทานเพลิงศพพระ พรหม
โมลี (วิลาศ ญาณวโร), ม.
พระพรหมคุณาภรณ์ ป. อ ปยุตโต, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบัยประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 16,

150

กรงุ เทพฯ ) 2554),
พระโสภณคณาภรณ(ระแบบ ฐิตญาโณ),ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา, (กรุงเทพฯ: หางหุนสวน

จํากดั ศวิ พร, 2529),.
พระครูอรุณธรรมรังษี, คา้ กรวดน้าภาษาไทยโบราณวา“.คนพาล อยาไดพบขอใหประสพคนมีปญญา

เดชะกศุ ลใหพนอสุรา ขอใหตัวขาพบพระศรอี ารยิ .พริ าบ สาํ นักพิมพ, 2537).
พระอุดรคณาธิการ ,ประวัติวัติศาสตรพระพุทธศาสนาในอินเดีย ,หนา 290-302., มหาวํส.(บาลี).

12/1-11/81-82.
พรอม สุทศั น ณ อยธุ ยา, การฝงรากฐานพระพุทธศาสนาลงท่ีบาน "คูบัว" อําเภอเมือง จังหวัดราชบุ

รี สมัยพระเจาอโศกมหาราชถึงพระเจากนิษกะจาก พ.ศ.273 - 703, พิมพครั้งท่ี 2,(พระ
นคร: เจรญิ ธรรม, 2511),.
พทิ รู มลวิ ัลย์ และไสว มาลาทอง, ประวัติศาสตรพ์ ระพุทธศาสนา, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การ
ศาสนา, 2542), .
ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยถึง พ.ศ. 2000,( กรุงเทพฯ: บริษัทรุงแสง
การพมิ พ จาํ กัด, 2535), .
มานิต วัลลโิ ภดม,สุวรรณภูมอิ ยทู ไี่ หน,(กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พการเวก, 2521),.
ยอรช์ เซเดส์ “จารึกบนเสาแปดเหล่ียมท่ีศาลสงู ” ประชมุ ศิลาจารึกภาคที่ 2
________. ประวัติศาสตรเ์ อเชียอาคเนย์ถึง พ.ศ. 2000, มจ. สุภัทรดิศ (แปล). กรุงเทพฯ : สมาคม
ประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี,
2549.
รองศาสตราจารยศ์ รีศักร วัลลิโภดม หนังสือหลักฐานประวตั ิศาสตร์โบราณคดี ,การประชุม สัมมนา
ทางวิชาการ เร่ืองอู่ทองเมืองโบราณ เมืองสร้างสรรค์การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
วฒั นธรรมและวถิ ีชีวิตด้งั เดมิ ,2525), .
ราศี บุรุษรัตนพันธุ, “ความสําคัญของเมืองลพบุรีในฐานะเปนแหลงกระจายวัฒนธรรมทวาร วดีบริเวณ
ลุมแมนํ้าปาสัก”, วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลยั ศิลปากร, 2529),.
รอ้ ยเอกบุณยฤทธิ์ ฉายสุวรรณ “ทศิ ทางการพัฒนาเมอื งโบราณอู่ทอง จ.สพุ รรณบรุ ี สกู่ ารเปน็ เมือง
ทอ่ งเทย่ี วเชิง ( 2556).
วรรณี ภมู ิจิตร,โบราณคดีนครสวรรค : หลักฐานเกา-ใหม; นครสวรรค: รัฐกึ่งกลาง, (กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร
การพิมพ, 2528), .
วินัย พงศ์ศรีเพียร,ดร., “ครูกับการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ไทย” คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนประวัติศาสตร์ ,ประวัติศาสตร์ : จะเรียนจะสอนกันอย่างไร,(กรุงเทพมหานคร :
โรงพมิ พก์ รมการศาสนา, 2543) .
ศรีศักร วัลลิโดดม, ความหมายพระบรมธาตุในอารยธรรมสยามประเทศ, พิมพคร้ังที่ 3,(กรุงเทพฯ:
ดานสทุ ธาการพมิ พ, 2546),
________. เหล็ก “โลหปฏิวตั ิ” เมื่อ 2,500 ปีมาแล้ว,(กรงุ เทพมหานคร : สาํ นักพมิ พ์มตชิ น 2548).

151

________. ประวัตศิ าสตร์โบราณคดี : เมอื งอ่ทู อง,. (กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ, 2549).
________. สยามประเทศ ภูมิหลังของประเทศไทยต้ังแตยุคดึกดําบรรพจนถึง สมัยกรุงศรีอยุธยา

ราชอาณาจักรสยาม,.
________. สยามประเทศ: ภูมิหลังของประเทศไทยต้ังยุคดึกดําบรรพจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา

ราชอาณาจกั รสยาม, พมิ พครงั้ ที่ 3, (กรงุ เทพฯ: มติชน, 2539),.
________. โบราณคดีไทยในทศวรรษทผ่ี ่านมา, (กรุงเทพฯ :เมอื งโบราณ, 2525).
________. ศิลปะทวารวดีวัฒนธรรมพุทธศาสนายุคแรกเร่ิมในดินแดนไทย,(พิมพครั้งที่ 2,(

กรุงเทพฯ: ดานสทุ ธาการพมิ พ, 2547),.
ศรีศักร วลั ลิโภดม,อารยธรรมตะวนั ออก, ศิลปวัฒนธรรมฉบบั พเิ ศษ,( กรงุ เทพฯ:บริษทั พฆิ เณศพร้ินติ้ง

เซน็ เตอร จํากดั , 2545),.
ศกั ดช์ิ ยั สายสงิ ห,รศ.ดร., ศิลปะทวารวด:ี วฒั นธรรมพทุ ธศาสนายุตแรกเริ่มในดนิ แดนไทย,.
ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลอดีตคณบดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (จาก

หนังสือ โบราณคดีวทิ ยาเร่อื งเมืองอู่ทอง กรมศิลปากร รวบรวมจัดพิมพ์ เนอื่ งในงานเสด็จ
พระราชดําเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง สุพรรณบุรี วันที่ 13 พฤษภาคม
2509)
ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ, “รายงานการศึกษาด้านโบราณคดี” โครงการวิจัยซากดึกดําบรรพ์ในชั้น
ตะหอนบริเวณแอง่ เจ้าพระยาตอนล่าง,กรมทรัพยากรธรณี, 2556 .
ศิลปากร, กรม. จารึกสมยั สโุ ขทัย. (กรุงเทพฯ : หอสมดุ แห่งชาติ, 2526).
________. กรมโบราณคดีคอกช้างดนิ สํานักงานโบราณคดแี ละพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติที่ 2
สุพรรรบุรี (กรุงเทพฯ : ฟันนี่ พับลชิ ชงิ่ , 2545).
สมเด็จพระวันรตั น,(แตง,พระยาปรยิ ัติธรรมธาดา(แพ ตาลลักษณ) แปล), สังคีติยวงศ พงศาวดารเรื่อง
สังคายนาพระธรรมวนิ ัย, .
สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ. นิทานโบราณคดี, (กรุงเทพฯ : สํานักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์
ของชาติ, 2544),.
________. ตา้ นานพระพทุ ธเจดีย, กรุงเทพฯ:
สมศักด์ิ รัตนกุล รายงานการส้ารวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถานเมืองเก่าอู่ทอง กรมศิลปากร
จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสเสด็จพระราชดําเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
จังหวดั สพุ รรณบุรี วันท่ี 13 พฤษภาคม 2509
________. โบราณคดีเมืองคูบัว, (กรมศิลปากรพิมพเนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ วาท่ี ร.ต.สมศักด์ิ
รตั นกลุ เม่ือวนั ที่ 27 เมษายน 2535),.
สันต์ไทยานนท์. การศึกษาลําดับพัฒนาการวัฒนธรรมทางโบราณคดีเมืองอู่ทอง. วิทยานิพนธ์ศิลปะ
ศาสตรมหาบัณฑิต,(โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย
ศลิ ปากร, 2554..
สันติ เล็กสุขุม. เจดีย์ ความเป็นมาและค้าศัพท์เรียกองค์ประกอบเจดีย์ในประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่
5. กรุงเทพฯ : มติชน, 2552),

152

สํานักงานพื้นท่ีพิเศษเมืองโบราณ อู่ทอง [ออนไลน์],20 พฤศจิกายน 2556 แหล่งท่ีมา
www.dasta.or.th/dastaarea7/th,สบื ค้นเม่อื วนั ท่ี 10 มิย.62.

สิริวัฒน คําวันสา, รศ., ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, พิมพครั้งท่ี 4, (กรุงเทพฯ:บริษัท
จรัลสนทิ วงศการพิมพ จํากดั , 2542),.

สุจติ ต วงษเทศ, สุวรรณภมู ิตนกระแสประวตั ศิ าสตรไทย, (กรงุ เทพฯ: บรษิ ัทพิมพ์มติชน,2548,.
________. คนไทยมาจากไหน, (กรงุ เทพฯ: สาํ นักพมิ พ์มตชิ น,2548,.
สุภมาศ ดวงสกุล,บรรพชนรุ่นแรก ย่านด่านช้าง สุพรรณบุรี,” เอกสารประกอบการเสวนาทาง

วิชาการเร่ือง “อู่ทอง...ต้นสายและปลายทาง” วันท่ี 17 กันยายน 2556 ณ
พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติอูท่ อง,2556.
สุภัทรดศิ ดศิ กลุ , ม.จ., “รอยพระพุทธบาทคูทสี่ ระมรกต ดงศรมี หาโพธิ์ จ.ปราจนี บุรี”,โบราณคด,ี ป
ที่ 12 ฉบับท่ี 3 (กรกฎาคม-กนั ยายน 2529),.
________. ศ.ม.จ.,“พระพุทธรปู อนิ เดียแบบอมราวดี”,โบราณคดี,ปที่ 5 ฉบับท่ี 6, (มกราคม 2552),
________. ศลิ ปะในประเทศไทย, พิมพครั้งท่ี 10 ,(กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร, 2538),.
สุรพล นาถะพินธุ และ ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ, ประวัติวัฒนธรรมลุ่มน้าทวน-จระเข้สามพัน
รายงานการสาํ รวจข้อมลู วัฒนธรรมสมยั โบราณในล่มุ น้าํ ทวน(จ.กาญจนบุร)ี -จระเข้สามพัน
(จ.สุพรรณบรุ ี) สนบั สนุนโดย บริษัท มติชน จาํ กัด (มหาชน) พ.ศ. 2552)
สุริยวฒุ ิ สุขสวัสด์ิ,ม.ร.ว.,ศ.ดร.,ศรีทวารวดถี งึ ศรีรตั นโกสนิ ทร,(กรุงเทพฯ:ดานสทุ ธาการพิมพ, 2537),
หลวงบรบิ าลบรภิ ัณฑ,ศ.,เรื่องโบราณคดีฯ ,(พระนคร: รุงเรืองรตั น, 2503)
หอสมดุ แหงชาติ กรมศลิ ปากร, จารึกในประเทศไทยเลม 1 อักษรปลลวะ หลงั ปลลวะ พทุ ธ ศตวรรษ
ที่ 12-14 ,(กรงุ เทพฯ: ภาพพิมพ, 2529.
อนุสรณ คุณประกิจ, “การศกึ ษาคติและรูปแบบประติมากรรมดินเผาขนาดเล็กสมัยทวารวดีท่ี พบ
ในบริเวณภาคกลางของประเทศไทย”,วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิต
วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร), 2529.
อุษา งวนเพียรภาค,โบราณวัตถุในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระปฐมเจดีย, (นนทบุรี:บริษัทพิจิตร
การ พิมพ จาํ กดั , 2548), .
บวสเซอลิเยร์ ฌอง ,ความร้ใู หมท่ างโบราณคดีจากเมอื งอู่ทอง,. (พระนคร:กรมศลิ ปากร,2515),
พมิ พดี จาํ กดั , 2549),.

2.ภาษาอังกฤษ

Aung Thaw. Historical Sites in Burma. The Ministry of Union Culture, Government of
Union of Burma : sarpay Beikman Press, 1972.

Boeles, J.J. “A note on the ancient city called Lavapura” Journal of the Siam Society,

Vol. LV, Partl (January 1967),.

153

Boisselier, J. “Travaux de la Mission Ar cheologique Francaise en Thailande” ; Murthy,

K. K. 1977. Nagarjunakonda, a Xulltural Study, Delhi : oncept Publishing,.

Ha Van Tan,“Earrings with two animal heads and Dong Son-Sa Huynh relationaship”,
New Archaeology Discoveries Hanoi, 1977.

Lucas Chin “Niah Caves” Cultural Heritage of Sarawak, Sarawak Museum,
Kuching, 1980 Chapter Two.

Paul Wheatley. The Golden Khersonese. Kuala Lumpur: The Malaya University Press,
1961.

Somboon Jarupongsakul,Geomorphology of the Chao Phraya Delta,Thailand 1990,.
Snodgrass, Adrian. The Symbolism of The Stupa. New York : Cornell University, 1985.
Lucas Chin “Niah Caves” Cultural Heritage of Sarawak, Sarawak Museum, Kuching,

1980 Chapter Two.

154

รายงานผลส้ารวจแหล่งโบราณคดืทวารวดี(.อทู่ อง)

ตาราง แสดงขอ้ มลู รูปเก่ยี วกบั โบราณสถานท่ีเมอื งอู่ทอง
ตาราง จารกึ ท่ีพบในบรเิ วณภาคกลาง เขต จังหวัดสพรรณบุรี
รูปลักษณะเก่ียวกบั โบราณสถานท่ีเมืองอ่ทู อง
รายงานผลสํารวจแหลง่ โบราณคดีในเขตอทู่ อง

155

ตารางท่ี 1 แสดงขอ้ มลู รูปเกย่ี วกับโบราณสถานที่เมอื งอทู่ อง

ตารางท่ี 1 แสดงขอ้ มลู รปู เกี่ยวกับโบราณสถานที่เมอื งอูท่ อง

โบราณสถาน ลกั ษณะทางสถาปัตยกรรม โบราณวัตถทุ พี่ บ

ทม่ี รี ูปส่เี หล่ียมจัตรุ ัสมีความยาว พระพทุ ธสมั ฤทธ์ิศลิ ปะทวารวดสี มยั

ดา้ นละ 30 6.50 เมตรมี 3 สมยั ทวารวดีมลี วดลายตา่ งๆเครือ่ งใช้

เจดียห์ มายเลข 1 คอื สมยั ทราวดรี ะยะท่ี 1 สมัย สมยั อยธุ ยาเชน่ ขอบพานกังสดาล

ทราวดรี ะยะที่ 2 และ ขอบเตา่ เตา่ เตา่ ปูนขนั ตกั นา้ํ เปน็ ต้น

สมยั อยุธยา

เจดียร์ ูปสี่เหลยี่ มจัตรุ สั ยาว ชนิ้ ส่วนธรรมจักรพระพิมพ์ดินเผา

ดา้ นละ 2 28.3 5 เมตรฐาน พระพุทธรูปรูปกินรีนนู ต่ําเสยี และ

เจดียห์ มายเลข 2 สงู 1 เมตร ฐานช้ันล่างกอ่ อฐิ พระบาทพระพทุ ธรูปทองคําเศียร

ย่อมมุ 4 ด้านมเี จดียข์ นาดเล็ก พระพุทธปนู ปั้น

ที่มุมทงั้ สมี่ ีร้านทกั ษิณกว้าง

4 เมตร

ฐานเจดียร์ ูปสี่เหลย่ี มจัตุรสั กว้างยาว เศยี รพระพทุ ธรปู และองค์พระพทุ ธรปู

ดา้ นละ 16.60 เมตรละด้านมมี กุ ปนู ปน้ั เปน็ จาํ นวนมากพทุ ธรูป

ยืดสามมุขว่างมุกละ 3.60 เมตรฐาน สาํ รดิ 3 องคแ์ ผน่ ดนิ รูปคนเหาะ

เจดยี ห์ มายเลข 3 แตล่ ะด้านมีพระพทุ ธรูปนั่งภาย หนา้ ยกั ษ์ปนู ปนั้ และนาคกาลบนิ เผา

ในซมุ้ ดา้ นเหนือขุดพบฐาน it

ห่างจากเจดีย์ 2 เมตรอาจจะเป็น

แท่นวางเครื่องบูชา

ไม่มใี นรายงานขดุ แตง่ อาจจะเปน็ เนนิ

โบราณสถานทข่ี ุดแล้วไม่พบฐาน

เจดยี ห์ มายเลข 4 อาคารใดๆปจั จบุ นั เสื่อมสภาพแลว้

เจดยี ์หมายเลข 5 ฐานวหิ ารกวา้ ง 5 เมตรยาว 28 เมตร
ทิศตะวันออกเป็นฌานสําหรบั
ทางบันไดขึ้นวิหารมอี ัศจรรย์
ปัจจบุ นั เสอ่ื มสภาพแล้ว

เจดยี ห์ มายเลข 6 ไม่มีในรายงานขุดแตง่ อาจจะเป็น
เนินโบราณสถานทข่ี ดุ แลว้ ไม่พบฐาน
อาคารใดๆปัจจุบันเส่อื มสภาพแลว้

ไม่มใี นรายงานขดุ แต่งอาจจะเปน็ เนนิ

156

เจดียห์ มายเลข 7 โบราณสถานทขี่ ุดแล้วไม่พบฐาน
เจดียห์ มายเลข 8 อาคารใดๆปจั จบุ ันเสื่อมสภาพแล้ว

เจดียห์ มายเลข 9 ไมม่ ีในรายงานขดุ แต่งอาจจะเป็นเนนิ
โบราณสถานทขี่ ดุ แล้วไมพ่ บฐาน
เจดียห์ มายเลข 10 อาคารใดๆปจั จบุ นั เส่อื มสภาพแลว้

เจดีย์หมายเลข 11 เจดยี ร์ ปู สีเ่ หลีย่ มจัตุรสั กว้างยาวดา้ น ชิ้นส่วนองคพ์ ระพทุ ธรปู แผ่นหนิ
เจดยี ์หมายเลข 12 ละ 10 เมตรฐานชัน้ ล่างสูง 1.30 ระฆงั หิน
เจดีย์หมายเลข 13 เมตรฐานตําบลกอ่ อฐิ ย่อมุมมีชอ่ งซมุ้
เจดยี ์หมายเลข 14 ประดบั เป็นช่อง ๆมีเจดียก์ ลมตั้ง
อยทู่ ่ีมมุ ทง้ั ส่ีขนาดเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง
50 cm

เจดีย์ทรงกลมเส้นผา่ ศนู ย์กลาง
16 เมตรสงู 2 เมตรก่ออิฐขึน้ ไป
ตรงๆไมไ่ ม่ย่อเปน็ ช้ัน

ฐานเจดีย์รปู สีเ่ หลีย่ มจัตรุ ัสยาวดา้ น พระพุทธรปู สํารดิ 4 องค์ ทํามาจาก
ละ 10.60 เมตรสงู 2.5 เมตรกอ่ อิฐ เสาทํามาจากฐานรองรับธรรมจกั ร
ขึ้นไปตรงๆไมม่ ีมุก พระพมิ พ์ดินเผามีจารึกพระพทุ ธรปู
พระเจา้ สุทโธทนะ
ถกู คนท่วั บรเิ วณจงึ ไม่พบฐานราก
ของโบราณสถาน

เจดยี ์ 8 เหลี่ยม สงู ลาว 3.58 เมตร พระพุทธรปู สํารดิ 4 องค์ สิงห์สัมฤทธ์ิ
ฐานแตล่ ะดา้ นยาว 5 เมตรสูง 1 ส่วนยอดสถปู ศลิ าแดงศลิ าแลงสงิ ห์
เมตรแต่ละดา้ นแบ่งช่องซุ้มยอ่ เกศ 2 ทําจากศลิ าแลง
ซมุ้ ด้านบนทําเปน็ ฐานหลอ่ ฐาน
ชัน้ ลา่ ง

ไมม่ รี ายงานขุดแต่งอาจจะเปน็ เนิน
โบราณสถานท่ีควรและไมพ่ บสถาน
อาคารใดๆปัจจบุ ันเสอื่ มสภาพแล้ว

ตารางท่ี 2 จารกึ ที่พบในบริเวณภาคกลาง เขต จังหวัดสพรรณบุรี 157

บริเวณ ลกั ษณะจารกึ สถานทพี่ บ อกั ษร/ภาษา ข้อความ การก้าหนด
อายุ

จารกึ หลงั พระ เจดียหมายเลข 11 ปลลวะ /บาลี พระศรี พุทธศตวรรษที่
ภาคกลาง พิมพดนิ เผา เมืองโบราณ อาริยะ 11-12
สุพรรณบรุ ี เมตไตรย

จารึกหลังพระ เจดยี หมาย ปลลวะ/บาลี พระสารีบตุ ร พุทธศตวรรษท่ี
พิมพดินเผา 11-12
เลข 11
จารกึ หลงั พระ
พมิ พดินเผา เมอื งโบราณ

จารกึ หลังพระ อูทอง
พิมพดินเผา
จ.สุพรรณบรุ ี
จารึกบน
แผนอิฐ เจดียหมายเลข 11 ปลลวะ /บาลี พระโสณ พทุ ธศตวรรษที่
โกลิวสี ะ 11-12
จารกึ บนแผนอิฐ เมอื งโบราณ
จารึกหลงั ประติ
มากรรมดนิ เผา อูทอง
รูปบุคคลทรง
เครอ่ื งกษัตริยนง่ั จงั หวัดสุพรรณบรุ ี
ประนมมอื
เจดียหมายเลข11 พทุ ธศตวรรษที่
11-12
เมืองโบราณอทู อง ปลลวะ /บาลี พระ
มหากสั สปะ/ พุทธศตวรรษที่
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พระมหา 11-12
กัจจายนะ
บานทามวง พุทธศตวรรษท่ี
คาถาเย ธมมฺ า 11-12
ต.จระเข

สามพราน

อ.อูทอง ปลลวะ/บาลี

จ.สุพรรณบรุ ี

บริเวณโบราณ

สถานรางนอก

เมอื ง อูทอง ไป

ทางทิศ ตะวนั ออก ปลลวะ / บาลี “นโม ทฺธาย” พทุ ธศตวรรษท่ี
11-12
เจดยี หมายเลข๑๑
พระเจา
เมืองโบราณ หลังปลลวะ/ ศุทโธทนะ

อูทอง สุพรรณบุรี สนั สกฤต

158

รูปลกั ษณะเกี่ยวกับโบราณสถานทเี่ มอื งอู่ทอง

รปู ภาพท่ี 1 เจดีย์หมายเลข 1

เจดีย์หมายเลข 1 วัดปราสาทร้างต้ังอยู่ห่างจากคูเมืองทางตะวันออกราว 500 เมตร
อยู่ในฝั่งส่ีเหลี่ยมจัตุรัสมีขนาดกว้างยาวด้านละ 36.50 เมตร จากการขุดแต่งพบว่า มีการก่อสร้าง
อย่างน้อย 3 ระยะคือ การก่อสร้างระยะแรกในสมัยทวารวดีพม่า มีการก่อเพ่ิมเติมในสมัยทวารวดี
เชน่ กันโดยทพ่ี บแผน่ อฐิ มีลวดลายเขียนสี (สีขาวดาํ และแดง) เป็นลายกา้ นขดและเรขาคณิตเหนือฐาน
เจดีย์ชั้นล่างท่ีสร้างขึ้นในสมัยทวารวดีน้ี มีฐานเจดีย์อีกสามช้ัน ที่วางตัวเลื่อมจากฐานตัวล่าง
สันนิษฐานว่า สร้างข้ึนภายหลังเป็นระยะสุดท้ายในสมัยอยุธยาโดยได้พบภาชนะต่างๆในสมัยอยุธยา
เชน่ ขันนา้ํ กระบวย พาน เป็นตน้ (ภัทรพงษ์ เก่าเงิน 2545 ก: 35 37)

รปู ภาพท่ี 2 เจดีย์หมายเลข 2

159
เจดีย์หมายเลข 2 ตั้งอยู่นอกคูเมืองด้านทิศเหนือเป็นเจดียก์ ่ออิฐโดยมีฐานชั้นในเป็นศลิ าแลงองค์ที่ดี
อยู่ในฝ่ังสี่เหล่ียมจัตุรัสยกเก็จ 3 เก็จ ในแต่ละด้านมีขนาดกว้างยาวด้านละ 28- 35 เมตร โดยมีเจดีย์
จาํ ลองหรอื สถูปกิ ะตัง้ อยู่ทม่ี ุมทั้ง 4 มุมและลานประทกั ษณิ กว้าง 5 เมตรโดยรอบโบราณวตั ถุที่พบจาก
การขุดแต่งคอื เศียรพระบาทของพระพุทธรปู ท้าจากทองค้าพระพทุ ธรูปศลิ าประทบั ยืนพระพมิ พ์ดิน
เผาชิน้ ส่วนชน้ิ สว่ น ศิลาพระธรรมจักรและชนิ้ ส่วนกินรีดินเผา(ภัทรพงษ์ เก่าเงนิ 2515 ก: 37- 39)

รูปภาพท่ี 3 เจดียห์ มายเลข 3
เจดีย์หมายเลข 3 ต้ังอยู่ภายใต้เมืองโบราณห่างจากคูเมืองทางตะวันตกเพยี ง 50 เมตรในผังสีเ่ หล่ียม
จัตุรัสยกเก็จ 3 เก็จ ในแต่ละด้านกว้างยาวด้านละ 16. 60 เมตรแต่ละด้านมี จระนําซุ้มท่ีประดิษฐาน
พระพุทธรูปทําจากปูนปั้น โดยได้ขุดพบเศียรและส่วนองค์พระเป็นจํานวนมากทางด้านใช้ได้ห่างจาก
ฐานเจดีย์ออกมาราว 2 เมตรมีฐานสี่เหลี่ยมขนาดเล็กที่อาจจะเป็นแท่นสักการะ นอกจากนี้ยังได้ขุด
พบพระพุทธรูปสําริด 3 องค์อยู่ในอริยบทประทับยืนมีความสูง 50, 53, 55 พบภาพสลักบุคคลในถ้า
เขาทาํ จากดนิ เผา (ภัทรพงศ์ เกา่ เงิน 2545 ก: 32- 34)

รปู ภาพที่ 4 เจดีย์หมายเลข 8

160

รปู ภาพที่ 5 เจดีย์หมายเลข 9
เจดีย์หมายเลข 9 ตั้งอยู่เชิงเขาพระห่างจากเมืองทองไปทางตะวันตกประมาณ 2 กม. ฐาน

ล่างอยู่ในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัสกว้างยาวด้านละ 10 เมตรบนฐานมีเจดีย์ขนาดเล็กตั้งอยู่ท่ีมุมส่ีทิศถ้าข้ึนไป
ฐานเจดีย์ อีกชั้นหนึ่งอยู่ในผังส่เี หลี่ยมจัตุรสั ยกเก็จ 2 เก็จ ในแต่ละด้านโดยได้พบพระพมิ พ์ดนิ เผาศลิ ปะ
ทวารวดี 2 องค์ (ภทั รพงษ์ เก่าเงนิ 2545 ก: 43-44)

รูปภาพท่ี 6 เจดยี ์หมายเลข 10

161
เจดีย์หมายเลข 10

เป็นเจดียท์ รงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 เมตร สูง 2 เมตร กอ่ อฐิ ขึ้นไปตรงๆ ไมย่ อ่ เปน็ ช้นั พบ
ชน้ิ สว่ นองคพ์ ระพุทธรปู แผ่นหนิ ระฆงั

รวมภาพ 7 เจดยี ์หมายเลข 11

162
เจดีย์หมายเลข 11 ตั้งอยู่เชิงเขาทําเทียมทางตะวันตกของเมืองอู่ทองก่อสร้างในถัง
ส่ีเหลี่ยมจัตุรัสกว้างยาวด้านละ 10. 60 เมตร แม้จะเป็นเจดีย์ขนาดเล็กและมีรูปแบบเรียบง่ายแต่ก็มี
ความสาํ คัญเพราะได้ขุดพบโบราณวัตถุเป็นจํานวนมากทงั้ พระพุทธรปู ประทบั ยนื สาํ ริด 4 องค์มคี วาม
สูง 22, 24, 28, 32 เชิญพระพิมพ์ดินเผาท่ีเบ้ืองหลังมีจารึกภาษาสันสกฤตระบุว่า เป็นพุทธสาวกเช่น
พระสารีบุตรและพระอนาคตของพระเจ้าคือเมตตาท่ีสําคัญคือได้ขุดพบศิลาจารึก พร้อมทั้งเสาหิน
แปดเหล่ียมและฐานรองรับพระธรรมจักร โดย มีพระเมตไตยยโก ตําแหน่งเม่ือขุดพบห่างกันราว 30
เซนติเมตร(ภทั รพงษ์ เกา่ เงิน 2545 ก: 47-49)

ปรกึ ษาเรอื่ งอารยธรรมทวารวดีกับปลดั อาํ เภออทู่ อง

รปู ภาพท่ี 8 เจดยี ห์ มายเลข 13
เจดีย์หมายเลข 13
ต้งั อยู่นอกเมืองอูท่ องห่างจากคูเมืองดา้ นตะวันตกไปไมไ่ กลนกั เปน็ เจดยี ท์ รงแปดเหลย่ี มและแต่ละดา้ น

กว้าง 5 เมตรโดยยอ่ เก็จ เป็นช่องซุ้มซึง่ แตล่ ะดา้ นมี 2 ชอ่ งและขุดพบส่วนยอดสถูปทําจาก
ศิลาแลงพบ พระรูปสําริดสามเหล่ียมสามองค์และสิงห์สําริด 1 ตัวเก่าเงิน (ภัทรพงษ์ เก่า
เงนิ 2545 ก: 40- 41)

163

รวมรปู ภาพส้าคญั ทปี่ รากฏในฐานเจดยี ห์ มายเลขตา่ งๆ ที่สา้ คัญเกย่ี วกับอทู่ อง ดงั นี

รูปภาพ แผน่ ดนิ เผาภาพภกิ ษุอ้มุ บาตร พบที่เมอื งอทู่ อง

โบสถ์ทวารวดี พบที่ยอดเขาทาเทยี ม เมอื งอทู่ อง

164

165

รายงานผลสา้ รวจแหล่งโบราณคดใี นเขตอู่ทอง

 บา้ นนาลาว

ยุคสมยั ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย
สถานทตี่ ้ัง หมู่ 6 ตาํ บลจระเขสํ ามพนั อาํเภออํทู่ อง จงั หวัํดสพํ รรณบรี
ตําแหน่งทตี่ ้ัง บ้านนายบุญทํา เทพณรงค์
ร้งุ 14 องศา 20 ลิปดา 53 ฟิลิปดาเหนอื
แวง 99 องศา 52 ลิปดา 38 ฟลิ ิปดาตะวันออก
พกิ ดั UTM 47 P 0594602 E 1586401 N
ป่าช้าวัดนาลาว
รุ้ง 14 องศา 21 ลิปดา 01 ฟิลิปดาเหนือ
แวง 99 องศา 52 ลิปดา 41 ฟลิ ิปดาตะวันออก
พกิ ัด UTM 47 P 0594694 E 1586631 N
เส้นทางเข้าสู่แหลง่
จากตัวเมืองอทู่ องว่ิงตามทางหลวงหมายเลข 321 มุ่งหน้าไปยังนครปฐมประมาณ 3 กิโลเมตรถึง

ทางเข้าหมบู่ ้านนาลาวแหล่งโบราณคดีตัง้ อยู่ในเขตบ้านนายบุญทําเทพณรงค์
สภาพทั่วไปของแหล่ง

แหล่งโบราณคดีบ้านนาลาวปัจจุบันตั้งอยู่บนพื้นที่ของนายบุญทํา เทพณรงค์ ซ่ึงตั้งอยู่
บน พนื้ ที่ดอนริมฝั่งแม่น้ําจรเข้สามพัน (ทางนํ้าเก่า) บริเวณริมฝั่งแม่นํ้าน้เี ดิมเป็นเขตป่าช้าเก่า แต่
ปัจจุบันชาวบ้านปรับเป็นที่ทําการเกษตรส่วนหน่ึง และอีกส่วนโปกปูนซีเมนต์เป็นลานขนาดค่อนข้าง
ใหญ่ ซง่ึ พ้ืนที่บริเวณดังกล่าวต้ังอยู่บนพ้ืนท่ผี ืนเดียวกัน
หลักฐาน

จากการสํารวจและสัมภาษณ์ นายบุญทํา เทพณรงค์ พบว่า บริเวณที่พบโบราณวัตถุคือ
บริเวณ บ้านและพ้ีนทใ่ี กล้เคียง (ป่าช้าเก่า) ต้งั อยทู่ างทิศใต้ของบ้านลุงช่วงแรกที่มีการพบโบราณวัตถุ
ได้มีการแบ่งพื้นท่ีให้เช่าขุดหาโบราณวัตถุ หากท่ีมีโบราณวัตถุหลุมละ50 บาทไม่มีโบราณวัตถุหลุมละ
30 บาท โบราณวัตถุที่พบ ได้แก่ โครงกระดูกมนุษย์นอนหงายเหยียดยาว ฝังร่วมกับลูกปัดภาชนะดิน
เผา ขวาน หินขัด แวดินเผา ลูกปัดที่พบมีหลายประเภทเช่นลูกปัดทําจากดินลูกปัดทําจากแก้ว และ
ลูกปัดทําจากหินอาร์เกต คาร์เนเลียน เป็นต้น

166

สภาพท่วั ไปของแหลง่ โบราณคดบี า้ นนาลาว

โบราณวัตถุประเภทต่างๆ เช่นขวานหินขัด, ลูกกระสุนดินเผา,

ป่าช้าเกา่ สถานท่ีท่ีพบลกู ปดั ปจั จบุ นั เป็นศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บ้านนาลาว

 บ้านหัวท้านบ

ยุคสมัย ก่อนประวตั ิศาสตร์ตอนปลาย
สถานที่ตัง หมู่ 4 ตําบลบ้านดอน อําเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบรุ ี
ต้าแหน่งท่ตี งั
รงุ้ 14 องศา 19 ลปิ ดา 55 ฟลิ ิปดาเหนือ

167
แวง 99 องศา 57 ลิปดา 16 ฟลิ ิปดาตะวันออก
พกิ ดั UTM 47 P 0602936 E 1584667 N
เส้นทางเข้าสู่แหลง่
จากตัวเมืองอู่ทองไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ใช้เส้นทางถนนอ่ทู อง – ดอนพุทรา ผ่านหมบู่ ้าน
ดอนพทุ รา, หมบู่ ้านหนองชะโด, หมบู่ ้านตาลเรียง, หมูบ่ ้านโพธ์ลิ ้อม, หม่บู ้านดอกพุทรา ถึง
หมบู่ ้านหัวทํานบ
สภาพท่ัวไปของแหลง่
เป็นพน้ื ทดี่ อนปัจจบุ ันเป็นพนื้ ท่ีอยู่อาศัยของนางเลย ชวนมา และครอบครวั
หลักฐานทางโบราณคดีท่ีส้าคญั
จากการสํารวจบริเวณพื้นท่ีไม่พบโบราณวัตถุใดบนผิวดินเนื่องจากพ้ืนที่ปรับเปลี่ยนเป็นท่ีอยู่
อาศัย แต่ผลจากการสัมภาษณ์นางเลยชวนมาพบว่าพื้นที่ท่ีพบโบราณวัตถุคือ บริเวณบ้าน
ของนางเลย และลูกสาวพบเศษกระดูกกระจัดกระจาย และกําไลสํารดิ

สภาพทวั่ ไปของแหล่งโบราณคดีบ้านหัวทาํ นบ

บา้ นหัวทาํ นบ นายเขยี น ชวนมา เป็นน้องชายของนางเลย ชวนมา

168

 บ้านโนนหอ

ยุคสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ตอนปลาย
สถานทีต่ ัง หมู่ 6 บ้านโนนหอ ตําบลดอนคา อําเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
ต้าแหน่งทต่ี งั บ้านผู้ใหญ่กลุ หมวดแก้ว
รุ้ง 14 องศา 28 ลปิ ดา 30 ฟิลิปดาเหนือ
แวง 99 องศา 56 ลิปดา 24 ฟลิ ปิ ดาตะวันออก
พกิ ดั UTM 47 P 0601844 E 1600481 N
บ้านลูกสาว
รงุ้ 14 องศา 28ลปิ ดา 30 ฟลิ ิปดาเหนอื แวง 99 องศา 56 ลปิ ดา 43 ฟลิ ปิ ดาตะวันออก
พิกัด UTM 47 P 0601858 E 1600493 N
เส้นทางเข้าสู่แหลง่
จากเมืองอู่ทองใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 333 มุ่งหน้าอําเภอด่านช้าง ประมาณ 13กิโลเมตรถึงบ้าน

ดอนคา เลย้ี วเข้าไปยังหมู่บ้านและเข้าไปที่หมู่ 6 แหล่งโบราณคดีอยู่ทบ่ี ้านผใู้ หญ่บ้านกุล
หมวดแก้ว
สภาพทั่วไปของแหลง่
พื้นที่แหล่งโบราณคดีในปัจจุบันเป็นพื้นที่อยู่อาศัยของชุมชนหมู่บ้านโนนหอ บริเวณที่พบ
โบราณวัตถุจํานวนมากตง้ั อยู่ในเขตบ้านของผ้ใู หญก่ ุล หมวดแก้ว
หลักฐานทางโบราณคดีทสี่ ้าคัญ
การสํารวจบริเวณพ้ืนที่ไม่พบหลักฐานทางโบราณคดีบนผิวดิน เน่ืองจากพ้ืนที่ถูกปรับเปลี่ยนเป็นที่อยู่
อาศัยจากการสัมภาษณ์ผู้ใหญ่กุล หมวดแก้ว พบว่าเมื่อประมาณปี พ.ศ.2522 มีการขุด
พื้นที่บริเวณ ทางทิศตะวันออกของบ้านผู้ใหญ่ ปัจจุบันเป็นพ้นื ที่บ้านของลูกสาวซึ่งเป็นท่ี
ดอนพื้นท่ีที่ขุดยาวไปทางด้านทิศเหนือพบโบราณวัตถุจํานวนมาก เช่น โครงกระดูก
มนุษย์ ฝังร่วมกับภาชนะดิน ผา ลูกปัด เคร่ืองมือ โลหะ กําไล นอกจากนี้ยังพบสิงห์ทํา
จากหินสีสม้

169

สภาพทว่ั ไปของแหล่งโบราณคดบี ้านโนนหอ

ลูกปัดแบบต่างๆ ทอี่ ยู่ในความ
ครอบครองของเจา้ ของ

 บ้านโคกส้าโรง

ยุคสมัย ก่อนประวตั ิศาสตร์ตอนปลายและอยุธยา
สถานท่ีตงั บ้านโคกสําโรง ตําบลหนองโอ่ง อําเภออทู่ อง จังหวัดสุพรรณบรุ ี
ต้าแหน่งท่ตี งั
บริเวณวัดโคกสําโรง
รุ้ง 14 องศา 25 ลิปดา 44 ฟิลิปดาเหนือ
แวง 99 องศา 54ลปิ ดา 37 ฟิลิปดาตะวันออก
พกิ ดั UTM 47 P 0598117 E 1595360 N
บริเวณหน้าวัดโคกส้าโรง
รงุ้ 14 องศา 25 ลิปดา 42 ฟิลิปดาเหนือแวง 99 องศา 54 ลปิ ดา 33 ฟลิ ปิ ดาตะวันออก
พิกัด UTM 47 P 0598004 E 1595296 N
บริเวณศาลพ่อปู่ทองดําโคกสําโรง
รงุ้ 14 องศา 25 ลิปดา 44 ฟิลปิ ดาเหนือ
แวง 99 องศา 54ลปิ ดา 27ฟลิ ิปดาตะวันออก
พกิ ัด UTM 47 P 0597818 E 1595336 N
เส้นทางเข้าสู่แหล่ง ว่ิงตามทางหลวงหมายเลข 333 (อู่ทอง – ด่านช้าง) จากอู่ทองประมาณ 6

กิโลเมตร จะเห็น ทางเข้าวัดโคกสําโรงอย่ทู างด้านขวา
สภาพทั่วไปของแหล่ง ปัจจุบันพ้ืนท่ีโดยรอบของวัดโคกสําโรงเป็นท่ีตั้งของหมู่บ้านชาวลาวโซ่ง ซ่ึง

อพยพมาจากจังหวัด เพชรบุรีเมื่อประมาณ 80 ปีที่ผ่านมา สภาพของแหล่งถูกรบกวน
จากพื้นที่อยอู่ าศัยและพื้นท่ีทําการเกษตร สิ่งก่อสร้างภายในพน้ื ท่ีภายในวัดโคกสําโรงพบ
ซากเจดีย์โบราณสมัยอยุธยา คู่กับพระพุทธรูปอยู่ทางทิศตะวันออกของ เจดีย์ชาวบ้าน
เรียกว่าหลวงพ่อเงิน ปัจจุบันโบกปูนทับองค์เดิม พร้อมกับสร้างวิหารครอบองค์เจดีย์

170
และพระพุทธรูป กรมศิลปากรได้สํารวจ และกําหนดอายุอยู่ในสมัยอยุธยา (จตุรพร เทียม
ทินกฤต: 2535, 39)
เจ้าอาวาสพระครูสุวรรณศาสนกิจกล่าวว่า สภาพเดิมมีวิหารอยู่ตรงกลาง และมีเจดีย์ด้านข้าง
บริเวณที่เป็นวัด ในปัจจุบันเป็นสระน้ําอยู่ด้านข้างของเจดีย์หลังจากการสํารวจในครั้งน้ี
ได้รับคําปรึกษา จาก ผศ.ดร.ประภัสสร์ ชูวิเชียร ผู้เชี่ยวชาญทางด้านศิลปะอยุธยาและ
รัตนโกสินทร์ ซ่ึงได้ให้ความเห็น เกีย่ วกับเจดีย์ ว่าเป็นเจดีย์ในศิลปะอยุธยาตอนปลาย
โดยเป็นฝมี อื ช่างท้องถิ่น
หมายเหตุ
จากการสัมภาษณ์เจ้าอาวาสพระครูสุวรรณศาสนกิจ เกี่ยวกบั บริเวณที่พบโบราณวัตถุได้
ข้อมูลนี้ พื้นที่ที่พบโครงกระดูกมนุษย์ฝังร่วมกับลูกปัดอยู่ทางด้านหน้าของวัด บริเวณ
ที่ดินของนายเรือง พวงพัว่ เพชร และบริเวณด้านหน้าของวทิ ยาลยั การอาชีพ ซึ่งเดิมเป็น
ทดี่ อนและมีแอ่งน้ํา รวมท้ังอนามยั หนองโอ่งพบโครงกระดูกมนุษย์และลูกปัดจํานวนมาก

ซากเจดยี ส์ มัยอยธุ ยาตอนปลายในอาคารทรงมณฑปภายในวัดโคกสําโรง

บริเวณท่เี คยพบลกู ปดั บริเวณทางเขา้ วดั โคกสําโรง

171
บ้านโคก แหล่งรวบรวมลูกปดั ทวารวดี
บ่อนาํ้ บริเวณที่พบเหรยี ญเงนิ สมยั ทวารวดี

172

 บ้านวังหญ้าไทร

ยุคสมัย ก่อนประวตั ิศาสตร์ตอนปลาย –ทวารวดี
สถานทีต่ งั หมู่ 4 ตําบลจระเข้สามพัน อําเภออ่ทู อง จังหวัดสุพรรณบุรี
ต้าแหน่งทตี่ งั
ร้งุ 14 องศา 19 ลปิ ดา 15 ฟลิ ปิ ดาเหนือ
แวง 99 องศา 51 ลปิ ดา 41 ฟิลปิ ดาตะวันออก
พิกัด UTM 47 P 0592885 E 1584048 N
เสน้ ทางเข้าสู่แหลง่
เดินทางตามถนน 321 (ถนนมาลัยแมน) จากนครปฐม แหล่งจะอยู่ทางซ้ายก่อนถึงสะพาน

ข้าม คลองจรเข้สามพันประมาณ 1 กิโลเมตร
สภาพทั่วไปของแหลง่ ปัจจบุ ันพ้นื ที่แหล่งเป็นไรอ่ ้อย
หลักฐานทางโบราณคดีท่ีส้าคญั
พ้ืนท่ีถูกปรับเป็นพ้ืนที่ปลูกไร่อ้อย ตามรายงานการสํารวจของกรมศิลปากร พบโบราณวัตถุ

ได้แก่ ลูกปัดแก้วสี ลูกปัดดินเผา รวมถึงภาชนะมีสัน ซึ่งเป็นรูปแบบภาชนะ
ที่นิยมมาตั้งแต่สมัยก่อน ประวัติศาสตร์ต่อเนื่องจนถึงสมัยทวารวดี ซึ่งอาจมี
ความสัมพันธ์กับแหล่งโบราณคดีบ้านดอนยายก่อย และบ้านดอนมะเกลือที่อยู่
ใกล้เคียง คือเคยเปน็ ทางผา่ นของชนท่ีมีวัฒนธรรมสมัยทวารวดลี กู ปดั พบทง้ั ท่ี ทํา
จากหินดินเผาและแกว้
หมายเหตุ แหล่งโบราณคดีแห่งนี้ระบุในรายงานการสํารวจแหล่งโบราณคดีโบราณสถานปี
พ.ศ.2534 (กรม ศลิ ปากร, 2534

สภาพปัจจุบันของแหล่งโบราณคดวี งั หญ้าไทร

173

 วัดโพธ์ิทองเจรญิ (บ้านขาม)

ยุคสมัย ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย–อยุธยา

สถานทตี่ ัง หมู่ 2 ตําบลพลับพลาชัย อําเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบรุ ี

ตําแหน่งทตี่ ัง้

รงุ้ 14 องศา 29 ลิปดา 35 ฟลิ ิปดาเหนือ

แวง 99 องศา 55 ลิปดา 13 ฟิลิปดาตะวันออก

พกิ ดั UTM 47 P 0599170 E 1602472 N

เส้นทางเข้าสู่แหล่ง

จากเมืองอทู่ องใช้เสน้ ทางหลวงหมายเลข 333 มงุ่ หน้าอําเภอด่านช้างประมาณ 15.5 กิโลเมตร

ถึง วัด โพธ์ิทองเจรญิ

สภาพท่ัวไปของแหลง่

วดั โพธท์ิ องเจริญตง้ั อยู่รมิ ถนนทางหลวงหมายเลข 333 บริเวณพืน้ ที่โดยรอบเป็นท่อี ยู่อาศัย และท่ี
ทําการเกษตรวัดโพธิ์ทองเจรญิ หรือวัดบ้านขาม ข้ึนทะเบียนวัดเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ.
2447

หลักฐานทางโบราณคดีที่ส้าคัญ

จากการสัมภาษณ์เจ้าอาวาสพระใบฎีกาสราวุธสหชฺโชพบว่า ทางวัดมีโบราณวัตถุใน
ครอบครองจากชาวบ้านทข่ี ุดพบจากการทําการเกษตรแล้วนํามามอบใหด้ ังน้ี
- ภาชนะดินเผาเนื้อแกร่งลักษณะรูปแบบเป็นไหสหี่ ูเคลือบดํา ประมาณ 3 ส่วน 4
ของภาชนะขึ้น รูปด้วยแป้นหมุน บริเวณปากชํารุด ขนาดความสูงจากก้นถึงปาก
สูง 53 เซนติเมตร ปากกว้าง 17 เซนติเมตร เส้นรอบวงประมาณ 1.34
เซนติเมตร
-จารึกหินทรายอักษรปัลลวะมีอักษร 4 แถวฝั่งซ้ายชํารุด ขนาดยาว 48 เซนติเมตร
กว้าง 27 เซนติเมตร หนา 6.5 เซนติเมตร พื้นทท่ี ี่พบจารกึ อยใู่ นบรเิ วณท่ขี องไร่ตา
ป้อมแดงดีสูงประมาณ 1-2 เมตร มีลักษณะเป็นเนินหลายเนิน พบเมื่อประมาณ
30 กว่าปที ผี่ า่ นมา ยายน้อยมอบใหว้ ัดเม่อื ปพี .ศ. 2546
- พระพุทธรูปหินทราย (โกลน) ศิลปะทวารวดี สูง 3.3 เซนติเมตร กว้าง 13 เซนติเมตร
- พระพุทธรูปศิลาแลง (โกลน) ปางสมาธิอยู่บนฐานใหม่ จีวรเฉียง สูง 41เซนติเมตร
หน้าตัก กว้าง 23 เซนติเมตร
- พระพุทธรูปศิลาแลง (โกลน) ปางมารวิชัย ขัดสมาธิราบ สูง 35 เซนติเมตร หน้าตัก
กว้าง 24 เซนติเมตร

174
- ใบเสมาสลักรูปพระพทุ ธรูปนาคปรก ปางสมาธิ พบในขณะสร้างโบสถ์องค์ปัจจุบัน
มีลักษณะ ดังน้ี ขนดนาค 2 ช้ันหางนาคเป็นเกลียวนาคมี 7 เศียร เศียรบนชํารุด
บริเวณลําตัวนาคมีขีด ห่มจีวรเฉียง ปลายจีวรจรดพระนาภีขนาดสูง 32
เซนติเมตร หนา 3-4 เซนติเมตร ใบเสมากวา้ ง 22 เซนตเิ มตร ตัวองค์ พระพุทธรูป
สูง 14 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 10 เซนติเมตร

โบสถว์ ดั บา้ นขาม สรา้ ง ณ บรเิ วณท่เี คยเปน็ โบราณสถานมากอ่ น

พระพทุ ธรูปหินทราย และศิลาแลง

พระพทุ ธรปู ทําจากศลิ าแลง และใบเสมาศลิ าแลง

175

พระพทุ ธรูป ที่พบภายในวัดบ้านขาม ไหเนอ้ื แกร่ง สมัยอยธุ ยา และจารกึ ภาษาบาลี อักษรปัลลวะ

พทุ ธศตวรรษที่ 12

178

 บ้านบอ่

ยุคสมยั ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย –ก่อนอยุธยา–อยุธยาตอนต้น
สถานท่ตี ัง้ หมู่ 8 ตําบลบ้านดอนอําเภออู่ทองจังหวัดสุพรรณบรุ ี
ต้าแหน่งท่ตี ัง
รุ้ง 14 องศา 18 ลิปดา 32 ฟลิ ปิ ดาเหนือ
แวง 99 องศา 55 ลปิ ดา 45 ฟิลปิ ดาตะวันออก
พิกดั UTM 47 P 0600222 E 1582099 N
เสน้ ทางเข้าสู่แหล่ง

จากตัวเมืองอู่ทองไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ใช้เส้นทางถนนอู่ทอง – ดอนพุทรา ผ่าน
หมู่บ้านดอนพุทรา, หมู่บ้านหนองชะโด, หมู่บ้านตาลเรียง, หมู่บ้านโพธ์ิล้อม, หมู่บ้านดอกพุทรา,
หมู่บ้านหัวทํานบแล้วจึงเลี้ยวขวาลงมาทางใต้ผ่านวัดยายสว่างอารมณ์ ออกยังถนนทางหลวง3505
เลี้ยวขวาไปตามถนน ประมาณ 3 กิโลเมตรถึงแหล่งโบราณคดีในเขตหมบู่ ้านบ่อ
สภาพทั่วไปของแหล่ง พ้ืนท่ีที่เคยพบโบราณวัตถุปัจจุบันเป็นที่อยอู่ าศัยของชาวบ้าน และ
ร้านค้าชุมชน
หลักฐานทางโบราณคดีท่ีส้าคัญ จากการสัมภาษณ์คุณมาลี หลักเพชร ได้ความว่าพ้ืนที่บริเวณที่พบ
โบราณวัตถุเดิมเป็นพื้นท่ีดอน ขนาดประมาณ 500 เมตร เร่ิมมีการขุดพบโบราณวัตถุประมาณปี
พ.ศ. 2523 หลักฐานทางโบราณคดีท่ี พบในครงั้ นน้ั ได้แก่ โครงกระดูกมนุษย์นอนหงายเหยียดยาว ฝัง
ร่วมกับสิ่งของข้างลําตัวประมาณ 15 โครง ที่เหลือพบในลักษณะกระจัดกระจาย โบราณวัตถุที่พบ
ในครั้งนั้น เช่น ลูกปัดดิน ลูกปัดหิน แวดินเผา ขวานหิน ทองสําริดเป็นลักษณะก้อนกลมๆ เป็นต้น
จ าก ก า รส ําร ว จ บ ริเว ณ พื้น ผิว ดิน พ บ เศ ษ ภ าช น ะ ดิน เผ า แ ล ะ ก ร ะ เบื้อ งมุงห ลัง ค า ป ร ะ เภ ท ต่าง ๆ
กระจายอย่โู ดยรอบพน้ื ท่ีดังน้ี

- ฐานเจดีย์เกา่ ยคุ กอ่ นอยธุ ยา-ตน้ กรงุ ศรอี ยุธยา อายุราว 800-700 ปีมาแล้ว ใกล้กันกับ
บริเวณ ที่ต้งั ของเจดีย์ มรี ายงานการค้นพบ พระพิมพ์รูปพระพุทธรูปทรงเครื่อง ปางมารวิชัย ประทับ
นง่ั อยู่ภายใน ซุ้มเรือนแก้ว ในศิลปะเขมรในประเทศไทย หรือทม่ี ักเรียกกันว่าศิลปะลพบุรี อายุราว
800 ปีมาแลว้

- เศษภาชนะดินเผาประเภทเนอื้ ดินสสี ้มสีแดงสนี วลตกแตง่ ด้วยการรมควันทานํา้ ดนิ ขดู ขดี
ขดั มนั ลายเชือกทาบกดประทับพบเป็นลายดอกไม้

- เศษภาชนะดินเผาประเภทเนื้อแกร่งแบบเคลือบเขียวและแบบเขียนสนี าํ้ เงินใต้เคลือบ
นอกจากนย้ี ังพบชิ้นส่วนกําไลหนิ ชาวบา้ นในบรเิ วณนนั้ ไดน้ ําลูกปัดประเภทต่างๆทเ่ี ก็บไวม้ าให้ถา่ ยรปู
ทั้งเปน็ ลกู ปัดดนิ ลกู ปดั แกว้ ลูกปัดหินอาร์เกตคาร์เนเลียน

179

สภาพทว่ั ไปของแหลง่ โบราณคดบี ้านบอ่

เศษภาชนะดินเผาแบบต่างๆทพี่ บระดับผิวดิน (ยุคก่อนประวัตศาสตร์ – สมยั อยุธยา)

โบราณวัตถุประเภทตา่ งๆ
ฐานเจดีย์สมัยก่อน
อ ยุ ธ ย า -อ ยุ ธ ย า
ต อ น ต้ น อ ายุ รา ว
800-700 ปีมาแลว้

180

พระพิมพ์รูปพระพทุ ธรูปทรงเครอื่ ง
ประทบั น่ัง ปางมารวชิ ยั
ในศิลปะเขมรในประเทศไทย (ลพบุร)ี
อายรุ าว 800ปี มาแลว้
พบในท่งุ นา บรเิ วณใกล้ฐานเจดีย์

สมั ภาษณ์ นางสาวสอางค์ หลักเพชร คนในพน้ื ท่ี

 วัดเขาดีสลัก

ยุคสมัย ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย – อยุธยา
สถานท่ตี ัง ตําแหน่งที่ตั้ง
รุ้ง 14 องศา 28ลิปดา 6 ฟิลิปดาเหนือ
แวง 99 องศา 51 ลิปดา 36 ฟลิ ปิ ดาตะวันออก
พิกดั UTM 47 P 0592691 E 1599709 N
เส้นทางเข้าสู่แหล่ง ว่ิงตามทางหลวงหมายเลข 333 (อู่ทอง–ด่านช้าง) จากอู่ทอง ประมาณ 4

กโิ ลเมตร จะเห็นทางเข้าวัดเขาดีสลักอยู่ทางด้านซ้าย
สภาพท่ัวไปของแหลง่ เป็นวัดทยี่ ังใช้งานอยใู่ นปัจจุบัน
หลักฐานทางโบราณคดีที่ส้าคัญ
รอยพระพุทธบาท ลักษณะการวางลายมงคลบนรอยพระพุทธบาทท่ีวัดเขาดีสลักแตกต่างไปจาก

รอยพระพุทธบาทท่ัวไปคือลายมงคลทั้งหมดสลักอยู่ภายในรูปวงกลมในขณะทร่ี อยพระ
พุทธบาททั่วไปนน้ั จะอยู่ภายในกรอบ รูปสี่เหลี่ยมโดยลายมงคลที่รอยพระพุทธบาทวัดเขา

181

ดีสลักจะจัดเรียงกันเป็นแถวตามแนวนอนแถวละ 8 วง มีจํานวนทั้งสิ้น 108 วง สําหรับ
การกําหนดอายุรอยพระพุทธบาทนั้นไดม้ ีนักวิชาการศึกษากันอย่างมากมายเช่นหม่อมเจ้า
สุภัทรดิศ ดิศกุล ไม่น่าจะอยู่ในสมัยทวารวดีแต่น่าจะเป็นสมัยอยุธยาและมยุรีวีระ
ประเสริฐให้ความเห็นว่า น่าจะอยู่หลังพุทธศตวรรษที่ 19 เพราะลวดลายและคติปะปน
กันหมดแล้วรวมทั้ง พิริยะ ไกรฤกษ์ ได้การ กําหนดอายุของรอยพระพุทธบาทรอยน้ไี วว้ ่า
หากพิจารณาจากระบบในการจัดวางลายมงคลแล้วปรากฏ ว่าเป็นที่นิยมในสมัยอยุธยา
ตอนปลายแล้วเช่นรอยพระพุทธบาทบนแผ่นพระบฏท่ีพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ส่งไปถวาย
พระเจ้ากรุงลังกาเม่ือปลายพุทธศตวรรษท่ี 23 ประกอบกับความคล้ายคลึงกันของรูป
ครุฑบน รอยพระพุทธบาทที่วัดเขาดีสลักกับรอยพระพุทธบาทบนแผ่นพระบฏของ
พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่มีลกั ษณะใกล้เคียงกันมาก
สนั ติ เล็กสุขมุ ให้ความเห็นว่ารอยพระพุทธบาทอันน้ีคงไม่ได้ใหม่ไปถึงสมัยอยุธยาตอนต้นน่าจะมี อายุ
อยู่ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 17– 19 ถึงแม้จะพบลวดลายเก่าแต่ลวดลายเหล่านี้ก็เป็น
ลักษณะแบบ ท้องถิ่นแล้ว
สําหรับความเห็นของนักวิชาการบางท่านเช่น มนัส โอภากุล กล่าวไว้ใน “ศิลปะบนฝ่าพระพุทธบาท
วัดเขาดีสลัก”วารสารเมืองโบราณปีที่ 23 ฉบับท่ี 4 ตุลาคม– ธันวาคม พ.ศ.2540 และ
ศรีศักร วัล ลิโภดม กล่าวไว้ใน“พระพุทธบาทใหม่ท่ีสุพรรณ”วารสารเมืองโบราณปีที่17
ฉบับท่ี 3 กรกฎาคม–กันยายนพ.ศ.2534 ท่ีกําหนดอายุของรอยพระพุทธบาทไว้ว่าอยู่
ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 16– 19 เนื่องจากลักษณะของลายท่ีปรากฏบนข้อน้ิวพระบาทมี
ความคล้ายคลึงกับลายท่ีนํามาประดับภาชนะในสมัยทวารวดีแต่จากการศึกษาพบว่าเป็น
เพียงลายเลียนแบบและลักษณะบางประการก็เป็นแบบท้องถ่ินแล้ว ดังน้ันรอยพระพุทธ
บาทท่ีวัดเขาดีสลักจึงน่าจะกําหนดอายุอยู่ในสมัยอยุธยาตอนปลายอยู่ในช่วง ราวปลาย
พุทธศตวรรษท่ี 22 – ปลายพุทธศตวรรษท่ี 23
เจดีย์ทรงระฆงั (บนยอดเขา)
จากสภาพปัจจุบันสันนิษฐานว่า เป็นเจดีย์ทรงระฆังเน่อื งจากมีลักษณะฐานล่างเป็นฐานบัวคว่ําบัว
หงายในผังสี่เหลี่ยมรองรับฐานบัวคว่ําบัวหงายในผังกลมจากลักษณะของชุดฐานเช่นนี้
ปรากฏมาแล้วใน เจดีย์ทรงระฆังที่วัดวรเชษฐาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีอายุอยู่
ในสมัยอยุธยาตอนกลาง ดังน้นั เจดีย์ องค์นี้ถัดขึ้นไปจากชุดฐานท่ีเห็นในปัจจุบันก็น่าจะ
เป็นฐานมาลัยเถาบัวปากระฆังรองรับองค์ระฆังบัลลังก์ และส่วนยอดอย่างไรก็ตามเจดีย์
องคน์ ส้ี ร้างครอบทับบนฐานหินต้ัง (megalith) เดิม ซึง่ เป็นส่ิงปลูกสร้าง ในยุคเหล็ก อายุ
ราว 2,000 ปีมาแลว้

182

วดั เขาดสี ลัก
วัดเขาตสี ลัก อ่ทู อง

รอยพระพทุ ธบาทบนเขาดีสลกั

183

 บ้านโคกยายเกตุ

ยุคสมัย ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย - อยุธยา
สถานท่ีตัง หมู่ 7 ตําบลเจดีย์ อําเภออูท่ อง จังหวัดสุพรรณบุรี
ต้าแหน่งท่ตี งั เนินโบราณสถานภายในวัดโคกยายเกตุ

รงุ้ 14 องศา 22 ลปิ ดา 37 ฟิลปิ ดาเหนือ
แวง 99 องศา 58ลิปดา 00 ฟิลิปดาตะวันออก
พกิ ดั UTM 47 P 0604235 E 1589626 N ดอนตาโต๊ะ
รงุ้ 14 องศา 22 ลปิ ดา 34 ฟิลปิ ดาเหนือ แวง 99 องศา 57ลิปดา 58ฟิลิปดาตะวันออก
เสน้ ทางเข้าสู่แหลง่
จากตัวเมืองอู่ทองใช้ทางหลวงหมายเลข 321 (มาลัยแมน)มุ่งหน้าไปยังดอนเจดีย์ประมาณ 6.6
กิโลเมตร จะถึงแยกทางเข้าวัดโคกยายเกตุ ว่ิงเข้าไปประมาณ 2.8 กิโลเมตร ถึงวัดโคก
ยายเกตุ
แหล่งโบราณคดตี ังอยู่บริเวณอุโบสถ
สภาพทั่วไปของแหล่ง บริเวณท่ีต้ังของแหล่งโบราณคดีท่ีบ้านโคกยายเกตุอยู่ภายในพ้ืนที่ของ วัด
โคกยายเกตุ สภาพของ เนินโบราณสถานที่พบเหลือเพียงเศษอิฐอยู่บริเวณเนินท่ีสร้าง
โบสถ์ และบรเิ วณดอนตาโต๊ะอยูห่ ลงั โบสถ์ ปัจจุบันเป็นพ้นื ปูนซีเมนต์
หลักฐานทางโบราณคดีทส่ี ้าคญั
จากการสํารวจและสัมภาษณ์ผู้ใหญ่สายธาร รอดหงส์ทอง ได้ความว่า หลัง วัดโคก
ยายเกตุที่เรียกว่า ดอนตาโต๊ะ พบลูกปัดจํานวนมาก นอกจากนี้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เจ้าอาวาส
พระอธิการบุญชู เขมังกะโร พบว่า วัดนต้ี งั้ เมื่อปี พ.ศ. 2440 บริเวณลานปูนใกล้กับดอนตาโต๊ะเป็น
รางน้ําเก่าไปถึงอู่ทอง และพ้ืนที่ท่ีตั้งโบสถ์ในปัจจุบันเดิมมีเจดีย์ 2 องค์ ตรงกลางเป็นวิหารร้ือไป
ก่อนช่วงสงครามเวียดนาม ประมาณ 10 ปี และพื้นท่ีนี้พบพระพุทธรูปหินทรายเฉพาะลําตัว 3 องค์
ดังนี้
- พระพุทธรูปหินทรายสีขาวขนาดกลางลําตัว-ฐานสูง 76 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 72
เซนติเมตร
- พระพุทธรูปหินทรายขนาดเล็กลําตวั -ฐานสูง 48 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 53 เซนติเมตร
- พระพุทธรูปหินทรายสีแดงลําตัว-ฐานสูง 80 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 110 เซนติเมตร
นอกจากนี้ภายในวัดยังพบโบราณวัตถุอื่นๆ เชน่ หม้อลูกปัดก่อนที่จะมีการถมที่

184
เนนิ โบราณสถาน ทป่ี จั จุบนั มีการสร้างอุโบสถหลังใหมบ่ นตําแหน่งเดิม สามารถเหน็ เศษอิฐอยรู่ อบเนนิ

พระพทุ ธรปู หนิ ทรายสมัยอยุธยาที่บริเวณ สภาพท่ัวไปของบริเวณดอนตาโต๊ะ
เนินโบราณสถาน

185

ภาคผนวก

186

ภาคผนวก ก

บทความทางวชิ าการ

187

บทความวชิ าการ

การศึกษาวิเคราะหเ์ มืองอู่ทองในฐานะประวัตศิ าสตร์ในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา
An Analytical Study of U-THONG City as a History of Buddhist Propagation

บทคัดยอ่

การวิจัยครง้ั นี้เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน มวี ัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประวตั ิศาสตร์การ
เข้ามาของพระพุทธศาสนาในเมืองอู่ทอง 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาสู่
เมืองอู่ทอง 3) เพ่ือศึกษาร่องรอยทางพระพุทธศาสนาในสมัยทวารวดี(อู่ทอง)จากหลักฐานทาง
ศิลปกรรม

ผลจากการศึกษาพบว่า พระพุทธศาสนาได้แพร่กระจายเขาสูดินแดนทวารวดี (อู่ทอง)
ตามเอกสารปัจจุบันเช่ือได้วา เขามาต้ังแตพุทธศตวรรษที่ 3 แตตามหลักฐานโบราณคดี ท้ัง
ประติมากรรม สถาปตยกรรมและจารึกพบวา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเขามาประมาณพุทธ
ศตวรรษท่ี 8-10 ทั้งทางบกและทางทะเลน้ัน พระพุทธศาสนาเม่อื เขามาแลวไดหยัง่ รากลึกลง ในจิตใจ
ของประชาชนทีน่ ับถืออยางมั่นคง กอใหเกดิ การสรางสรรคศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณีพิธกี รรมอันดี
งาม ที่ใช้อยูในปัจจุบัน ตรงบริเวณเมืองโบราณอู่ทอง ซึ่งรุ่งเรืองมากอยู่ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-
16 มเี อกลักษณ์ด้านศิลปะเป็นของตนเองในชือ่ “ศิลปะทวารวดี” มีศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาอยู่
ในบรเิ วณลุ่มแมน่ ้าํ เจ้าพระยา แมน่ ํ้าท่าจนี แม่นํ้าแมก่ ลอง

อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่แพร่หลายไปสู่เมืองอู่ทองและอ่ืนๆนั้น ได้ทิ้งร่องรอยไว้ท้ัง
ด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม เช่น ซากสถูป ธรรมจักรศิลา พระเจดีย์ พระพิมพ์ พระพุทธรูป
ตลอดจนหลักฐานจารึกเกี่ยวกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ที่สําคัญและเป็นท่ีแพร่หลายในสมัยอู่
ทอง จารึกคาถา เย ธมฺมา หัวใจพระพุทธศาสนา อริยสัจ 4 ปฏิจจสมุปบาท เป็นอาทิ ล้วนแต่เป็น
เคร่ืองยืนยันร่องรอยต่าง ๆ ช้ีให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา ศรัทธา ปัญญา
ตลอดจนความเข้าใจในพระพทุ ธศาสนาของชาวพทุ ธได้เปน็ อย่างดี

ค้าสา้ คญั “การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์” “เมืองอู่ทอง” “เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา”

ABSTRACT

According to this research is an integrated and provided the objectives as
following as; 1) To be purposed of the studying of the Buddhist as U-Tlong ancient
town 2) To be purposed of the influence of Buddhism for U-Tlong ancient town 3)
To be purposed of the studying of the Artistic evidence of Buddhism in U-Tlong
ancient town.

The results of the studying has showed up for the Buddhism was spread
over all around to the Theravada’s Ancient town (U-Tlong) as mentioned to the


Click to View FlipBook Version