The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาวิเคราะห์เมืองอู่ทองประวัติศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-13 08:13:56

การศึกษาวิเคราะห์เมืองอู่ทองประวัติศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

การศึกษาวิเคราะห์เมืองอู่ทองประวัติศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

โครงร่างวิทยานิพนธ์

เรอ่ื ง

การศกึ ษาวิเคราะห์เมอื งอู่ทองประวตั ศิ าสตร์ในการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา
An Analytical Study of U-THONG City as a History of Buddhist

Propagation

โดย

พระครโู สภณวรี านุวัตร, ดร.
พระครูวิบลู เจตยิ านุรักษ์, ดร.
พระมหานพรักษ์ ขนตฺ โิ สภโณ, ดร.

พระครูใบฎีกาศักดิ์ดนัย
นายเอกมงคล เพ็ชรวงษ์
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
วทิ ยาลยั สงฆ์สพุ รรณบรุ ศี รีสุวรรณภมู ิ

พ.ศ. 2561

ได้รบั ทุนอุดหนุนการวจิ ัยจาก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
MCU RS 610761306

ชือ่ รายงานการวิจัย: การศึกษาวเิ คราะห์เมอื งอู่ทองในฐานะประวตั ิศาสตร์ในการเผยแผ่

พระพุทธศาสนา

ผ้วู จิ ัย: พระครสู ริ พิ ทุ ธศิ าสตร์, ดร., พระครูโสภณวีรานวุ ตั ร, ดร.,

พระครวู บิ ลู เจตยิ านุรักษ์, ดร., พระครูใบฎกี าศักด์ดิ นยั และ

นายเอกมงคล เพ็ชรวงษ์

ส่วนงาน: มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาลยั สุพรรณบุรีศรีสวุ รรณภมู ิ

ปีงบประมาณ: 2561

ทนุ อุดหนนุ การวจิ ัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย (วช)

บทคดั ย่อ

การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์การ
เขา้ มาของพระพุทธศาสนาในเมืองอ่ทู อง 2) เพือ่ ศกึ ษาอทิ ธพิ ลของการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนามาสู่เมอื ง
อู่ทอง 3) เพ่ือศกึ ษารอ่ งรอยทางพระพทุ ธศาสนาในเมืองอูท่ องจากหลกั ฐานทางศิลปกรรม

ผลจากการศึกษาพบว่า พระพุทธศาสนาได้แพร่กระจายเขาสูดินแดนทวารวดี (อู่ทอง) ตาม
เอกสารปัจจุบันเช่ือได้วา เขามาต้ังแตพุทธศตวรรษท่ี 3 แตตามหลักฐานโบราณคดี ท้ังประติมากรรม
สถาปตยกรรมและจารึกพบวา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเขามาประมาณพุทธศตวรรษที่ 8-10 ทั้งทาง
บกและทางทะเลนั้น พระพุทธศาสนาเม่ือเขามาแลวไดหยั่งรากลึกลง ในจิตใจของประชาชนท่ีนับถืออย
างมั่นคง กอใหเกิดการสรางสรรคศิลปวฒั นธรรมและประเพณีพิธีกรรมอันดีงาม ท่ีใชอ้ ยูในปัจจุบัน ตรง
บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง ซ่ึงรุ่งเรืองมากอยู่ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-16 มีเอกลักษณ์ด้านศิลปะเป็น
ของตนเองในชื่อ “ศิลปะทวารวดี” มศี ูนยก์ ลางทางพระพทุ ธศาสนาอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาแม่
นา้ ทา่ จนี แมน่ ้าแม่กลอง

อทิ ธิพลของพระพุทธศาสนาท่ีแพรห่ ลายไปสู่เมืองอทู่ องและอื่นๆน้ัน ได้ทิ้งร่องรอยไว้ทง้ั ด้าน
สถาปัตยกรรม ประติมากรรม เช่น ซากสถูป ธรรมจักรศิลา พระเจดยี ์ พระพมิ พ์ พระพุทธรูป ตลอดจน
หลักฐานจารึกเกี่ยวกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ที่ส้าคัญและเป็นท่ีแพร่หลายในสมัยอู่ทอง จารึก
คาถา เย ธมฺมา หัวใจพระพุทธศาสนา อริยสัจ 4 ปฏิจจสมุปบาทเป็นอาทิ ล้วนแต่เป็นเครื่องยืนยัน
ร่องรอยต่าง ๆ ชี้ให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา ศรัทธา ปัญญา ตลอดจนความเข้าใจ
ในพระพุทธศาสนาของชาวพทุ ธได้เป็นอยา่ งดี

คาสาคญั การศกึ ษาวเิ คราะห์ประวัติศาสตร์” “เมืองอทู่ อง” “เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา”



Research Title: An Analytical Study of U-THONG City as a History of

Buddhist Propagation

Researchers: Phrakhru Siriphutthisat, Dr.
Phrakhru wiboonjetiyanurak,Dr.,
Phrakrusoponweeranuwat, Dr.

Department: Phrakhubaidika Sakdanai and
Aekmongkol Phetchawong
Mahachulalongkornrajavidyalaya University

Suphanburi Srisuwannaphumi Buddhist College

Fiscal Year: 2561/2018

Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University

ABSTRACT

According to this research is an integrated and provided the objectives as
following as; 1) To be purposed of the studying of the Buddhist as U-Tlong ancient
town 2) To be purposed of the influence of Buddhism for U-Tlong ancient town 3) To
be purposed of the studying of the Artistic evidence of Buddhism in U-Tlong ancient
town.

The results of the studying has showed up for the Buddhism was spread
over all around to the Theravada’s Ancient town (U-Tlong) as mentioned to the
current document placed. It was entered into this land since the 3rd of the BC
century, however, an archeological evidence were involved to the both of Architecture
and Inscriptions sculptures. The propagation of Buddhism was entered into the
Centuries between 8-10 as both impact to the Land and Sea. Please let me explain to
you as well as we have well known about the Buddhism. It was entered between the
inner of their heart and went into their minds of the people, it was so beautiful and
wonderful respect such as arts, culture and traditions. It has been started from the
past till the present at U-Tlong ancient town. Over that time, it was so wealthy and
prosperous during the 11th-16th century. It was own an artistic underneath of the
"Theravada’s Art", it has been of the heart of Theravada Buddhism presented at so
many places as following as the Chao-Praya river, Taa-Chean river and Mae-Klong river.



From now on, the guiding principles at the heart of Buddhism are influence
to U-Tlong and the others town. They had left over as an architecture and sculpture,
for example of the Dharma Church, the Pagodas, the Buddha images, as well as
inscriptions on the principles of Buddhism. As we had discussed previously of the
Buddhism, it had gone through the U-Tlong ancient town period, the highest level of
Buddhist Dhamma and Ariya-Sat 4. As a testimony to the various signs were indicated
of the prosperity, wealthy and wisdom of the principles at the heart of Buddhism, they
are understanding of the heart Theravada Buddhism very well.

Keywords: “Analytical Study history” “U-THONG City” “ Buddhism propagation”



กิตตกิ รรมประกาศ

งานวิจัยฉบับนี้ ส้าเร็จได้ด้วยดีเพราะได้รับความเมตตาอนุเคราะห์ช่วยเหลือเป็นอย่างดีย่ิง
จากคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้มีพระคุณทั้งหลาย ผู้วิจัยขอจารึกนามให้ปรากฏเพื่อเป็นเกียรติ บาง
ท่านดงั ต่อไปนี้

ขอกราบ ขอบพระคุณพระเดชพระคุณพระธรรมพุทธิมงคล สิรินันโท มีนามเดิมว่า สอิ้ง
อาจสน์สถิตย์ เป็นผู้ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรีและวิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ
จังหวัดสุพรรณบุรี และพระครูวิบูลเจติยานุรักษ์,ดร. (เป็นผู้อ้านวยการวิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรี
สุวรรณภูมิ/ต้าแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี) ซึ่งแต่ละท่านเป็นกรรมการที่ปรึกษางานวจิ ัย เป็น
ผู้ให้ก้าลังใจสนับสนุนช่วยเหลือด้านแนวคิด ความคิดเห็น ด้านวิชาการ และข้อมูลอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ
ประวัติศาสตร์ สถานท่ี ศิลาจารึกที่เก่ียวข้อง และที่กลาวถึงการเขามาของพระพุทธศาสนาในแผนดิน
ไทยในสมัยทวารววด(ี อู่ทอง) จากเอกสารตาง ๆ เชน คัมภรี พระไตรปฎก อรรถกถา วรรณกรรม

ขอกราบขอบคุณ ท่านผู้อ้านวยการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ พระเดชพระคุณ
พระสุธีรัตนบัณฑิต (สุทิตย์ อาภากโร/อบอุ่น เจ้าอาวาสวัดสุทธิวราราม รวมท้ังคณาจารย์ใน
สถาบนั วิจัยทุกรูป/คน ได้กรุณาเป็นอาจารยท์ ่ีปรึกษาให้ค้าแนะน้าชแ้ี นะตรวจแก้ไขตามระเบียบวิธีวิจัย
จนทา้ ให้งานวจิ ยั ฉบบั นี้ ด้าเนนิ ไปไดโ้ ดยสมบูรณ์

ขอขอบคุณผู้บริหารและคณาจารยป์ ระจ้าหลักสูตรและคณาจารย์ทุกท่าน ของวทิ ยาลัยสงฆ์
สพุ รรณบุรศี รีสุวรรณภูมจิ ังหวดั สพุ รรณบรุ ี ทีใ่ หค้ วามช่วยเหลือในดา้ นวิชาการ แนวคิด ทเี่ ป็นประโยชน์
ต่อการท้าวิจัย โดยเฉพาะคณะท้างานท้ังหมดท่ีให้ความร่วมมือสนับสนุนในการจัดท้างานวิจัยครั้งน้ี ทุก
อยา่ งทุกประการเปน็ อย่างดีเยยี่ ม

ขอขอบคุณ ท่านผู้ทรงคุณ ผู้ช้านาญการ นักประวัติศาสตร์ โบราณคดี ต่างๆอาทิท่าน
ผู้อ้านวยการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อ้าเภออู่ทอง สุพรรณบุรี และผู้บริหารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
สุพรรณบุรี ส้านักงาน อพท. ร่วมทั้งผู้ร่วมโครงการท้ังหมด ทุกๆท่าน อานิสงส์ คุณูปการท่ีเกิดจากการ
ท้างานวิจัยน้ี ผ้วู ิจัย ขอน้อมถวายเป็นสกั การบูชาแด่คณุ พระศรรี ตั นตรยั ผู้ใหข้ ้อมูลทุกท่าน ท่านเจ้าของ
ตา้ รา ข้อมูลจากทุกสว่ นงาน ผ้วู ิจัยนา้ มาใช้เพ่ือการศกึ ษาคน้ ควา้ ตลอดถึงผู้มีอปุ การคุณทกุ ท่านและขอ
อุทิศกุศลผลบุญท่ี เกิดจากการวิจัยนี้แก่บุพการีชนผู้ล่วงลับแต่ หากว่ามีข้อบกพร่องใดๆ ที่เกิดจากการ
วจิ ัยนี้ ผ้วู จิ ยั ขอรบั ไว้แตเ่ พยี งผูเ้ ดียว

พระครูสริ พิ ทุ ธศิ าสตร์
24 กนั ยายน 2562



สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย........................................................................................................................ก
บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ .................................................................................................................ค
กิตติกรรมประกาศ .......................................................................................................................ฉ
สารบญั ........................................................................................................................................ช
สารบญั แผนภูมิ ............................................................................................................................ฌ
สารบัญตาราง ..............................................................................................................................ญ
ค้าอธบิ ายสญั ลกั ษณ์และคา้ ย่อ ......................................................................................................ฐ

บทที่ 1 บทนา ............................................................................................................................1
1.1 ความเปน็ มาและความส้าคญั ของปญั หา ....................................................................1
1.2 วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั ..........................................................................................6
1.3 ค้าจา้ กดั ความท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ...................................................................................6
1.4 วรรณกรรมที่เกย่ี วข้อง .............................................................................................7
1.5 ขอบเขตของการศกึ ษา .............................................................................................13
1.6 วิธีดา้ เนนิ การวิจัย ......................................................................................................14
1.7 แหลง่ ข้อมลู ..............................................................................................................14
1.8 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ ........................................................................................15

บทที่ 2 การศึกษาวเิ คราะห์ประวตั ิศาสตร์การเขา้ มาของพระพุทธศาสนาใน
สมัยทวารวดี(อทู่ อง) .....................................................................................................16
2.1 ความเปน็ มาของเมืองอู่ทอง .....................................................................................16
2.2 ประวัตศิ าสตรเ์ มืองอู่ทอง .........................................................................................17
2.3 แนวคิดนักวิชาการ นกั โบราณคดีทเี่ กย่ี วกบั อู่ทอง.....................................................23
2.4 ลา้ ดบั พัฒนาการวฒั นธรรมเมือง “อ่ทู อง” และปรมิ ณฑลโดยรอบ ...........................34
2.5 กา้ เนดิ และการเขามาของพระพุทธศาสนาในสมยั ทวารวดี(อูท่ อง) ............................43
2.6 การพฒั นาการศึกษาโบราณคดีเมืองอทู่ อง ...............................................................55
2.7 หลักธรรมพทุ ธศาสนาสมยั แรกเริ่มท่เี มืองอูท่ องและปรมิ ณฑล .................................75

บทท่ี 3 อทิ ธิพลและการเผยแผ่ของพระพุทธศาสนาในสมัยทวารวด(ี อ่ทู อง).................................84
3.1 หลักฐานดานสถาปตยกรรม .................................................................................. ..84
3.2 หลกั ฐานดานประติมากรรม......................................................................................96
3.3 หลักฐานโบราณคดีดานจารึก ...................................................................................115



สารบญั (ตอ่ )

บทที่ 4 รองรอยของพระพทุ ธศาสนาสมัยทวารวดีจากหลักฐานทางศลิ ปกรรม.............................126
4.1 วิเคราะหข์ อ้ มูลเอกสาร.............................................................................................126
4.2 วเิ คราะหจากหลกั ฐานโบราณคดีดานศลิ ปกรรมและจารึก........................................130
4.3 ผลทไี่ ดจากการวเิ คราะห ..........................................................................................135
4.4 องคค์ วามรู้ที่ได้จากการวิจยั .....................................................................................137

บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ......................................................................141
5.1 สรปุ ผลการวิจยั ........................................................................................................141
5.2 อภิปรายผล ...............................................................................................................145
5.3 ขอ้ เสนอแนะ…………………………………………………………………………………………........ ..146

บรรณานกุ รม ........................................................................................................................ 147

ภาคผนวก.....................................................................................................................................185

ภาคผนวก ก บทความวิชาการ.........................................................................................186

ภาคผนวก ข กิจกรรมทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การน้าผลจากโครงการวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์…….. .......203

ภาคผนวก ค ตารางเปรียบเทยี บกิจกรรมท่ีได้ดา้ เนนิ การและผลที่ได้จากการวิจัย… ..206

ภาคผนวก ง เครอื่ งมือเพือ่ การวจิ ยั ………………………………………………………… ..208

ภาคผนวก จ ภาพประกอบในการวจิ ัย ……………………………………………………………… ..213

ภาคผนวก ฉ แบบสรปุ โครงการวิจัย……….......................................................................216

ประวัตผิ ู้วิจัย ……………………………………………………………………………………………………………… .....221



สารบญั ภาพ

ภาพ หน้า
2.1 แผนทแี่ สดงแนวชายฝง่ั ทะเลของอ่าวไทยสมยั โบราณ ............................................................36
2.2 เศียรยักษเ์ ศยี รเทวดา ก้าหนดอายรุ ะหว่างพ.ศ. 1600-1700 .................................................42
2.3 การแพร่กระจายของศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท ในเอเชียะวนั ออกเฉยี งใต้.............................45
รายงานผลส้ารวจแหลง่ โบราณคดที วารวด(ี อทู่ อง) .........................................................................154
ลักษณะเกี่ยวกบั โบราณสถานท่ีเมืองอทู่ อง……………………………………………………………............... ..158
รายงานผลส้ารวจแห่งโบราณคดีในเขตอทู่ อง………………………………………………………………........ ..167



สารบญั ตาราง

ตาราง หนา้

แหลง่ ข้อมลู รูปเกี่ยวกบั โบราณสถานที่เมอื งอทู่ อง ..........................................................................155
จารกึ ที่พบหลักฐาน ในบรเิ วณภาคกลาง เขต จังหวัดสพุ รรณบรุ ี…………………………………………… .158

..

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปัญหำ

พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาท่ีสาคัญศาสนาหนึ่งของโลก และเป็นศาสนาประจาชาติไทย
มาเป็นเวลาช้านาน มีอิทธิพลตอ่ โครงสร้างของวัฒนธรรมไทยมากท่ีสุด ในปัจจบุ ันประเทศไทย นับว่า
เป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาในโลก เนื่องจากเป็นท่ีต้ังขององค์กรการพุทธศาสนิกสัมพันธ์
เเห่งโลก มีหลักคาส่ังสอนอันเปรียบเสมอื นห้วงมหานที แห่งสรรพศาสตร์ จึงมใิ ช่ เพยี งแค่เปน็ ปรัชญา
หรือทฤษฎีเทา่ น้นั หากแต่ยังมีเน้อื หาครอบคลมุ ถงึ วิถชี ีวติ ความเปน็ อยู่ ความนึกคดิ แทบทุกด้านและ
ที่สาคัญพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งการกระทา (กรรมวาท และกิริยาวาท) เป็นศาสนาแห่งความ
เพียรพยายาม (วิริยวาท) ไม่ใชศ่ าสนาแหง่ การออ้ นวอนปรารถนา หรือศาสนาแห่งความหว่ งหวังกังวล
การส่ังสอนธรรมของพระพุทธเจ้า ทรงมุ่งผลในทางปฏิบัติ ให้ทุกคนจัดการกับชีวติ ที่เป็นอยู่จริงๆ ใน
โลกน้แี ละเริม่ ตน้ แต่บดั นี้

พระพุทธศาสนาได้สถิตสถาพรเป็นม่ิงขวัญของชาติไทย ตลอดมา ทุกยุคทุกสมัยชนชาติ
ไทยส่วนใหญ่ ประมาณร้อยละ 95 ของประชากรท้ังประเทศ ได้นับถือพระพุทธศาสนา และยกย่อง
เทิดทูลเป็นสรณะแห่งชีวิต สืบทอดต่อเน่ืองกันมาเป็นเวลาช้านาน ขนบธรรมเนียมประเพณี และ
ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ส่วนใหญ่มีพ้ืนฐานมาจากพระพุทธศาสนา กล่าวได้ว่า ชาติไทยได้มีความ
เจริญมั่นคง ดารงเอกราชอธิปไตยสืบทอดต่อกันมา ต้ังแต่โบราณกาล จวบจนกาลปัจจุบัน ก็ด้วยคน
ไทยท้ังชาติยึดมั่นอยู่ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มีความเคารพบูชาพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ
พระธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะ พระพุทธศาสนาจึงมีบทบาทสาคัญยิ่งต่อชีวิตของชาวไทย โดยมี
ส่วนเสริมสร้างอุปนิสัยของคนในชาติ ให้รักความสงบ มีความเสียสละ แกล้วกล้า อาจหาญ รอบรู้
ฐานะ อฐานะ มีความรักและยึดม่ัน อยู่ในสามัคคีธรรม ดังนั้น พระพุทธศาสนาจึงมีอิทธิพลเป็นอัน
มากตอ่ ความเช่ือ และความประพฤติหรอื การดารงชีวิตของคนไทย1

พระพุทธศาสนา ถือได้ว่า เป็นศาสนาประจาชาติ และอยู่เคียงคู่กับชาติไทย มาโดยตลอด
ดังนั้น พระพุทธศาสนาจึงมีความสาคัญต่อสังคมไทย พอสรุปได้ดังน้ี 1) เป็นหลักในการดาเนินชีวิต
ของคนไทย เพราะคนไทยนาหลักธรรมมาประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจาวัน และลักษณะนิสัยของคน
ไทยมีจิตใจท่ีดีงามใน ทุกๆ ด้าน มีความเป็นมิตรกับทุกคน 2) เป็นหลักในการปกครองประเทศ
กษัตริย์ทุกพระองค์ของไทย ได้นาเอาหลักธรรมพระพุทธศาสนา ไปใช้ในการปกครองประเทศ เช่น
ทศพิธราชธรรม ตลอดมา หรือใช้หลัก “ธรรมาธิปไตย” และหลักอปาริหานิยธรรม เป็นหลักในการ
ปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย เป็นต้น 3) เป็นศูนย์รวมจิตใจ เน่ืองจากหลักธรรม ใน
พระพุทธศาสนามุ่งเน้น ให้เกิดความรักความสามัคคีกัน มีความเมตตา กรุณา ต่อกัน เป็นต้น จึงเป็น
ศนู ย์รวมจิตใจของชนชาวไทย ให้มีความเป็นหนึ่งเดยี วกัน 4) เป็นที่มาของวัฒนธรรมไทย วิถีชีวิตของ

1 พทิ ูร มลวิ ลั ย์ และไสว มาลาทอง, ประวัติศำสตรพ์ ระพุทธศำสนำ, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์การ

ศาสนา, 2542), หนา้ 1.

2

คนไทยผูกพัน กับพระพุทธศาสนา จึงเป็นกรอบในการปฏิบัติตน ตามหลักพิธีกรรม ใน
พระพุทธศาสนาตา่ ง ๆ เช่น การบวช การแต่งงาน การทาบุญเน่ืองในพิธีการต่างๆ การปฏิบัติตนตาม
ประเพณี ในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนท่ีก่อให้เกิดวัฒนธรรมไทย จนถึง
ปัจจุบัน 5) ในฐานะเป็นรากฐานของวัฒนธรรม วิถีชีวิตของคนไทยผูกพันอยู่อย่างแนบแน่นกับ
พระพุทธศาสนา ซึมแทรกผสมผสาน อยู่ในแนวความคิด จิตใจ และกิจกรรมแทบทุกก้าวของชีวิตโดย
ตลอดเวลายาวนาน โดยยังคงเน้ือหาสาระเดิมที่บริสุทธิ์ไว้ได้ก็มี ถูกดัดแปลงเสริมแต่งตลอดจนปนเป
กับความเชื่อถือ และข้อปฏิบัติสายอ่ืนหรือผันแปรในด้านเหตุอ่ืนๆ จนผิดเพ้ียนไปจากเดิมก็มาก
6) ในฐานะเป็น มรดกของชาติ หลักฐานทางคัมภีร์และศาสนาวัตถุ ซ่ึงนักประวัติศาสตร์โบราณคดี
เช่ือว่า พระพุทธศาสนาได้เข้ามาเผยแพรใ่ นดนิ แดนสุวรรณภมู ิก่อน พ.ศ. 500 แต่ศรทั ธาความเชื่อของ
ปุถุชน ก็เป็นไปตามยุคสมัย พระพุทธศาสนาจึงรุ่งเรืองและเส่ือมลง ตามกาลสมัยด้วย จนกระท่ังพ่อ
ขุนศรีอินทราทิตย์ ได้สถาปนากรุงสุโขทัยและรับเอาพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ คร้ันราว
พ.ศ. 1836 พ่อขุนรามคาแหงมหาราชได้ อาราธนาพระสงฆ์ลังกาวงศ์จากนครศรีธรรมราชไปกรุง
สุโขทยั และอปุ ถัมภ์พระพุทธศาสนาจนมั่นคงยนื นานมาในปัจจบุ ันนี้เป็นต้น

การศึกษาเร่ืองราวเกี่ยวกบั พระพุทธศาสนา จงึ เปน็ การศกึ ษาเก่ียวกับรากเหง้าของวถิ ีชีวิต
ของชาติไทย การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ จะเป็นช่องทางหน่ึงในการ
ลดทอนการครอบงาของพหุวัฒนธรรม ชว่ ยในการรักษาเอกลกั ษณ์ของชาติ และอัตลักษณ์ของคนไทย
รวมถึงวัฒนธรรมชองชาติอย่างแท้จริง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ วินัย พงศ์ศรีเพียร ได้กล่าวไว้ว่า
“..ความเข้าใจแก่นแท้ของวัฒนธรรม หรือวิถีชีวิตของชาติเป็นสิ่งท่ีได้มาจากการเรียนรู้ทาง
ประวัติศาสตร์เท่านั้น เพราะประวัติศาสตรท์ าให้เราได้รู้ว่า ลักษณะเฉพาะของสังคมของเราได้พัฒนา
บนพื้นฐานของอะไร..”2 ดังน้ัน การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ นอกจากจะเป็นการแสวงหาความหมายท่ี
แฝงอยู่ในเหตุการณข์ องอดีตแล้ว ยงั ได้เรยี นรู้ วิธกี ารบันทกึ ของนกั ประวัตศิ าสตร์ ในแต่ละยุค รูร้ ะบบ
การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการสร้างองค์ความรู้ ทางประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะประวัติการเผยแผ่
พระพุทธศาสนา ที่เข้ามามีอทิ ธิพลต่อวถิ ีชวี ิตของประชาชนสมัยเมืองอู่ทองโบราณชว่ งพุทธศตวรรษท่ี
9 – 15

จากตานานหรือเอกสารทางศาสนา กลาววา ประมาณพุทธศตวรรษที่ 3 พระเจาอโศก
มหาราช ไดทรงสงสมณทูตสายที่ 8 โดยมีพระโสณเถระและพระอุตตรเถระเปนหัวหนามาเผยแผ
พระพุทธศาสนายังดินแดนสุวรรณภูมิ3 ไทยเช่ือวา ไดแกจังหวัดนครปฐม สวนพมาก็เช่ือวาคือ เมือง
สะเทิม4 แลวประดิษฐานพระพุทธศาสนา จนเปนปกแผนแพรหลาย แตความสืบเน่ืองแหง
พระพุทธศาสนาก็ดูเหมือนจะเลือนลางไป สมัยกอนพุทธกาล ชาวอินเดียไดเดินทางมา คาขายกับ

2 วนิ ัย พงศ์ศรเี พยี ร,ดร., “ครกู บั กำรเรียนกำรสอนประวตั ศิ ำสตร์ไทย” คู่มือการจัดกจิ กรรมการเรียน
การสอนประวัติศาสตร์ ,ประวัติศาสตร์ : จะเรียนจะสอนกันอย่างไร,(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมการศาสนา,
2543) หนา้ ,2.

3 วิ.อ. (บาลี) 1/58, มหำวส. (บาล)ี 1/6/82.
4 พระธรรมปฎก, (ป.อ. ปยุตโฺ ต), จำรกิ บญุ - จำรึกธรรม, พิมพครง้ั ท่ี 10, (กรุงเทพฯ:บรษิ ัทพิมพ สวย
จากดั ),หนา 494.

3

สุวรรณภูมิ อยูเสมอและเขามาต้ังถิ่นฐานรกรากและเผยแพรวัฒนธรรม แกชาวพ้ืนเมืองในแถบเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใตมานานแลว และดวยเหตุที่พระพุทธศาสนา ไมมีความรงั เกียจลัทธิอนื่ ใด ท่ีรวมสมัย
ในท่ตี าง ๆ ดังนั้น จงึ มผี ูนบั ถอื พระพุทธศาสนา เดินทางเขาสูดนิ แดนแหลมอนิ โดจนี เปนจานวนมาก 5

จากการศึกษาคนควาสมัยปจจุบันทาใหทราบวา คนสมัยทวารวดีมีการผสมผสานอยู่รวม
กันหลายเผาพันธุ และมีความสัมพันธกันในดานศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนา ในลุมน้าเจา
พระยาและมีการสรางสรรควัฒนธรรมประเพณีรวมกัน โดยมีพระพุทธศาสนาเปนตวั เชื่อมกุญแจท่ีจะ
ไข ไปสูความกระจางแหงประวัติศาสตรในระยะน้ี จากการผสมผสานกันทางวัฒนธรรม จึงเกิด
ลักษณะเฉพาะของศิลปวัฒนธรรมทวารวดี ท่ีเนื่องในพระพุทธศาสนาข้ึน เหตุท่ีพระพุทธศาสนามี
รากฐานมาจากวัฒนธรรมอินเดียไดถูกเลือกรับและปรับเขาเปนแกนหลักของบานเมือง จนกลาย
เปนศูนยกลาง เชอื่ มโยงความหลากหลาย ทางวฒั นธรรม ทางสังคมและคติความเช่อื ตาง ๆ

ประเทศไทยถึงเจริญรุงเรืองมาแลวแตอดีต แตการจัดสมัยทางประวัติศาสตร ก็นับเพียง
สมัยสุโขทัยลงมา จึงทาใหการศึกษาความจริงขาดหาย หากพิจารณาใหดีจะพบวา ถาไมมี อดีตจะมี
ปจจุบันไดอยางไรกัน ศูนยกลางของทวารวดีต้ังอยูท่ีไหน ตามเอกสารที่นักวิชาการไดคนควาเผยแพร
สวนใหญลงความเห็นวา ศูนยกลางทวารวดี นาจะอยู่บริเวณภาคกลางตอนลางของประเทศไทย
เพราะไดพบหลักฐานสาคัญมากกวาแหลงอ่ืน รวมท้ังมีท่ีตั้งอยูในทาเลที่เหมาะสม ตอการรับอารย
ธรรม จากภายนอก หลักฐานทางโบราณคดี ที่ทาใหนักวิชาการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับศูนยกลางของ
ทวารวดีไว 3 แหง คอื เมอื งอทู อง เมอื งนครปฐมและเมอื งลพบุรี6 "

โดยเฉพาะ เมืองอู่ทองจะเห็นได้ว่า อู่ทองเป็นเมืองโบราณ เป็นต้นกาเนิดประวัติศาสตร์
อารยธรรมสุวรรณภูมิ ครอบคลุมพื้นท่ีท้ังตาบลอู่ทอง อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เน้ือท่ี 38.16
ตารางกิโลเมตร มีหลักฐานทางโบราณคดี ที่สันนิษฐานได้ว่า เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักร
ทวาราวดีและเป็นศูนย์กลางของดินแดนสุวรรณภูมิ ซ่ึงเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์
ศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณีของชนชาติพนั ธ์ตุ ่าง ๆ กอ่ นจะหลอมรวมเปน็ ชาติไทยในปจั จุบัน ในพน้ื ที่
ดินแดนสวุ รรณภมู ิ ใหม้ ีความชัดเจนยิง่ ขน้ึ “เมืองอ่ทู องเปน็ เมืองเกำ่ กว่ำทีน่ ครปฐม”7

นักวิชาการส่วนใหญ่ลงความเห็นว่า เมืองหลวงของรัฐทวารวดีน่าจะอยู่ท่ีเมืองอู่ทอง
จัดเป็นเมืองสาคัญอีกเมืองหน่ึงที่นักวิชาการหลายท่านลงความเห็นว่า น่าจะเป็นศูนย์กลางของรัฐ
ทวารวดี เพราะได้พบเหรียญเงินมีจารึกว่า “ลวปุระ” ที่อู่ทอง 8 โดยศึกษาจากสภาพท่ีต้ังทาง

5 เสถยี ร โพธินนั ทะ, ภูมปิ ระวัตพิ ระพทุ ธศำสนำ, (กรุงเทพฯ: สานกั พิมพบรรณาคาร, 2515), หนา2.
6 ศักดิ์ชัย สายสิงห, ผศ.ดร., ศิลปะทวำรวดีวัฒนธรรมพุทธศำสนำยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย,พิมพ
ครั้งท่ี 2,(กรุงเทพฯ: ดานสทุ ธาการพมิ พ, 2547), หนา 61.
7ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลอดีตคณบดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (จาก
หนังสือ โบราณคดีวิทยาเร่ืองเมืองอู่ทอง กรมศิลปากร รวบรวมจัดพิมพ์ เน่ืองในงานเสด็จพระราชดาเนินทรงเปิด
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง สุพรรณบุรี วนั ที่ 13 พฤษภาคม 2509)
8 Boeles, J.J. “A note on the ancient city called Lavapura” Journal of the Siam
Society, Vol. LV, Partl (January 1967)

4

ภูมิศาสตร์ ประกอบกับหลักฐานโบราณวัตถุสถานและหลักฐานเอกสารต่างๆ รวมทั้งจดหมายเหตุ
ของจีนตลอดจนจารกึ ทีพ่ บในบรเิ วณเมืองด้วย

นอกจากจะน่าจะเป็นศูนย์กลางของรัฐทวารวดี มีบทบาทเป็นเมืองท่าสาคัญในสมัยทวาร
วดีอีกด้วย เนื่องจากเป็นเมืองท่ีต้ังอยู่ใกล้ทะเลและมีทางน้าเข้าออกต่อกับฝ่ังทะเลโดยตรงได้ (ดังได้
กล่าวมาแลว้ ) อีกท้ังยังได้พบโบราณวตั ถุประเภทตราประทับดินเผาซึ่งเปน็ ของติดตัวพ่อค้าชาวอินเดีย
ในสมัยหลังคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 12-14) เป็นจานวนมาก และในบริเวณเมืองนครปฐมโบราณและ
ในบริเวณใกล้เคียง ตราประทับท่ีแสดงถึงบทบาทด้านการค้าของเมืองน้ี คือ ตราประทับดินเผารูป
เรือ9 และตราประทับ 2 หน้ารูปคชลักษมี และ เทพกุเวร ซ่ึงจัดเป็นเครื่องรางท่ีพ่อค้าชาวอินเดียใน
สมัยคุปตะและหลังคุปตะนิยมพกติดตัวในการเดินทางไปค้าขายยังต่างแดน ซ่ึงนักวิชาการทาง
โบราณคดีลงความเห็นว่า เป็นศิลปกรรมในวัฒนธรรมทวารวดีทร่ี ับอทิ ธิพลอินเดยี สมัยคปุ ตะและหลัง
คุปตะนอกนั้นยังพบ ศิลำธรรมจักร จานวนมากประมาณ 30 กว่าวง บางวงมี ศิลารูปกวางหมอบ
ประกอบอยู่ และยังไดพ้ บ พระพุทธรปู ตลอดจน พระพิมพจ์ านวนมาก

จากหลักฐานด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ ด้านโบราณคดี (รวมด้านจารึก) อาจนาไปสู่ข้อ
สันนิษฐานทว่ี ่า เมอื งนครปฐมโบราณนา่ จะมบี ทบาทเป็นเมืองหลวง หรือศนู ยก์ ลางของรัฐทวารวดใี น
ยุคหลังราวพุทธศตวรรษที่ 13-16 ในขณะท่ีเมืองอู่ทอง น่าจะมีบทบาทเป็นเมืองหลวงหรือศูนย์กลาง
ของรฐั ทวารวดใี นยคุ แรก รวมพุทธศตวรรษท่ี 9-13 ส่วนเมอื งลพบุรีนนั้ คงจะเป็นเมืองลูกหลวง10

สาหรับเมืองอู่ทองน้ันนักโบราณคดีได้พบหลักฐานการติดต่อค้าขายกับอินเดียต้ังแต่สมัย
ยุคเหล็กตอนปลายของอินเดีย (พุทธศตวรรษที่ 3-5)11 และมีบทบาทเด่นชัดมากในสมัยอินโด-โรมัน
ของอินเดีย (พุทธศตวรรษที่ 6-9)12 และที่เมืองอู่ทองน้ีเองท่ีพ่อค้าชาวพุทธจากลุ่มแม่น้ากฤษณา ได้
เดินทางเข้ามาติดต่อค้าขายและตั้งถ่ินฐานในช่วงสมัยอินโด-โรมัน และได้นาเอาพุทธศาสนาจาก
ศนู ย์กลางพุทธศาสนาในอินเดียใต้ทอ่ี ยู่ใต้การอุปถัมภ์ของกษัตริยร์ าชวงศ์ศาตวาหนะ (พุทธศตวรรษที่
4-8) และสืบต่อด้วยราชวงศ์อิกษวากุ (พุทธศตวรรษที่ 8-10) ซ่ึงมีศูนย์กลางงานศิลปกรรมเนื่องใน
ศาสนาอยู่ท่ีเมืองอมราวดีและเมืองนาคารชุนโกณฑะ เข้ามาเผยแพร่ให้ชุมชนโบราณท่ีเมืองอู่ทองดัง
ได้พบประติมากรรมดินเผารูป พุทธสาวก 3 องค์ถือบาตร ห่มจีวรห่มคลุมตามแบบนิยมของศิลปะ

9 จิรา จงกล พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรมศิลปากรจัดพิมพเ์ นื่องในงานเสดจ็ พระราชดาเนิน
ทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร วันที่ 25 พฤษภาคม 2510 รูปท่ี 15; Indrawooth, Phasook, 1983.
The Excavation at the Ancient Town of Nakhon Pathom, Tambon Phra Praton, Amphoe Muang,
Changwat Nakhon Pathom. (in Thai) Nakhon Pathom : Silpakorn University Press

10.ผาสขุ อินทราวธุ ทวำรวดี : กำรศึกษำเชิงวิเครำะห์จำกหลักฐำนทำงโบรำณคดี (กรุงเทพฯ : โรง
พิมพ์อกั ษรสมัย 2542) หนา้ 101-106 และ หน้า 177-178

11ชิน อยูด่ ี “เรอ่ื งก่อนประวัติศำสตร์ทีเ่ มอื งอูท่ อง” โบราณวทิ ยาเรื่องเมอื งอู่ทอง กรมศิลปากร 2509
หน้า 43-50

12 ผาสุก อินทราวุธ ทวารวดี : กำรศึกษำเชิงวิเครำะห์จำกหลักฐำนทำงโบรำณคดี อ้างแล้วหน้า
104-105 ; Indrawooth Phasook, Dbara vati Dharmacakra (Bangkok : Saksopa Press, 2008)

5

แบบอมราวดี และประติมากรรมปูนป้ันรูปพระพุทธรูปนาคปรก ซึ่งประทับนั่งขัดพระบาทหลวมๆ
ตามแบบศิลปะแบบอมราวดี 13

ดังนั้นเมืองอู่ทองจึงจัดเป็นเมืองท่าโบราณท่ีเจริญรุ่งสืบต่อมาจนกลายเป็นเมืองท่าสาคัญ
ของอาณาจกั รและเปน็ ศูนยก์ ลางพุทธศาสนาที่เก่าแก่ที่สดุ ของรัฐทวารวดี

สวนนักปราชญทางพระพุทธศาสนาไดสันนิษฐานวา เนื่องจากทวารวดีไดรักษาจารีตของ
พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทที่เจริญรุงเรืองมาแตสมัยสุวรรณภูมิ จึงมีความสัมพันธกับชาวพุทธ
อนิ เดยี ในลุมแมน้าคงคามา ฉะน้ันพุทธศลิ ปะของทวารวดีจึงมีการเลยี นแบบราชวงศคปุ ตะและมศี ูนย
กลางสาคัญอยูทจ่ี ังหวัดนครปฐม ตอมาพุทธศตวรรษที่ 12 ทวารวดไี ดแผขยาย อทิ ธิพลไปในทิศตาง ๆ
เหนือขึ้นไปจนถึงลพบุรี จากลพบุรี แผข้ึนไปจนถึงภาคเหนือของประเทศไทยและเปน เหตุให
พระพทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาทจากทวารวดี ไปต้งั ม่ันทางภาคเหนือ14 สบื มาอกี หลายศตวรรษ

มีนักปราชญหลายทาน ไดกลาวถึงความมีอยูของเมืองโบราณตาง ๆ เชน ทักษณิอิน
ทโยธา เสนอวา15 แถบลุมน้าเจาพระยาและดามขวานทองไดเกิดมีชุมชนข้ึนตั้งแตสมัยพุทธกาลหรือ
กอนนั้น เมื่อกวา 2,000 ปมาแลว เชน เมืองนครชัยศรี, เมืองพงตึก, เมืองอูทอง, เมืองคูบัว, เมือง
ศรมี โหสถ, เมอื งไชยา และเมืองดนิ แดง เปนตน

ยังมีปัญหาขอมูลไมลงรอยกันเก่ียวกับเร่ืองชนชาติของชาวทวารวดีอีกจานวนมาก บาง
กลุมสันนิษฐานวา เปนพวกมอญดวยเหตุผล คือ16 (1) มีการพบจารึกภาษามอญที่ลพบุรี จารึกดวย
อักษรที่ เกาประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 จารึกที่เสา 8 เหล่ียม ซ่ึงมีบัวหัวเสาเหมือนที่นครปฐม
(2) พระนางจามเทวี ยายจากลพบุรีไดครองหรภิ ญุ ชัยในพุทธศตวรรษท่ี 13 นน้ั เปนเจาหญิงมอญ และ
(3) ยอรช เซเดส ไดอานจารึกซ่ึงพบท่ีวัดโพธ์ิราง ที่นครปฐม และนาไปเผยแพรที่ปารีส ใน พ.ศ.2495
กส็ นบั สนุนวาทวารวด(ี อทู่ อง) เปนอาณาจกั รมอญ

ปญหาเร่ืองศูนยกลางของอาณาจักรทวารวดี ก็มีความเห็นไปตาง ๆ แตนักวิชาการ สวน
ใหญเห็นวา ศูนยกลางของทวารวดีนี้น่าจะอยูบริเวณภาคกลางตอนลางของประเทศไทย เพราะมี
การคนพบหลกั ฐานสาคญั ๆ มากกวาแหลงอ่ืน ตลอดถงึ มีที่ต้ังอยูในทาเลอนั เหมาะในการทต่ี ิดต่อและ
รบั อารยธรรมจากโลกภายนอกได อย่างไรก็ตามแม้นกั วิชาการสวนใหญจะมีความเห็นดงั กลาว

13 Boisselier, J. “Travaux de la Mission Ar cheologique Francaise en Thailande” อ้างแล้ว
; Murthy, K. K. 1977. Nagarjunakonda, a Xulltural Study, Delhi : oncept Publishing, pp. 1-10.

14 เสถียร โพธินันทะ, ภูมิประวตั ิพระพทุ ธศำสนำ, หนา 6-7.
15 ทักษิณ อินทโยธา, ใครคือเจำถนิ่ ลุมนำเจำพระยำและดำมขวำนทองเม่อื 2,000-3,000 ปกอน,
(กรุงเทพฯ: ดานสทุ ธาการพิมพ, 2534), หนา 14.
16 สิริวัฒน คาวันสา, รศ., ประวัติพระพุทธศำสนำในประเทศไทย, พิมพคร้ังที่ 4, (กรุงเทพฯ:บริษัท
จรัลสนทิ วงศการพมิ พ จากัด, 2 542), หนา 1 8 - 20.

6

แตจากหลักฐานทางโบราณคดีที่มี ทาใหนักวิชาการต้ังขอสมมติฐานเก่ียวกับศูนย์กลาง
ของ อาณาจักรทวารวดไี ว 3 แหงดวยกันคือ เมอื งอูทอง เมอื งนครปฐม(นครชัยศรี) และเมืองลพบรุ ี17

เร่ืองราวความเปนมาเก่ียวกับศูนย์กลางของ อาณาจักรทวารวดีคือเมืองอู่ทอง เปนเรื่อง
ที่นาศกึ ษาอยางยง่ิ สถานการณ พระพทุ ธศาสนาในช่วงแรกเขามาและเผยแผส่ ู่เมืองอู่ทองน้นั มีกาเนิด
อิทธิพล ร่องรอย และพัฒนาการมาอยางไร และสมัยตอมาอีกอยางไรบาง ยังคงเปนเร่ืองทาทายและ
รอการศกึ ษาคน้ ควาเพ่มิ เติมอยูเสมอ

ในสวนของประวัติศาสตรเมืองอู่ทองในการเผยแผ่พระพุทธศาสนานั้น ยังไมมีการศึกษา
วิจัย โดยตรงหรือจะมีก็นอยมาก สวนมากเปนการศึกษาวิจัยเชิงประวัติศาสตรด้านอื่นๆเชน
โบราณคดี และการขุดคนหาหลักฐานเพอ่ื ยนื ยันถึงความมีอยูของกลุมชมุ ชนในอดีตเปนตน เทาน้นั ทา
ใหการศึกษาเรื่องราวของพระพุทธศาสนา ในช่วงดังกลาวขาดตอนไป ปจจุบันไดมีนักประวัติศาสตร
และนักโบราณคดีทาการสารวจ ขุดคน พบขอมูลใหม ๆ จานวนมาก ที่จะทาใหสามารถทราบความเป
นมา และสถานการณของพระพุทธศาสนาในเหตกุ ารณ์ดังกลา่ วไดดีข้ึน เพียงแตเรอ่ื งราวดงั กลาว เป็น
การนาเสนอท่ียังกระจัดกระจายกันอยูไม่ไดกลาวตอเนืองกัน เพราะตางคนตางศึกษาคนควา ทาให
ประวัติศาสตรไ์ ม่ต่อเนือ่ งเทา่ ท่คี วร

งานวิจัยนี้ ผูว้ ิจัยได้ศกึ ษาวเิ คราะหขอมูลเอกสาร ทกี่ ลาวถึงการเขามาของพระพุทธศาสนา
ในแผนดินไทยจากเอกสารตาง ๆ เชน คัมภีรพระไตรปิฎก อรรถกถา วรรณกรรม พระพุทธศาสนาใน
ลังกา พมา ลานนาและลานชาง ตลอดถึงงานคนคว้าของนักประวัติศาสตรและนักโบราณคดี ที่ได
ศึกษาวิเคราะหเก่ียวกับเร่ืองทวารวดี รวมท้ังการวิเคราะหขอมูลทางดานศิลปกรรมวา มีความเกี่ยวข
องกันมากนอยเพียงใด แลวเสนอผลการวิจัยตอไป ซึ่งจะก่อใหเกิดองค ความรูใหมเก่ียวกับกาเนิด
การเข้ามาของพระพุทธศาสนาในการเผยแผ่สู่เมืองอู่ทอง ตลอดถึงรองรอยและอิทธิพลดานตาง ๆ ที่
ไดรับจากพระพุทธศาสนา ที่จะอานวยประโยชนต่อการศึกษาประวัติศาสตร์เมืองอู่ทอง อันได้แก่
พระพุทธศาสนา วัฒนธรรมประเพณีเปนต้นที่ขาดหายไปเพ่ือจะไดเกิดองคความรูใหม ๆ อันจะเป็น
ประโยชนทางการศกึ ษาตอไป

1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องกำรวจิ ยั

1) เพ่ือศึกษาประวัตศิ าสตร์การเข้ามาของพระพทุ ธศาสนาในสมยั ทวารวด(ี อทู่ อง)
2) เพ่อื ศึกษาอิทธพิ ลของการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาสู่เมืองอู่ทอง
3) เพื่อศกึ ษาร่องรอยทางพระพทุ ธศาสนาในเมืองอ่ทู องจากหลักฐานทางศิลปกรรม

1.3 คำจำกดั ควำมทีใ่ ช้ในกำรวจิ ยั

1) การเผยแผ่ หมายถงึ การขยายคาส่ังสอนของพระพทุ ธศาสนาออกไปในทุกดินแดน
2) พระพุทธศาสนา หมายถงึ พระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาท

17 ศักด์ิชัย สายสิงห,ผศ.ดร., ศิลปะทวำรวดีวัฒนธรรมพุทธศำสนำยุคแรกเร่ิมในดินแดนไทย,หนา
61-74.

7

3) เมืองอู่ทอง หมายถึง เมืองโบราณในวัฒนธรรมทวารวดีท่ีรุ่งเรื่องในแถบจังหวัด
สพุ รรณบุรี ราวพุทธศตวรรษท่ี 9 - 15

4) ร่องรอย หมายถึง หลักฐานการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ที่ปรากฏหลักฐานผ่าน
โบราณคดี ศิลปกรรม จิตกรรม ประติมากรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ และเอกสารทาง
ประวตั ศิ าสตร์

5) อิทธิพล หมายถึง ส่งิ ท่ไี ดรบั ผลจากพระพุทธศาสนาทง้ั โดยตรงและโดยออม ซ่ึงอาจยัง
ถอื ปฏบิ ัติสืบทอดมาจนถงปจจบุ นั เชน ดานสถาปตยกรรม ประติมากรรม

6) วัฒนธรรมทวารวดี หมายถึง วัฒนธรรมแบบพทุ ธศาสนาลทั ธเิ ถรวาทเมอื งอู่ทอง

1.4 วรรณกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

จากการสารวจเอกสารงานวิจัย และวรรณกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย เรื่อง
การศึกษาเมืองอู่ทองในฐานะประวัติศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พบว่า มีผลงานท่ีเกี่ยวข้อง
อยู่จานวนมากเพ่ือประโยชน์ในการวิจัยคร้ังนี้ ซึ่งสามารถแบ่งเป็นหลายกลุ่ม คือ กลุ่มท่ี1 เกิดจาก
การศึกษาประวัติศาสตร์โบราณคดี ที่สัมพันธก์ ับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเมืองอู่ทอง กล่มุ ท่ี 2 เป็น
องค์ความร้จู ากการศึกษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุท่ีสัมพันธ์กับการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา
เมืองอู่ทอง กลุ่มที่ 3 เกิดจากบทวิเคราะห์ของนักวิชาการทางประวัติศาสตร์ท่ีสัมพันธ์กับการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาเมืองอู่ทอง :

ซ่ึงมีเอกสารงานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้องจากนกั วชิ าการในขอบเขตดังกลา่ ว ดงั น้ี

ศรีศักร วัลลิโภดม ได้แสดงความคิดในหนังสือเหล็ก “โลหปฏิวัติ” เม่ือ 2,500 ปีมาแล้ว
กล่าวว่า “ อู่ทองเมืองสาคัญยุคสุวรรณภูมิ “บริเวณที่เป็นตาแหน่งสาคัญของสุวรรณภูมิที่พระโสณ
และพระอุตตระมาสอนพุทธศาสนานั้น น่าจะอยู่ในเขตบริเวณลุ่มน้าท่าจีน-แม่กลอง ที่ต่อมามีเมือง
อู่ทองเป็นเมืองท่า จากอู่ทองก็แลเห็นการสืบเนื่องของเมืองสาคัญทางพุทธศาสนา อันได้แก่เมือง
นครปฐมโบราณ หรือเมอื งนครชยั ศรี กบั เมืองคบู วั ในเขตจังหวดั ราชบุรี…”18

ผำสุข อินทรำวุธ ได้กล่าววา่ “อู่ทอง ศูนย์กลางพุทธศาสนาเก่าแก่ท่ีสุด อู่ทองเป็นชุมชน
มาต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ราว 3,000 ปมี าแลว้ มีร่องรอยการติดต่อกับอินเดียมาตั้งแต่ช่วงหลัง
พ.ศ.200-400 ต่อมาอู่ทองกลายเป็นเมืองท่าสาคัญของรัฐทวารวดี และเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาที่
เก่าแก่ท่ีสุดของทวารวดี และมหี ลักฐานว่าอทิ ธพิ ลพุทธศาสนามหายานทมี่ ีศูนยก์ ลางอยู่ในรัฐศรวี ชิ ัยได้
แผเ่ ขา้ มายังเมอื งอู่ทองระหวา่ งหลงั พ.ศ. 1300-1500 ด้วย ”19

สุรพล นำถะพนิ ธุ และศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ กล่าวว่า “หลักฐานเก่าแกท่ ่ีสุดเก่ียวกับ
การท่ีพระองค์ได้ส่งสมณทูตมายังสุวรรณภูมิระบุอยู่ใน มหาวงศ์พงศาวดารลังกา ท่ีมีอายุอ่อนลงมา
กว่าสมัยพระองค์อีกมาก ความเข้าใจเร่ืองดังกล่าวในอษุ าคเนย์ จงึ มีรากฐานท่ีสาคัญมาจากการติดต่อ

18 ศรีศักร วัลลิโภดม, เหล็ก “โลหปฏิวัติ” เม่ือ 2,500 ปีมำแล้ว, (กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์
มตชิ น 2548),.

19 ผาสุข อินทราวุธ,ศ.ดร.ทวารวดี, กำรศึกษำวิเครำะห์จำกหลักฐำนโบรำณคดี (พิมพ์เมื่อ พ.ศ.
2545).

8

สัมพันธ์กับลงั กา ซึ่งหมายถึงท้งั เครือข่ายของพระพุทธศาสนาเถรวาท และการค้าเสียมากกว่า อย่างไร
ก็ดี จากหลักฐานต่างๆ ที่ค้นพบในบริเวณพื้นที่เมืองอู่ทอง และปริมณฑลโดยรอบ ก็ไม่อาจปฏิเสธได้
เลยวา่ เมืองอู่ทองมคี วามเก่ียวเน่อื งกับวัฒนธรรมแบบทวารวดี ที่มีนัยยะเก่ียวขอ้ งกบั พระพุทธศาสนา
เถรวาทอย่างแยกกันไม่ออก โดยหลักฐานทั้งหมดมีความต่อเนื่องมาต้ังแต่สมัยก่อนรับวัฒนธรรม
พระพุทธศาสนาจากชมพูทวีป มาจนถึงสมัยท่ีรับวัฒนธรรมเน่ืองในพุทธศาสนาแล้วกระบวนการ
จาแนกยุคสมัยในอุษาคเนย์ เกี่ยวพันกับการรับวัฒนธรรมศาสนาจากอินเดีย หรือลังกาอย่างแยกกัน
ไม่ขาด เพราะตัวอักษรท้ังหลายท่ีพบอยู่ในอุษาคเนย์ล้วนแต่พัฒนาและคลี่คลายมาจากอักษรปัลลวะ
ของอินเดียใต้ อักษรเหล่าน้ีเข้ามาพร้อมกับวัฒนธรรม และเครือข่ายทางศาสนา ไม่ว่าจะเป็นพุทธ
หรอื พราหมณ์

ขุนวิจิตรมำตรำ ไดเขียนหนังสือเร่ือง "หลักไทย" สรุปความไดวา การท่ีชนชาติไทยได
ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนามาแตคร้ังโบราณดึกดาบรรพ สืบเน่ืองมาจนถึงปจจุบัน เช่ือไดวา
พระพุทธศาสนาเปนเหตุปจจัยใหเกิดความเจริญแกชาติอเนกประการ ทั้งในเรื่องการศึกษาซ่ึงเปนเร่ืองที่
สาคัญของคนในชาติ โดยไดอาศัยวัดและพระสงฆเปนผูประสิทธปิ์ ระสาทวิทยาการ ใหการอปุ สมบทเปนพ
ระในพระพุทธศาสนาท่ีถือกันมาจนเปนประเพณีท่ีดีงาม และสาคัญของคน ในชาติจวบจนทุกวันน้ีถือเป
นการอบรมนิสัยจิตใจ ใหเปนพลเมืองที่ดีของชาติ ซึ่งเปนผลดีในการ อยูรวมกันและอานวยใหการ
ปกครองเปนไปโดยเรียบรอย ไมประทุษรายเบียดเบียนกัน ไมยุยง สงเสริมใหดูหมิ่นเหยียดหยามใคร ๆ
มีแตความสมัครสมานสามัคคปี รองดองกัน เปนตน ฉะนัน้ จงึ นับวา พระพทุ ธศาสนาไดมีอทิ ธิพลในทางเป
นเครื่องพอกพูนความดีงาม และความเจริญรุงเรือง ใหแก คนไทย ชาติไทย มาเปนระยะเวลายาวนาน
ตราบเทาทุกวันนี้

ธิดำ สำระยำ ไดเขียนหนงั สอื เร่ือง "(ศร)ี ทวำรวดีประวตั ิศำสตรยุคตนของสยำมประเทศ"
สรุปความตอนท่ีวา ดวยสังคมสมัยทวารวดีไดวา สังคมสมัยทวารวดีมีความสัมพันธ เกี่ยวของอยูกับ
พระพุทธศาสนา แบงชนช้ันออกเปน 2 ชนชั้น กวาง ๆคือ ชนชั้นปกครองหรือชนชั้นสูงและชนช้ันสามัญ
ชนหรือผูที่ถูกปกครอง ท้ัง 2 ชนชั้น ยังมีการแบงตามหนาท่ีคือกษัตริย เช้ือ พระวงศ ขุนนาง ผูนาชุมชน
พื้นเมือง นักพรต นักบวช พระสงฆ พราหมณ ชาวนาชาวไร นักรบ ขาทาส ชางฝมือ และศิลปนประเภท
ตาง ๆ ซงึ่ ช้ีใหเห็นวา มีบางคนบางกลุมเชนพอคา พระภิกษุ สงฆและชาวเมืองท่ีสามารถปรับตัวใหเขาหา
กันไดอยางดี มีความสัมพันธสนิทสนมกับกลุมผูนา กลายเปนตวั กลางท่สี ื่อสารกัน ระหวางชนช้ันสูงและ
สามัญชน และไดกลาวถึงสถานการณของ พระพุทธศาสนาไวอยางนาสนใจ วาพระพุทธศาสนาในสมัย
ทวารวดี ถือเปนปรากฏการณทาง วัฒนธรรมท่ีวัฒนธรรมจากภายนอกถูกปรับตัวใหมีบทบาทใหม
ตอสังคมทองถิ่น โดยเฉพาะอยางย่ิง กระบวนการรับและปรับรูปแบบพุทธศาสนาที่เกิดขึ้นไปสูการส่ังสม
พุทธศาสนาระดับประชาชนท่วั ไป ตางจากพุทธศาสนาแบบมาตรฐานของชนชนั้ สูงและชนชนั้ ปกครอง ซ่ึง
ปฏิเสธไมไดวาน้ี คอื อิทธิพลของพระพุทธศาสนาท่ีสืบทอดมาจากสมยั สุวรรณภูมินน่ั เอง

ธรรมทำส พำนชิ ไดเขยี นหนังสอื เรอื่ ง"ไทยศรวี ิชยั แพรพทุ ธศาสนา" สรุปความ เร่ืองอทิ ธิพล
ของพระพทุ ธศาสนาไดวา ไทยศรีวชิ ยั นั้นมวี ัฒนธรรมอันยิ่งใหญไมแพวฒั นธรรมของประเทศใด ในประวัติ
ศาสตร เปนวัฒนธรรมที่นาความสมบูรณพูนสุขมาให(ชาว) ดินแดนสุวรรณภูมิและสวุ รรณทวปี อยางสูงสุด
ควรแกความภาคภูมิใจ ไดแกเรื่อง ความเมตตา กรุณา มีใจบญุ เหน็ แกความสุขของเพื่อนมนษุ ย โดยเสมอ

9

กัน เร่ืองการรูประมาณในการแตงกายและการกินอยู ตามหลักสันโดษของพระพุทธศาสนา เรื่องการ
เคารพมารดาบิดา ครูอาจารยอยางเครงครัด จะไปลามาไหว เพื่อความเปนสิริมงคล เรื่องมีนิสัยชอบ
ทาบุญ เกรงกลัวตอบาป ซึ่งเปนผลจากการที่มารดาบิดาปฏิบัติตามคาสอนของพระพุทธศาสนา และ
อบรมส่ังสอนบุตรอยางถูกตองดีงาม เร่ืองการรวมทาบุญตามประเพณี มีประเพณีทาบุญที่บรรพบุรุษ
กาหนดไวอยางเครงครัด พรอมเพรียง เรื่องการหยุดงาน วนั พระแปดค่า ไปวัดฟงธรรมขัดเกลาจิตใจ และ
ถือกันอยางเครงครัด โดยไม่ยกเหตุแหงความเกียจครานมาอาง เร่ืองการถือวาทุกคนเปนพ่ีนองกัน สัตว
และมนุษยเปนเพ่ือนรวมทุกขเกิดแกเจ็บตายดวยกันนิยมใชคาเรียกกันวา พ่ี นา อา ลุง ปา ตา ยาย
วัฒนธรรมอยางน้ี แพรหลายอยูทั่วไป และเร่ืองการใหอภัย อโหสิกรรมใหแกกัน ไมถือผูกโกรธพยาบาท
จองเวร เมื่อมีการทาบุญนิยมกรวดน้าอุทิศสวนกุศลใหมนุษยและสรรพสัตว ตลอดถึงเจากรรมนายเวร
และศัตรคู่อาฆาต แสดงใหเห็นถึงความมีจิตใจสูงเปนผลมาจากการปฏิบัติตามหลักคาสอนใน
พระพทุ ธศาสนานน่ั เอง สุวรรณภมู ทิ ง้ั ส้ินและชใ้ี หเห็นวา ไดรับอิทธพิ ลเหลานีม้ าจากพระพทุ ธศาสนา

น. ณ ปำกนำ ไดเขียนหนังสือเร่ือง"ศิลปะโบรำณในสยำม" สรุปไดวา นับตั้งแตพระพุทธ
ปรินิพพาน ต้ังแตพุทธศตวรรษที่ 1-4 พระพุทธศาสนาไดแตกแยกเปนนิกายตางๆ ท้ังเพื่อรักษาคาสอน
เดิม และเพื่อตอสูกับแนวความคิดของศาสนาพราหมณ ทาให้พระพุทธศาสนานิกายมหาสังฆิกะเจริญ
รงุ เรืองในทางภาคใตของอินเดีย และนิกายสรวาสติวาทิน ท่ีแยกไปจากนิกายเถรวาท ไปเจริญรุงเรืองอยู
ทางตอนเหนือของอินเดีย สวนนกิ ายเถรวาทดงั้ เดิมบริสุทธ์ิก็ไปเจริญรุงเรอื งอยูที่เกาะลงั กา ซ่ึงภายหลังได
กลายเปนศูนยกลางแพรหลายไปสูดนิ แดนสุวรรณภูมิหลายระรอก

พระธรรมปฎก(ป.อ.ปยุตฺโต)ไดสันนิษฐานเรื่องดินแดนซ่ึงเปนเสนทางการติดตอระหวาง
อินเดียกับประเทศไทยสมยั กอนไวในหนังสือเรอ่ื ง " จาริกบุญ-จารกึ ธรรม"

สรุปความไดวา ดินแดนสวนท่ีเปนแหลมของประเทศไทยปจจุบัน นาจะเปนสวนแรกสุดของ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต ท่ีไดรับการติดตออยางสืบเน่ืองกับอินเดีย โดยพวกพอคาฮินดูจากอินเดียใตซึ่ง
เปนดนิ แดนท่พี ระพทุ ธศาสนาเจรญิ แพรหลายและเปนแหลงเผยแพรวัฒนธรรมแหงชมพทู วีป

พระมหำสนิท อนุจำรี (สุมหิรัมย) ไดเสนอวิทยานิพนธเร่ือง"พระพุทธศำสนำกับวรรณคดี
ไทยสมัยสุโขทัย: ศึกษาเฉพาะกรณีศิลาจารึกพอขุนรามคาแหงและสุภาษิตพระรวง" สรุปความไดวา
พระพุทธศาสนาไดเผยแผเขาสูประเทศไทยต้ังแตพุทธศตวรรษท่ี 3 เปนตนมา และไดแพรหลายขยาย
ประดิษฐานมั่นคงและเจริญรุงเรืองสืบมาจนถึงปจจุบัน ดังปรากฏอยูในจารึกโบราณสถานและวรรณคดี
ตาง ๆ ซึ่งเปนเครื่องยนื ยันไดวาพระพุทธศาสนาไดเจรญิ แพรหลายและมีอทิ ธิพลในภมู ิภาคนีม้ าตั้งแตอดีต
กาล

พรอม สุทัศน ณ อยุธยำ ไดเขียนหนังสือเร่ือง" กำรฝงรำกฐำนพระพุทธศำสนำลงท่ีบำน"
คูบัว" อาเภอเมือง จังหวดั ราชบุรี สมยั พระเจาอโศกมหาราชถงึ พระเจากนิษกะ จาก พ.ศ. 273-703" สรุป
ไดวา คณะของพระเถระมาทางเรือจากอินเดียตอนใต แลวมาขึ้นที่เมืองทาตะโกละหรือตะก่ัวปาแลวเดิน
ทางยอนข้นึ มาทางเขาภเู ขาธงไชย ภเู ขาตะนาวศรี ที่กั้นเขตแดนระหวางไทยกบั อินเดีย เพราะเปนเสนทาง
ที่ชาวอนิ เดยี ชาวปา ชาวเขา เคยใชเปนเสนทางเดินมาแลวในสมัยโบราณ เพราะเปนเสนทางที่เขาถึงตอน
ใตของดินแดนสุวรรณภูมิ และตรงกับเสนทางเดินเรือจากอินเดียมาสูสุวรรณภูมิ ทั้งยังมีความสะดวก

10

มากกวาเสนทางอ่ืนดวย อน่ึงการที่คณะของพระโสณเถระไดรับความสะดวก อาจเปนเพราะ
พระพุทธศาสนาไดเขามาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิกอน ท่ีพระเจาอโศกมหาราชจะไดจัดสงสมณทูตไปเผยแผ
พระพทุ ธศาสนายังทวีปตาง ๆ อยางเปนทางการก็ได

สมเด็จพระเจำบรมวงศเธอ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพ ไดนิพนธหนังสือเร่ือง "ตานาน
พระพุทธเจดีย" สรุปความตอนที่วา ดวยพระพุทธศาสนาในประเทศสยามไดวา พระพุทธศาสนาไดเขามา
ประดิษฐานในประเทศไทย ตงั้ แตสมยั ท่ีราชธานนี ครปฐมนนั้ มีโบราณวัตถุบางอยางปรากฏอยูทพ่ี ระปฐม
เจดีย เชน ศิลาทาเปนรูปพระธรรมจักรเหมือนอยางเชน ที่ชาวอินเดียสรางกัน ในสมัยเมื่อกอนมี
พระพุทธรูป และภาษาทีจ่ ารึกพระธรรมเปนภาษามคธ กับ ทั้งยงั มคี ติทถี่ ือกันเมอ่ื กอนมีพระพทุ ธรูป เชน
ทาพระแทนพุทธอาสนและรอยพระพุทธบาทเปนท่ีสักการบูชาปรากฏตอมาอีกหลายอยาง สัญลักษณ
เหลานี้แสดงใหเห็นวา พระพุทธศาสนาท่ีมาประดิษฐานในประเทศสยามน้ีเปนนิกายเถรวาท อยางที่พระ
เจาอโศกมหาราชทรงใหไปประกาศในนานาประเทศ ทาใหสันนิษฐานไดวา พระพุทธศาสนาเขามา
ประดิษฐานในประเทศสยามนาจะกอน พ.ศ.500 และนับถือสืบทอดกันมั่นคงตอมาอีกนาน ทรง
สันนิษฐานเกย่ี วกับการเขามาของ พระพทุ ธศาสนาสูประเทศไทยวา เนอื่ งจากพระพุทธศาสนาเขาประเทศ
ไทยหลายยุคและหลายนิกาย จึงเปนเหตุใหมีโบราณสถานหลายแบบ ซ่ึงเรียกเปนสมัยได 7 สมัย สมัยที่
1 คือสมัยทวาราวดี เปน็ ตน้ โดยกาหนดเอาตั้งแต พ.ศ. 500

จะเห็นไดวา พุทธเจดียสมัยทวารวดีพบท่ีนครปฐมมากกวาแหงอื่นและเปนพุทธเจดียที่เกา
ทสี่ ดุ ในประเทศไทย สนั นิษฐานวา ไดอิทธิพลจากแควนมคธราฐ โดยวตั ถุท่ีสรางเปนพุทธเจดียในสมัยนี้มี
ทัง้ ท่ีเปนธาตุเจดยี บริโภคเจดยี ธรรมเจดียและอุเทสิกะเจดียครบทั้ง 4 อยาง แตถอื เอาการสรางพระธาตุ
เจดียเปนสาคัญกวาอยางอ่ืน อาจเนอื่ งดวยการท่ีพระเจาอโศกมหาราชไดทรงแจกพระบรมสารีริกธาตุ ให
ไปประดิษฐานในประเทศท่ีทรงสงสมณทูตไปประกาศพระพุทธศาสนานน้ั ๆ ดวย

เสถยี ร โพธินันทะ ไดเขียนหนังสอื เร่อื ง"ภูมปิ ระวัติพระพุทธเจำ"สรุปควำมเรื่องกำรเขำมำ
ของพระพุทธศำสนำไดวา พระพุทธศาสนาไดแพรหลายเขาสูประเทศไทยต้ังแตพุทธศตวรรษที่ 3 เปน
ตนมา ในระยะแรกเปนพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ไดเจริญรุงเรือง อยูหลายศตวรรษและแพรหลาย
ครอบคลุมไปทั่วในแถบแหลมอินโดจีน ตอมาพุทธศตวรรษที่ 6 พระพุทธศาสนานกิ ายมหายาน ก็ไดเขาสู
ประเทศไทยสมัยกอนโดยมาทางบกเขามาทางแควนเบงกอล ทางพมาเหนือและทางทะเลซึ่งมาข้ึนท่ีแหลม
มลายู สุมาตราและออมอาว เขามาทาง ประเทศกัมพูชาก็มี เหตุการณตางๆ น้ีอยูในสมัยอาณาจักรฟูนัน
ปรากฏวา ชวงเวลาดังกลาว ชาวฟูนันนับถือพระพุทธศาสนา ท้ังแบบเถรวาทและมหายาน ซึ่งเจริญ
รงุ เรืองอยางมาก จนถงึ กับมีสมณทูตชาวฟูนันเดินทางไปแปลพระคัมภีรถึงประเทศจีน ในพุทธศตวรรษที่
10 คือทานพระสงั ฆปาละและพระมันทรเสน

ศรีศักร วัลลิโภดม ไดเขียนหนังสือเรื่อง"ควำมหมำยพระบรมธำตุในอำรยธรรมสยำม
ประเทศ "สรุปความไดวา อิทธิพลของพระพุทธศาสนาใน เร่ืองความเช่ือเก่ียวกับการ สรางพระบรมธาตุ
เจดยี เพือ่ แสดงออกถงึ ความเคารพ เลอื่ มใสในพระพุทธศาสนาเปนอยางย่ิง

โดยเฉพาะในสมัยทวารวดี พระพุทธศาสนาท่ีราษฎรนับถือกันนั้น มีลักษณะเปนนิกาย
หินยานหรือเถรวาทมากกวาลัทธิอ่ืนแมจะมีการผสมผสานจากมหายานอยูบางก็ตาม เนื่องจากบานเมือง

11

ในดนิ แดนประเทศไทย ชวงสมัยนั้นไดมีการติดตอกับบานเมืองภายนอกมากหลาย ทาใหมีการแพรเขามา
ของศาสนาฮินดูและพระพุทธศาสนานิกายตางๆ ในเวลาไลเลี่ยกัน ประชาชนสมัยน้ัน นาจะเลือกรับเอา
พระพุทธศาสนานิกายหินยาน ดังจะเห็นไดจากพิธีการบูชาพระบรมธาตุและการสรางพระมหาธาตุเจดีย
อันนาจะเปนลักษณะหนึ่ง ที่แสดงใหเห็นถึงการนับถือพระพุทธศาสนาหีนยาน ของทวารวดีและอาจจะ
เรยี กไดวา เปนลกั ษณะทโ่ี ดดเดนเปนพเิ ศษกวาที่เคยมีมาท้งั ในอนิ เดียและศรีลงั กาก็ได

ศำสตรำจำรย หมอมเจำสุภัทรดิศ ดิศกุล ไดกลาวถึง กำรคนพบพระพุทธรูป ในประเทศ
ไทย สรุปความไดวา ประเทศไทยจัดแบง พระพทุ ธรปู รุนเกาทีค่ นพบไว 2 แบบ คอื แบบท1ี่ ไดรบั อิทธิพล
จากศิลปะอินเดียแบบอมราวดีหรือแบบลังการุนตน (พุทธศตวรรษท่ี7-9) ซ่ึงเปนพระพุทธรูปสัมฤทธ์ิ
ขนาดเล็ก ครองจวี รหมเฉยี ง เปดพระอังสาขวา จีวรเปนริ้ว มักแสดงปางประทานอภัย หรือทรงสั่งสอน(วิ
ตรรกะ) แบบที่ 2 คือ แบบท่ีไดรับอิทธิพลจากศิลปะอินเดียแบบคุปตะและหลังคุปตะ ไดแก ศิลปะทวา
ราวดี พระพุทธรูปครองจีวรเรียบ มีทั้งครองจีวรหมคลุมและหมเฉียง แตบัดน้ีไดคนพบ พระพุทธรูป
อีกองคหน่ึง ซ่ึงอยูในระหวาง แบบที่1 และแบบที่ 2 เปนพระพุทธรูปศิลาคร่ึงองค สูง 59.3 เซนติเมตรมี
ขมวดพระเกศาแบบเรียบติดกับพระเศียร พระเกตุมาลา แบนมาก ดานหลังพระเศียร มีประภามณฑล
เปนวงกลม ครองจีวรหมเฉียง แบบศิลปะอมราวดี แตจีวรเรียบ ไมมีร้ิว อายุราวพุทธศตวรรษที่10-11
เกบ็ รักษาไวทีพ่ ิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

ศำสตรำจำรยหมอมเจำสภุ ทั รดศิ ดิศกลุ ไดเขียนบทความเรอ่ื ง ความกาวหนาในการศึกษา
ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยสมัยโบราณ ซ่ึงยนื ยันถึง เร่ืองราวความมีอยูของสุวรรณภูมิ (กอนสมัยทวาร
วดี) สรุปความไดวา การศึกษาประวัติศาสตรศิลปะเอเชียอาคเนย สมัยโบราณ 3 เรื่อง คือ 1) ปญหา
เกี่ยวกับอาณาจักรฟูนัน และอาณาจักรเจนละ โดยทั่วไปประวัติศาสตร์สมัยโบราณในประเทศกัมพูชา
สมัยกอนสรางเมืองพระนคร (pre-Angkorean period) และมีอายุกอน พ.ศ.1355 นั้นนิยมใชช่ือตามท่ี
ปรากฏอยูในจดหมายเหตุจีนคืออาณาจักรฟูนัน และอาณาจักรเจนละซึ่งนักวิชาการหลายทานสนใจ
ศึกษาคนควาเชน ศาสตราจารยโคลด ชาค (Claude Jacques) ศาสตราจารยเปลลิโอต (Paul Pelliot),
ศาสตราจารยยอรช เซเดส ศาสตราจารยดูปองต (P. Dupont) 2) เดิม ศาสตราจารยเซเดส เขียนไวใน
หนังสอื วาพระเจาสุรยิ วรมันที่1 ของขอมทรงเปนเชือ้ ชาติมาลายูและเสด็จขึน้ มาจากเมอื งนครศรีธรรมราช
ตอมาไดเปลี่ยนความเห็นวาพระเจาสุริยวรมันท่ี 1 ทรงเปนเจาชายขอมแตด้ังเดิม 3) หลักฐานทางดาน
โบราณคดีที่อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี กรมศิลปากรไดทาการขุดคนซากโบราณสถานที่เนินทาง
พระพบวัตถุสาคัญที่สลักศิลาคือ องคพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรยืน พระเศียรพระพุทธรูป
ประติมากรรมสัมฤทธิ์ เชนเศียรพระพุทธรูปหรือพระพุทธรูปทรงเครื่องขนาดเล็ก และพระพิมพ
เคร่ืองประดับปูน ปนรูปเทวดา มนุษยและยักษ หลักฐานที่คนพบเหลานี้ยนื ยนั วาเมืองสวุ รรณปุระในศลิ า
จารึกปราสาทพระขรรคในประเทศกัมพชู าคงจะเปนเมืองสุพรรณบรุ ีของไทยอยางแนนอน

นอกจากนี้ ยังไดทรงเรียบเรียงหนังสือเรื่อง"ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยถึง พ.ศ. 2000"โดย
กลาวถึงการขยายตัวของศิลปวัฒนธรรมของทวารวดีโดยอางคาของศาสตราจารย ชอง บวสเซอลีเยรวา
ศิลปะแบบทวารวดีไดขยายตัวออกไป 3 ทางคือ ทางทิศตะวันออก ทางหน่ึงไปยังอาเภออรัญประเทศ
ผานทางดงละครและคงศรีมหาโพธ์ิ อีกทางหนึ่งไปยงั ท่ีราบสงู โคราช โดยผานทางจังหวัดสระบุรีและแยก
ออกเปนหลายสายท่ีแมน้ามูล ไปยังจังหวัดมหาสารคามทางทิศเหนือไปยังจังหวัดลาพูน (คืออาณาจักร

12

หริภุญชัย) โดยผานทางจังหวัดลพบุรี นครสวรรค์และตาก ทางใตมีทางลงไปยังแหลมมลายูโดยผานทาง
จังหวัดราชบุ รี และเพชรบุรี ทางเหลานีม้ า บรรจบกันแถวบรเิ วณเมืองอูทอง ทที่ ราบไดเชนนีเ้ พราะอาศัย
โบราณวัตถุสถานแบบทวารวดีท่ีคนพบตามสายทางเดินเหลาน้ัน สวนที่บานโคกไมเดน อาเภอพยุหคีรี
จังหวัดนครสวรรค ได คนพบสถาปตยกรรมแบบแปลกที่ไมเคยพบมากอนในศลิ ปะแบบทวารวดี คอื สถูป
รูปสี่เหล่ียม จัตุรัสมีกาแพงแกวลอมรอบเพ่ือก้ันเขตประทักษิณหากประเด็นตางๆ ท่ีกลาวมาทาใหได
ประเด็นที่ตองการศึกษา โดยเฉพาะสมัยทวารวดีไดแก ศึกษาเร่ืองกาเนิดหรือท่ีมา และพัฒนาการของ
พระพุทธศาสนาสมัยทวารวดี อิทธิพล และรองรอยของพระพุทธศาสนาในสมัยทวารวดีโดยจะ
ทาการศึกษาจากเอกสารขอมูลและจากหลักฐานทางโบราณคดี(ศิลปกรรม) และงานวิเคราะหขอมูลที่
เกี่ยวของ ท่ีนักวิชาการไดวิเคราะหไวแลว ในสวนอิทธิพลของพระพุทธศาสนานั้น จะศึกษาเฉพาะท่ี
ปรากฏในดาน สถาปตยกรรมประติมากรรมเปนหลัก โดยใหน้าหนักการศึกษาขอมูลเอกสาร 60 %
หลักฐานทางโบราณคดีหรอื ศลิ ปกรรม 40 %

ศำสตรำจำรยบ์ วสเซอลเี ยร่ ์ ได้เขียนบทความเร่ือง U-thong et sonimportance pour
l’histoire de Thailande โดยท่านได้สนั นิษฐานวา่ อู่ทองมีร่องรอยมา ตงั้ แต่สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์
และอยู่ต่อเน่ืองไม่ขาดตอนมาจนถึงช่วงพุทธศตวรรษท่ี 17-18 จึงค่อยร้างไปอย่างกะทันหัน อาจเป็น
ด้วยภัยธรรมชาติหรือสาเหตุอ่ืนในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 19 ได้มีการสร้างเมืองใหม่ที่สุพรรณบุรี
เมืองอู่ทอง ค่อยถูกรวมเข้ากับเมืองสุพรรณบุรีด้วย ศาสตราจารย์ บวสเซอลีเย่ร์ ยังสันนิษฐานอกี ด้วย
ว่า อู่ทอง อาจเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรฟูนัน เพราะพบศิลปวัตถุรุ่นเดียวกับฟูนันโดยเฉพาะ
ลูกปัดเป็นจานวนมาก โดยอาจเป็นศูนย์กลางทางผ่านของวัฒนธรรมอินเดีย ไปยังเมืองออกแก้ว
นอกจากน้ีท่านยังสนับสนุนแนวคิดเรื่องพระเจ้าอู่ทองมาจากเมืองอู่ทอง ของสมเด็จฯ กรมพระยา
ดารงราชานุภาพ โดยอ้างว่า ผลการขุดแต่งเจดีย์หมายเลข 1 พบว่า สร้างในสมัยทวารวดีแล้วมีการ
บรู ณะในสมยั อยธุ ยา จึงเป็นไปไดว้ า่ เชือ้ สายของพระเจา้ อทู่ องอาจเคยอยทู่ ี่น่ีมาก่อน20

ระหว่างช่วง พ.ศ. 2508-2510 นี้ดูจะมีการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการจัดการความรู้เรื่อง
เมืองอู่ทอง และบริเวณโดยรอบมากเป็นพิเศษ ช่วงเวลาท่ีว่ายังมีการขุดค้นทางโบราณคดีโดย วัตสัน
(W.Watson) กับลอฟส์ (H.E. Loffs) ทบ่ี ้านทา่ มว่ ง เขตเมืองเก่าอู่ทอง พบหลกั ฐานมากมายซงึ่ ท้งั สอง
ท่านอธิบายว่า พน้ื ที่บริเวณน้มี ีชุมชนอยู่แลว้ ตงั้ แต่สมัยหินใหม่เร่ือยมาจนถึงสมัยเหล็ก การเข้ามาของ
วัฒนธรรมฟูนัน ไม่ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในบริเวณนี้มากนัก ทั้งสองท่านเรียกวัฒนธรรม
บริเวณน้ีว่า Early Mon หรือ Proto Mon โดยมีอาณาเขตตั้งแต่ตอนล่างของประเทศพม่ามาถึง
ประเทศไทยและอนิ โดจนี ตอนใต้21

ศำสตรำจำรย์ชิน อยู่ดีทาการค้นควา้ เร่อื งก่อนประวัติศาสตร์บริเวณเมอื งอู่ทอง โดยทา่ น
ได้ตั้งข้อสังเกตว่า พ้ืนท่ีบริเวณน้ีพบขวานหินขัดแบบมีบ่ามากกว่าพ้ืนท่ีอื่นๆของประเทศแสดงว่า เม่ือ
ราว3,000 ปีท่ีแล้ว มีคนยุคหินใหม่อยู่ในบริเวณเมืองอู่ทองแล้ว และน่าจะอยู่ต่อเนื่องมาจนถึงยุค

20 บวสเซอลีเย่, ฌอง. ควำมรู้ใหมท่ ำงโบรำณคดีจำกเมอื งอทู่ อง.,(พระนคร : กรมศลิ ปากร, 2511).
21 สุภมาศ ดวงสกุล,บรรพชนรุ่นแรก ย่ำนด่ำนช้ำง สุพรรณบุรี,” เอกสารประกอบการเสวนาทาง
วชิ าการเรอื่ ง “อู่ทอง...ตน้ สำยและปลำยทำง” วันท่ี 17 กันยายน 2556 ณ พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติอู่ทอง,2556,

13

สาริด และยุคเหล็ก เพราะพบลูกปัดหลายลูกคล้ายของในยุคสาริด และยุคเหล็ก ที่ลพบุรี 22 วนั ที่ 13
พฤษภาคม พ.ศ. 2509 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวรัชกาลปจั จบุ ัน เสดจ็ เป็นองค์ประธานในพธิ ีเปิด
พิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติอ่ทู อง อย่างเป็นทางการ

ธนิต อยู่โพธิ์ อธิบดีกรมศิลปากรในขณะน้ัน แสดงความเห็นในหนังสือช่ือ สุวัณณภูมิว่าอู่
ทองน่าจะเป็นเมืองหลวงของแควน้ สวุ รรณภูมิ23 เช่นเดียวกับขอ้ คิดเห็นทานองเดียวกนั ของ มานิต วัล
ลิโภดม ในหนังสือ โบราณคดแี ละประวัติศาสตร์เมืองสุพรรณบุรที ่ีตรวจสอบเส้นรุ้งเส้นแวงของเมืองท่ี
คาดว่าจะเปน็ เมอื งหลวงของ สุวรรณภมู จิ ากจดหมายเหตุตา่ งๆ พบว่านา่ จะอยู่บรเิ วณเมืองอทู่ อง24

มำนิต วัลลิโภดม เขียนบทความเร่อื ง สวุ รรณภูมิอยู่ทีไ่ หน ลงในวารสารเมืองโบราณ โดย
อา้ งวา่ เมืองอทู่ องร้างไปกอ่ นพ.ศ. 1700 เห็นได้จากโบราณวัตถุทั้งหมดน้ีอาจเกิดจากการทแ่ี ม่นา้ ทา่ จีน
เปล่ียนเส้นทางน้าทาให้ลาน้าจระเข้สามพันต้ืนเขินลง ตลอดทั้งเส้นลาน้าเก่าที่ว่าพบโบราณวัตถุและ
ลูกปัด จานวนมาก ซึ่งท่านลงความเห็นว่า เก่ากว่าท่ีนครปฐม ท่านยังสรุปไว้ด้วยว่า อู่ทอง ก็คือ
จินหลิน และสวุ รรณภูมใิ นบนั ทกึ ของจีน และอินเดยี ตามลาดบั

ดังน้ัน การที่เมืองอู่ทองมีหลักฐานต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนรับวัฒนธรรมศาสนา จนถึง
สมยั ทรี่ ับวัฒนธรรมศาสนาแลว้ ซ้ายงั ดเู หมอื นว่ามีลักษณะเชงิ ช่างท่เี ก่าแก่กวา่ เมอื งอ่นื ๆ ในวัฒนธรรม
ทวารวดี จงึ อาจจะกลา่ วได้ว่าเมืองอู่ทองเป็นศูนยก์ ลางของพระพุทธศาสนาอย่างเถรวาทที่เก่าแก่ที่สุด
ในวฒั นธรรมทวารวดีได้ แม้ว่าจะไม่ได้เกี่ยวพันกับเรื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระเจ้าอโศกที่
มีอายุเก่ากว่าหลักฐานเน่ืองในพุทธศาสนาในเมืองอู่ทองราว 700 ปีเลยก็ตาม ลักษณะเช่นน้ีคง
เกยี่ วเนื่องกับการท่ีเมอื งอทู่ องมีฐานะเปน็ สถานีการค้าทสี่ าคัญมาแต่ดั้งเดมิ 25

ด้วยข้อมูลดังกล่าวนี้ คณะผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาประวัติศาสตร์เมืองอู่ทองใน
ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพ่ือสนับสนุนข้อค้นพบของนักวิจัย และนักวิชาการทางประวตั ิศาสตร์
โดยจะศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ รวมทั้งการสังเคราะห์ข้อมูลทางโบราณสถาน
โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุท่ีร่วมสมัย รายงานวิจัยทางด้านโบราณคดี หนังสือโบราณคดีและ
ประวัตศิ าสตรร์ ่วมสมัยจดั ทารายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณ์ ใช้ประโยชน์ทางการศึกษา ตอ่ ไป

1.5 ขอบเขตของกำรศกึ ษำ

1) ขอบเขตดำ้ นพืนท่ี

การศึกษาการวิเคราะหเ์ มืองอู่ทองประวัติศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ได้กาหนด
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาครอบคลุมบริเวณเมืองโบราณอู่ทองและปริมณฑลรอบๆ เมืองโบราณอู่ทอง
อาเภออู่ทอง จงั หวดั สุพรรณบุรี

22 ชิน อยู่ด.ี สมัยก่อนประวตั ิศำสตรใ์ นประเทสไทย,. (พระนคร : กรมศิลปากร, 2513),.
23 ธนิต อยู่โพธิ์,สวุ ณั ณภมู ิ,กรงุ เทพฯ:กรมศลิ ปากร, 2510).
24 ศรศี ักร วัลลโิ ภดม, ประวตั ศิ ำสตร์โบรำณคดี : เมอื งอทู่ อง,. (กรงุ เทพฯ : เมืองโบราณ, 2549).
25 สุรพล นาถะพินธุ และ ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ, ประวัติวัฒนธรรมลุ่มนำทวน-จระเข้สำมพัน
รายงานการสารวจขอ้ มูลวัฒนธรรมสมัยโบราณในลุ่มน้าทวน(จ.กาญจนบรุ ี)-จระเข้สามพัน(จ.สพุ รรณบรุ ี) สนับสนุน
โดย บริษทั มติชน จากัด (มหาชน) พ.ศ. 2552).

14

2) ขอบเขตเนือหำ โดยจะทาการศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และโบราณคดีเมือง
โบราณอู่ทอง พระพทุ ธศาสนาท่เี มอื งอ่ทู อง ราวพทุ ธศตวรรษท่ี 9 – 15

3) ขอบเขตเวลำทีศ่ ึกษา เดือน มีนาคม 2561 – มนี าคม 2562

1.6 วธิ ีกำรดำเนินกำรวจิ ยั

การวิจัยค้นคว้าจะใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical Approach) และจะนาเสนอ
การวิจยครั้งนี้เปนการววิจัยเอกสาร (Documentary Research) มีวิธีดังน้ีโดยข้อมูลที่ได้ศึกษามา
จาก

16.1 กำรค้นคว้ำข้อมูลจำกเอกสำรชันปฐมภูมิ(Primary Sources) เช่นรวบรวมข้อมูล
จากคัมภีรพ์ ระไตรปิฏก และคมั ภีร์อรรถกถา หลักฐานทางโบราณคดี ตลอดถึงวรรณกรรมประเทศศรี
ลังกา วรรณกรรมลานนา ลานชาง และวรรณกรรมอนื่ ทเ่ี กยี่ วของเป็นตน้

16.2 แนวทำงกำรคนควำกำรวจิ ยั โดยอาศัยหลัก 3 ประการดงั น้ี

1) หลักฐานอันดับ 1 ไดแก่ หลักฐานที่สร้างหรือแตงข้ึนเม่ือเหตุการณ์น้ันๆ เกิดขึ้น คือ
โบราณวตั ถุสถาน จารึก และโบราณวัตถใุ นภาคเอเชียอาคเนย สวนใหญสรางข้ึนในพุทธศาสนา ศกึ ษา
ศิลปกรรม ประติมากรรม โบราณสถาน ในสวนของจารึกจะวิเคราะหขอความในจารึกตามท่ี
นกั ปราชญแปลและวิเคราะหไว, และศึกษาข้อมลู จากการสังเกต พูดคุยกับ นักวิชาการทางโบราณคดี
และประวัติศาสตร์บางทา่ น เพียงเพื่อเป็นแนวคดิ ในการนามาเรียบเรยี บให้สอดคล้องเป็นรปู ธรรมมาก
ขึน้ น้ันๆ

2) หลกั ฐานอันดับ 2 ได้แก หลักฐานท่ีสรางหรือแตงข้ึนเม่ือเหตุการณน้ันลวงไปแลว ได
แก ตำนำน พงศวดำร สังคีติยวงศ์ หรือจดหมำยเหตุพ้ืนเมืองตางๆ ท่ีแตงหรือรวบรวมข้ึนเมื่อ
เหตุการณนนั้ เกิดขึ้นแลว เปนเวลาหลายรอยปและตานานหรอื จดหมายเหตุพืน้ เมือง ท่มี ีการขดุ คนพบ
หลักฐานทางโบราณวัตถสุ ถานเพอ่ื พสิ ูจนคากลาวในตานานหรอื จดหมายเหตุพน้ื เมือง

3) หลักฐานอันดับ 3 ไดแก วรรณกรรมหรือหนังสือต่าง ๆ ที่มีผูเขียนขึ้นในสมัยปจจุบัน
โดยพจิ ารณาที่หลกั ฐานอันควรเชื่อถือ และใชวิจารณญาณอนั เหมาะสมโดยปราศจากอคติ

1.6.3 รวบรวมขอมูลจำกเอกสำรดงั กลำวในขอ.1 ท่เี ก่ยี วของกบั งำนวิจัย
1.6.4 ศึกษำวิเครำะห์ สรุปและสังเครำะห์ขอ้ มูล
1.6.5 เรียบเรียง นำเสนอผลกำรวิจัย

1.7 แหล่งข้อมูล

1) หอสมุดกลางมหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

2) มลู นธิ หิ อจดหมายเหตุพทุ ธทาส อนิ ทปญฺโญ
3) พพิ ิธภันฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง และสุพรรณบรุ ี
4) ข้อมลู จากนกั วชิ าการทางประวัตศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี

15

1.8 ประโยชนท์ คี่ ำดวำ่ จะไดร้ บั

1) ได้ทราบถึงการกาเนิดและการเขา้ มาของพระพุทธศาสนาในสมยั ทวารวดี(อทู่ อง)
2) ไดท้ ราบถงึ การศกึ ษาอิทธพิ ลของการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาสเู่ มืองอ่ทู อง
3) ได้ทราบถึงการศึกษาร่องรอยทางพระพุทธศาสนาในเมืองอู่ทองจากหลักฐานทาง
ศิลปกรรม

บทท่ี 2

การศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์สมัยทวารวดี(อ่ทู อง)ในการเผยแผ่
พระพุทธศาสนา

ในบทนี้จะกล่าวถึงประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี(อู่ทอง)ตัง้ แตสมัยกอนประวตั ิศาสตร และ
สมัยปจจุบันโดยสังเขป รายละเอียดเกี่ยวกับชุมชนและแควนดั้งเดิม กําเนิดและการเขามาของ
พระพุทธศาสนา ความสัมพันธของเมืองอู่ทองกับจังหวัดต่างๆ เชื้อชาติของกลุมชนในสมัยอู่ทอง
อิทธพิ ลและบทบาทของอารยธรรมทวารวดีอู่ทอง ตลอดจนการเผยแผพระพุทธศาสนาเปนลําดับไป

2.1 ความเปน็ มาของเมืองอทู่ อง

เมืองอทู่ องเป็นแหล่งโบราณคดีที่สําคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย ต้ังอยู่ทางฝ่ังตะวันตก
ของแม่น้ําจระเข้สามพัน ตำบลอู่ทอง อําเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ลักษณะของเมืองเป็นรูป
วงรี หันไปตามแนวทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวนั ตกเฉียงใต้ มขี นาดกวา้ ง 750 เมตร ยาว
1,650 เมตร เนื้อท่ีประมาณ 976 ไร่ มีคูนํ้าค่ันดินล้อมรอบเมือง1 ภายในตัวเมืองและบริเวณ
ปริมณฑล พบโบราณสถานและโบราณวัตถุในวัฒนธรรมแบบทวารวดีเป็นจํานวนมาก ท้ังยังพบ
หลักฐานการอยู่อาศัยของมนุษย์ก่อประวัติศาสตร์ แบบสังคมเกษตรกรรม ยุคหินใหม่ ต่อเนื่องถึงยุค
โลหะ เมื่อประมาณ 3,000 ปีมาแล้ว2 ต่อมาประมาณ 2,000 ปี พบหลักฐานโบราณวัตถุท่ีแสดงว่า
เมืองโบราณอู่ทองเป็นเมืองท่าศูนย์กลางการติดต่อการค้าขายสําคัญของชุมชนโบราณ ในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับประเทศสําคัญของโลกในเวลานั้นและเม่ือประมาณ 1,600-1,800 ปี ท่ี
ผ่านมา ราว พ.ศ. 800-1000 พบหลักฐานที่แสดงถึงการนับถือพุทธศาสนา ในเมืองโบราณอู่ทอง
โดยเฉพาะพุทธศาสนาแบบหินยานหรือเถรวาท ทําให้เมืองอู่ทองเกิดการปรับเปลี่ยนรูปแบบทาง
วัฒนธรรมสู่วัฒนธรรมทวารวดี ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมสมัยประวัติศาสตร์ยุคแรกสุดบนผืนแผ่นดินไทย

จากความสำคัญของเมืองโบราณอู่ทองที่เป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ และ
ศิลปวัฒนธรรม คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้ความเห็นชอบประกาศให้เมืองโบราณอู่ทองเป็นพ้ืนท่ี
พิเศษ เพื่อการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 โดยมีองค์การบริหาร
การพัฒนาพ้ืนที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.) เป็นหนว่ ยงานหลักในการจัดทําแผน
แม่บทและแผนปฏิบัติการ โดยการแปลงทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เพื่อสร้างรายได้ให้เกิด
ข้ึนจากแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์และเป็นการเชิญชวนให้เกิดกระแสเศรษฐกิจ สร้างสรรค์แพร่
ขยายในวงกว้าง3 ตลอดจนพัฒนากลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และ
ศิลปวัฒนธรรมแห่งหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี ย่อมก่อให้เกิดการพัฒนาด้านต่างๆ ซึ่งเป็น

1 กรมศิลปากร โบราณคดีและประวัติศาสตร์เมืองสุพรรณบุรี,(กรุงเทพมหานคร:ห้างหุ้นส่วนจํากัด
สารรังสรรค์, 2545) หนา้ 26

2 ชนิ อยู่ดี. สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ในประเทศไทย,.(พระนคร : กรมศิลปากร, 2513), หน้า 44-46
3 สํานักงานพื้นท่ีพิเศษเมืองโบราณ อู่ทอง [ออนไลน์],20 พฤศจิกายน 2556 แหล่งท่ีมา
www.dasta.or.th/dastaarea7/th,สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 10 มยิ .62.

17

ผลกระทบด้านบวก อย่างไรก็ตาม เราคงต้องตระหนักและเตรียมการกับผลกระทบด้านลบ ที่จะ
เกิดตามมาด้วย เพราะในระยะเวลาท่ีผ่านมาพบว่า ชุมชนหลาย ๆ แห่งที่พัฒนาเป็นสถานที่
ท่องเที่ยวนั้นได้รับผลกระทบด้าน ลบ ก่อให้เกิดการทําลายวิถีชีวิตของชุมชน ทำลายความมี
เอกลักษณ์ของแหล่งท่องเท่ียวการเลือนหายของอาชีพดั่งเดิมในท้องถิ่น ดังที่ ปานจิตร จินหิรัญ4
ได้ศึกษาผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อชนชาวเกาะพงัน พบว่า การท่องเท่ียวแม้จะมีบทบาท
สาํ คัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน ก่อให้เกิดรายได้เป็นเงินตราต่างประเทศเข้ามาในประเทศ
แต่ก็ได้ทําให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม เกิดปัญหาขยะในชุมชน มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และวัฒนธรรม กลายเป็นสังคมเมืองอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังน้ัน การพัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่ง
ท่องเที่ยว จึงควรพัฒนาควบคู่ไปกับการคํานึงถึงรากเหง้าทางวัฒนธรรม และการสร้างจิตสํานึก
ของคนในชุมชน ให้ตระหนักถึงความเป็นตัวตน และคุณค่าทางวัฒนธรรมท่ีสืบทอดต่อกันมาจาก
บรรพบุรุษ อัตลักษณ์ชุมชน ซ่ึงเป็นลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมของชุมชนท่ีก่อตัวขึ้นมา ณ
ช่วงเวลาใด เวลาหนึ่งนัน้ ได้ถกู นาํ มาใชเ้ พ่ือส่งเสริมการทอ่ งเทย่ี วทางวัฒนธรรม ทําให้นักท่องเท่ยี ว
สนใจ ท่ีจะมาท่องเที่ยวในชุมชนนั้น ๆ ก่อให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ภายใต้ขีดความ
สามารถของธรรมชาติชุมชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและวิถีชีวิต นําไปสู่การ
พัฒนาด้านต่าง ๆ ให้มีความโดดเด่นน่าสนใจ อันเป็นอัตลักษณ์เฉพาะตัวท่ีสามารถบ่งบอกความ
เป็นตัวตนของชมชนเกิดการพัฒนาควบคู่ไปกับการคํานึงถึงรากเหง้าทางวัฒนธรรม ซ่ึงทําให้
นักท่องเท่ียวเกิดการจดจําและเกิดความประทับใจ และทําให้แหล่งท่องเที่ยวน้ันมีจุดขายที่ไม่
เหมือนใคร

2.2 ประวัตศิ าสตร์เมอื งโบราณอทู่ อง

2.2.1 สภาพภมู ศิ าสตรของประเทศไทย

ประเทศไทยไดมีชุมชนอยูอาศัยและเจริญรุงเรืองมาแลวแตอดีต" นั้น หมายความวา
ดินแดนแหงนี้ มีประชาชนอยูอาศัยและมีวฒั นธรรมทเี่ จริญรุงเรืองมาแลว ตัง้ แต่สมัยกอนสมัยทวารวดี
(อทู่ อง) และสมัยปจจุบนั โดยสังเขป เปนลําดับไป

สมัยโบราณดินแดนบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่เรียกวา สุวรรณภูมินี้ มีลักษณะทาง
กายภาพทางภมู ศิ าสตรท่แี บงไดเปน 3 สวน5

1. สวนที่เปนผืนแผนดินใหญ (Mainland) ตั้งอยูทางตะวันออกของประเทศอินเดียและ
ทิศใตของประเทศจีน ท่ีสําคัญอยูติดกับทะเล ประเทศที่มีพื้นท่ีอยูติดทะเลและสามารถติดตอกับโลก
ภายนอกโดยทางทะเลไดสะดวก ไดแก ประเทศพมา ไทย มาเลเซีย สิงคโปร เขมร และ เวียดนาม

2. สวนที่เปนผืนแผนดิน คาบสมุทร (Peninsula) ติดตอกับทะเล มีลักษณะเปนแหลม
ใหญ ยาว ยื่นลงไปในทะเลมี 3 สวน คือ คาบสมุทรพมา มลายู คาบสมุทรอินโดจีน โดยคาบสมุทร

4 ปานจิตร จนิ หริ ญั ,ศึกษาผลกระทบของการท่องเท่ยี วต่อชุมชนชาวเกาะพงนั , 2556,หนา้ 163.
5 ดูรายละเอียดใน ผาสุข อินทราวุธ, สุวรรณภูมิจากหลักฐานทางโบราณคดี,(กรุงเทพฯ: ภาควิชา
โบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศิลปากร,2548) , หนา 3-4.

18

มลายูมีความยาวท่ีสุด มีทางผาน 2 แหง คือชองแคบมะละกา และชองแคบซุนดา และแหลมมลายู
เปนชุมทางแยกใชเปนจุดนัดพบของพวกพอคาตะวันออกกับตะวันตก

3 .ดินแดนท่ีเปนเกาะ(Islands) เปนพ้ืนที่ ที่ตัง้ อยูในทะเลหรืออยูในมหาสมทุ รอินเดียและ
มหาสมุทรแปซิฟก ประเทศไทยอยูก่ึงกลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia)
หรือกลางแหลมสุวรรณภูมิ6 2 แบงกวาง ๆ ได 2 สวน 3 คือ ผืนแผนดินใหญและหมูเกาะ มีลักษณะ
ทาง ภมู ศิ าสตรทีเ่ กือ้ กูลใหเกิดผลดี ทาํ ใหไดรบั ประโยชนจากลมมรสมุ ทะเลอยางนอย 2 ดาน คอื

1) ดานการกสิกรรม และ 2) ดานการคาดวยเรือทางทะเล ทําใหบริเวณประเทศไทย
กลายเปนจุดหมายปลายทาง ของเสนทางคมนาคมคาขาย ทางทะเลมาแตโบราณ เปนตัวเชื่อมโยง
การแลกเปลี่ยนคาขายระหวางโลกตะวันออกกบั ตะวันตกประเทศไทยมีแมนํ้าสําคญั ขนาบ 2 ขาง7 คือ
แมนํ้าโขงอยูทางตะวันออกและแมน้ําสาละวิน อยูทางตะวันตก เปนแหลงรวมทรัพยากรธรรมชาติท่ี
อุดมสมบูรณ เปนที่ตั้งหลักแหลงของผูคนหลายชาติพันธุต้ังแตสมัยโบราณ 3,000 ปแลว ประมาณ
2,000 ป ตอมาพบวา อาวไทย ลึกข้ึนไปถึงปากน้ําโพ เมืองรางอําเภออูทองกบั เมอื งละโว เปนเมอื งทา
สําคัญริมอาวตะวันตกตะวันออก ยึดกุมเสนทางคมนาคมทางนํ้า ที่จะขึ้นไปสูบานเมืองในภาคเหนือ
ของประเทศไทย เพราะท่ีราบลุมแมนํา้ เจาพระยาประกอบดวยแมน้ําสาํ คญั 4 สาย คอื แมนา้ํ แมกลอง
ทาจีน เจาพระยา และแมนํ้าลพบุรี มีชื่อเรียกทางภูมิศาสตรวาท่ีราบ ลุมแมนํ้าเจาพระยา8 เปนที่ราบ
ท่ีอุดมสมบูรณมาก

2.2..2 สภาพท่วั ไปที่เก่ียวขอ้ งกบั อารยธรรม

บริเวณพื้นที่ภาคกลางสวนใหญเปนท่ีราบดินตะกอนที่แมนํ้าพัดพามาทับถมแบงตา
มลกั ษณะโครงสรางเปน 4 เขต9

1. เขตภาคกลางตอนบน พื้นท่สี วนใหญเปนท่ีราบลุมแมนํา้ และที่ราบลกู ฟกู ที่มแี มนํ้าสาย
สําคัญคือ แมน้ําปง วัง ยมและแมน้ํานาน ทางตะวันออกมีทิวเขาเพชรบูรณและท่ีราบแคบๆ มีแมน้ํา
ปาสกั ไหลผานไปลงอาวไทยได

2. เขตที่ราบภาคกลางตอนลาง เมื่อมีการเปล่ียนแปลงทางเดินของน้ําก็เกิดสาขาแมน้ํา
แยกกระจายออกไปกอนที่จะไหลลงสูอาวไทย สายสําคัญท่ีสุดก็คือแมนํ้าเจาพระยา เร่ิมตนที่ปากน้ํา
โพ ที่แมนา้ํ ปงและแมนาํ้ นานมาสบกนั แลวไหลไปลงอาวไทยทจ่ี ังหวดั สมุทรปราการ

3. พื้นท่ีทางตะวันตกของประเทศไทย มีเทือกเขาสําคัญ 2 ทิว คือ (1)เทือกเขาถนน
ธงชัยในเขตจังหวัดแมฮองสอนและจังหวัดตาก เปนแหลงกําเนิดของลํานํ้า 3 สาย คือ แมน้ําเมย แม

6พระโสภณคณาภรณ(ระแบบ ฐิตญาโณ),ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา,(กรุงเทพฯ: หางหุนสวน
จํากดั ศวิ พร, 2529),หนา 377.

7สุจิตต วงษเทศ, สุวรรณภูมิตนกระแสประวัติศาสตรไทย, (กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพดี จํากัด, 2549),
หนา 11-12.

8 มานติ วลั ลิโภดม,สวุ รรณภมู ิอยทู ่ีไหน,(กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พการเวก, 2521), หนา 23.
9 ผาสขุ อินทราวุธ,ทวารวดี, การศึกษาเชิงวิเคราะหจากหลักฐานทางโบราณคดี, (กรุงเทพฯ: อักษร
สมัย, 2542), หนา 85-86.

19

นํ้าสะแกกรัง และแมน้ําแควใหญ (2) เทือกเขาตะนาวศรีในเขตจังหวัดกาญจนบุรีและราชบุรีลงไปถึง
คาบสมุทรภาคใต

4 .บริเวณชายฝงตะวันออกเฉียงใตของอาวไทย ประกอบดวยพ้ืนท่ีแคบๆ ของ 4 จังหวัด
คือชลบุรี ระยอง จันทบุรีและตราด พื้นท่ีบริเวณนี้อยูตอนใตของลุมแมน้ําาบางประกงดานตะวันตก
และใตจดลุมแมนํ้าาเจาพระยาและอาวไทย ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 6-9 อินเดียไดมีการสงเสริม
การคากับเมืองทาของเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต มีการใชเสนทางเดินเรือระหวางภูมิภาคตะวันตก
และตะวันออกไดอยางกวางขวาง ทําใหภาคกลางมีพัฒนาการของบานเมืองมาตั้งแตสมัยกอนประวัติ
ศาสตร และยุคตน ประวัตศิ าสตรโดยเฉพาะชวงพทุ ธศตวรรษท่ี 8-910 ลงมาจดั วา มีความเจริญรุงเรือ
งกวาภาคอื่นๆ ของประเทศ เพราะอุดมสมบูรณดวยท่ีราบลุมมีแมน้ําาลําคลอง สามารถติดตอกับบา
นเมืองภายนอก ทางทะเลไดสะดวก จึงมปี ระชากรเพิ่มขึ้นอยางหนาแนนในแตละภูมิภาคของประเทศ
เนื่องจาก 2 สาเหตุ11 คือการโยกยายถิ่นฐานของกลุมชนภายในเองและการอพยพเคลื่อนยายของกลุ
มชนจาก ภายนอกเขามาตั้งถน่ิ ฐานเกดิ เปนบานเมืองขน้ึ โดยเฉพาะบริเวณภาคกลาง 3 บรเิ วณ ท่มี ีแม
น้ําสายสาํ คัญ คือ

1. บริเวณภาคกลางดานตะวันตกมแี มน้ําแมกลอง แมนาํ้ เพชรบรุ แี ละอ่ืน ๆ หลอเล้ียง
2. ภาคกลางตอนกลาง มแี มนาํ้ ทาจีน เจาพระยา ลพบรุ ี ปาสกั เปนลาํ นาํ้ สําคัญ
3. บริเวณภาคกลางดานตะวนั ออก มลี าํ นาํ้ บางปะกง ลาํ นํ้าพานทอง ลํานํา้ ประแสร ลํานํ้า
จันทบุรี และอ่ืน ๆ ไหลผานไปออกทะเล จึงพบวา บริเวณลุมแมน้ําภาคกลาง มีรองรอยการอยูอาศัย
ของมนุษยมาต้ังแตสมัย กอนประวัติศาสตรแลว มีความเจริญถึงข้ันถลุงและหลอโลหะได และเปนสัง
คมเกษตรกรรม "โดยเฉพาะรองรอยการตั้งถ่ินฐานของชมุ ชนในบรเิ วณลุมแมน้ําแม่กอง ทาจนี "12 จาก
การที่คนมกี ารติดตอกันมากข้นึ ก็เกดิ มีพฒั นาการทางสังคมและวัฒนธรรม ตามมาโดยเฉพาะการตดิ ต
อคาขายระหวางชาวอนิ เดียและกลุมชนเหลาน้ี
กอใหเกิดการเผยแพรวัฒนธรรมอินเดียมายังดินแดนแถบนี้13 กลายเปนส่ือสําคัญท่ีชวง
พุทธศตวรรษที่ 11-16 บริเวณท่ีราบลุมภาคกลางของไทยเดิมเมืองอูทองตั้งอยู บนแนวชายฝงทะเล
และแนวชายฝงทะเลอาวไทยอยูสูงกวาปจจุบัน ประมาณ 3.5-4 เมตร ลักษณะเปนอาวลึก เวาเขาไป
หางจากชายฝงทะเลปจจบุ ันไปทางทิศเหนือประมาณ 140 กโิ ลเมตร ชวงน้ันมีเมืองโบราณหลายเมือง
ตั้งอยูบริเวณที่เปนอาวเวาเขาไป เชนเมืองโบราณ คูบัว จังหวัดราชบุรี เมืองนครชัยศรี จังหวัด
นครปฐม เมืองอูทอง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี เปนตน14 เปนอันวา ความกวางใหญแหงดนิ แดนที่วัฒนธรรม

10ศรีศักร วัลลิโภดม,อารยธรรมตะวันออก, ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ,( กรุงเทพฯ:บริษัทพิฆ เณศ
พร้นิ ตง้ิ เซ็นเตอร จาํ กดั , 2545), หนา 15.

11 ศรศี ักร วัลลิโภดม,อารยธรรมตะวันออก,หนา 15-16.
12 ผาสุข อินทราวธุ ,ทวารวดี: การศึกษาเชิงวิเคราะหจากหลกั ฐานทางโบราณคดี, หนา 86-89.
13 ศรีศักร วัลลิโภดม,สยามประเทศ: ภูมิหลังของประเทศไทยตั้งยุคดึกดําบรรพจนถึงสมัยกรุงศรี
อยุธยาราชอาณาจกั รสยาม, พิมพครั้งที่ 3, (กรงุ เทพฯ: มตชิ น, 2539), หนา 43-46.
14 กรมศิลปากร,โบราณคดีเมอื งอทู อง,(นนทบรุ :ี สหมิตรพรน้ิ ตง้ิ , 2545), หนา 27-30.

20

ทวารวดีแผไปถึงน้ันมีอยูจริง แมแตสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ก็ทรงเห็นวา "สมัยที่ทวาร
วดีรุงเรืองนัน้ มอี าณาเขตกวางขวางถงึ สุพรรณบรุ ี เป็นตน้ ”15

สรุปไดวา ตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 6-9 บริเวณภาคกลางของไทยมีความเจริญดานการคา
โดยเฉพาะการคาทางเรือกอใหเกดิ ความเจริญอยางมากและมีประชากรหนาแนน ตอมาพุทธศตวรรษ
ท่ี 11-16 พบวา ทวารวดี(อู่ทอง)ไดมีขอบเขตและวัฒนธรรมกระจายออกไปในหลายพื้นที่ท้ังทาง
ตะวนั ออก ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและภาคใต มแี หลงอารยธรรมโบราณและมีการต้ังถ่ิน
ฐานชุมชนต้ังแตราวพุทธศตวรรษท่ี 3-9 มาแลวหลายแหงมีการตั้งถ่ินฐานตอเนื่องมายาวนานจนถึง
สมัยประวัติศาสตรโดยต้ังถ่ินฐานใกลกับลําน้ําสําคัญเปนหลักไดแก บริเวณลําน้ํามูล ลําน้ําชี ลํานํ้า
พอง ลํานา้ํ ปาว และลาํ นํา้ สงคราม เปนตน

2.2.3 ชมุ ชนและแควนดัง้ เดิม

ประเทศไทยมปี ระวตั ิศาสตรและรุงเรืองมาแตอดตี เหมือนกับประเทศอื่น ๆ บรเิ วณ เอเชีย
ตะวันออกเฉียงใตที่มีกลุมคนเคลื่อนยายมาต้ังถ่ินฐานอยูเปนบานเมือง16 และมีพัฒนาการทาง
วัฒนธรรมมาแตยุคกอนประวัติศาสตรไมนอยกวาหม่ืนปลงมา17 เพราะเกือบท่ัวภูมิภาค ลวนอยูใน
ภูมิอากาศที่ไดรับอิทธิพลมรสุมท่ีพัดพาเอาฝนมาตกประจําทุกป มีความแนนอนในการเพาะปลูกพืช
พันธุที่เปนประโยชน โดยเฉพาะขาวปลูกข้ึนไดทั้งท่ีลุมและท่ีดอน เปนภูมิภาคท่ีมีธรรมชาติ อํานวย
ความอุดมสมบูรณ ใหแกการตั้งหลกั แหลงของมนุษยมาก

ตอมาราว 2,500 ป มีพัฒนาการสังคมวัฒนธรรมตอเน่ืองเปนบานเมืองสืบมาจนถึง ยุค"
ทวารวดี" และมีความเกี่ยวดองเปน"เครือญาติ "กับบานเมืองและแควนที่อยูโดยรอบ18 อยางนอย 3
กลมุ ใหญ ท่เี รียกตวั เองวา "คนไทย"

กลมุ แรก เปนคนพ้นื เมืองดัง้ เดิมอยูมาตง้ั แตยุคดึกดําบรรพมากกวา 3,000 ป

กลุมท่ีสอง เปนคนจากภายนอกท่ีเคล่ือนยายเขามาทางลุมแมนํ้าโขง ลงมาตามเสนทาง
คมนาคมทางบกตะวันตก-ตะวันออกกับเหนือ-ใต ผานลํานํ้านาน-ยม-ปง คือเมืองเหนือจนถึงลุมนํ้า
เจาพระยาในสมัยตอมา

กลุมท่ีสาม เปนคนจากภายนอกเคลื่อนยายเขามาทางทะเล เลียบชายฝงจากกวางตุง-
กวางสี และเวียดนามเขาสูลุมนํ้าเจาพระยา รวมทั้งพวกทีม่ าทางทะเลอนั ดามันดวย

จากการอาศัยแมนํ้าใหญและสาขาที่ไหลผานชุมชนนอยใหญท่ีตั้งอยูเปนเสนทางในการ
คมนาคม สวนทางบกสามารถใชเสนทางเดินเทาได เชนทางพมา มีเสนทางบกจากเมอื งทะวาย ผาน

15 สมเด็จฯ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ,ตํานานพระพุทธเจดีย, หนา 127.
16 ดูรายละเอียดใน ตวน ลี เซิง, คํานําใน ประวัติศาสตรไทยในสายตาของชาวจีน,(กรุงเทพฯ:พิราบ
สาํ นกั พิมพ, 2537).
17 ศรีศักร วัลลิโดดม, ความหมายพระบรมธาตุในอารยธรรมสยามประเทศ, พิมพคร้ังที่ 3, (กรุงเทพฯ:
ดานสทุ ธาการพมิ พ, 2546), หนา 28-30
18 สจุ ิตต วงศเทศ,คนไทยมาจากไหน, (กรุงเทพฯ: สํานกั พิมพมติชน, 2548), หนา 268.

21

เจดียสามองค มาตามลําน้ํากาญจนบุรี เขาสูลุมแมนํ้าเจาพระยาทางหน่ึง19 อีกทางหนึ่ง ติดตอลุมแม
นา้ํ พระเจายากับดนิ แดนแถบทะเลสาบเขมร ผานทางแมนํ้าปราจีน และอรญั ประเทศ20 การท่ีสามารถ
ตดิ ตอกบั ดินแดนตาง ๆ ไดอยางกวางขวางเชนนี้ ยอมมีผลตอชุมชนทตี่ ั้งถิน่ ฐานอยูในบรเิ วณภาคกลาง
ทงั้ ดานเศรษฐกจิ ตลอดจนการสรางสรรคทางวฒั นธรรมอยางมาก

รองรอยชมุ ชนสมยั ทวารวดี(อู่ทอง)

นักวิชาการดานโบราณคดีไดมีการศึกษาขุดคนเรื่องชุมชนโบราณในจังหวัดตาง ๆ ของ
ประเทศไทยไวมากทําใหภาพของชุมชนสมัยอู่ทอง แจมชัดขึ้นและเปนประโยชนตอการศึกษา
เปนหลักฐานยืนยันใหเห็นถึงสภาพสังคมสมัยทวารวดีอู่ทองวา มีอยูจํานวนมาก และกินบริเวณอยู่
กวางขวางและทําใหทราบถึงความเกาแกของแหลงชุมชนตาง ๆ วา ในอดีตไดเคยมีกลุมชนอยูอาศัย
มาแลวในส่วนต่างๆของประเทศไทย

บริเวณภาคกลาง ภาคกลางเปนบริเวณท่ีเหมาะสมแกการตั้งถ่ินอาศัยประกอบอาชีพ
เกษตรเปนตน ทาํ ใหมกี ลุมชนตั้งถนิ่ ฐานอยูอาศยั มาตั้งแตสมัยกอนประวัตศิ าสตรจนเขาสูสมยั ทวารวดี
บางแหงได พฒั นาสบื เนื่องเขาสูสมัยสโุ ขทยั บางแหงก็ขาดชวงไป ผูวิจยั ขอแบงเปน 2 กลุม คือ กลมุ ท่ี
พบรองรอยตงั้ แตกอนพุทธศตวรรษท่ี 8-10 และกลุมที่พบตง้ั แตพทุ ธศตวรรษท่ี 11- 16 เปนตน

กลมุ ชนท่อี าศยั อยูกอนพุทธศตวรรษที่ 8-10 ไดแกชุมชนบริเวณ

1 .กลุมชนท่ีต้ังถ่ินฐานอยูอาศัยบริเวณเมืองจันเสน อาํ เภอตาคลี จังหวดั นครสวรรค
มีผูอยูอาศยั มาต้ังแตพุทธศตวรรษที่ 421

2. บานคูเมือง22 อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี มีคนอยูอาศัยมาตั้งแตสมัยฟูนัน
(พทุ ธศตวรรษท่ี8-10) และอยูอาศยั ตอเน่ืองมาจนถงึ สมัยอยุธยา

3. บานคูบัว อาํ เภอเมือง จังหวัดราชบุรี พบโบราณวัตถมุ ีอายุอยูในชวงพุทธศตวรรษ
ท่ี 11-15 หลกั ฐานชี้ใหเห็นถึงการแตงกาย วิถชี วี ิต สภาพสังคมของคนสมยั ทวารวดีไดเปนอยางดี เชน
ประติมากรรมปนู ปนรปู บคุ คล รปู สตรีพรอมเครอื่ งดนตรี23 เปนตน

กลมุ ชนทอ่ี าศัยอยูตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 11-16 ไดแกชุมชนบริเวณ

1. นครปฐมสมัยโบราณ 24เจริญรุงเรอื งอยูในที่ราบภาคกลางพทุ ธศตวรรษที่ 11-16

19 ดี.จี.อี.ฮอลล,ประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต เลม 1, แปลโดย อานันท กาญจนพันธ,(กรุงเทพฯ,
มลู นิธิโครงการตําราสงั คมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2522), หนา 31.

20 จี. เซเดส, ชนชาติตาง ๆ ในแหลมอินโดจีน,แปลโดย ปญญา บริสุทธิ์, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิ โครงการ
ตาํ ราสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร, 2521), หนา 8.

21 วรรณี ภูมิจิตร, โบราณคดีนครสวรรค : หลักฐานเกา-ใหม; นครสวรรค: รัฐก่ึงกลาง, (กรุงเทพฯ:
อมรนิ ทรการพิมพ, 2528), หนา 82-83.

22 ดํารงพันธ อินฟาแสง, “การจัดระบบฐานขอมูลของผลการศึกษาลักษณะดินที่ไดจากการขุดคนทาง
โบราณคดีในประเทศไทย”, รายงานการวิจัย, ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547, หนา
31-32.

23 เรื่องเดยี วกนั , หนา 26-30.

22

2. บานดงเมือง25 อําเภอหนองแซง จงั หวัดสระบรุ ี อายุประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี 11-
16 มีการตดิ ตอกับเมอื งโบราณอน่ื ๆ ในภาคกลางตะวนั ตกดวย

3. บานดอนตาเพชร อําเภอพนมทวน26 จังหวัดกาญจนบุรี เปนชุมชนท่ีประกอบ
อาชีพเกษตรกรรมและการเล้ยี งสตั ว ติดตอกับชุมชนภายนอกใกลเคียงและชุมชนท่ีอยูไกลออกไปเชน
อินเดยี เวยี ดนามและจีนเปนตน

4. เมืองพงตึก อําเภอทามะกา จังหวัดกาญจนบุรี27 เปนชุมชนท่ีมีผูอยูอาศัยมาต้ัง
แตกอนพทุ ธศตวรรษที่ 11 เรื่อยมาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 16

5. บานโปงมะนาว อําเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี มีการอยูอาศัยมาอยางนอย 2
ระยะ คอื ระยะแรกประมาณ 3,000- 3,500 ป ระยะทีส่ องประมาณ 1,500-2,300 ปมาแลว

6. เมืองลพบุรีหรือเมืองละโว28 จังหวัดลพบุรี เปนชุมชนโบราณแหงเดียว ที่มีผูอยู
อาศัยมาตงั้ แตสมัยกอนประวตั ิศาสตรจนถงึ ปจจบุ ัน บานพรหมทินใต อําเภอโคกสาํ โรง จงั หวดั ลพบุรี
มีคนอยอู าศยั ตงั้ แตสมัยกอนประวตั ศิ าสตรยุคโลหะ จนถงึ สมยั ทวารวดี

7. อูตะเภา อําเภอมโนรมย จังหวัดชัยนาท มีกลุมชนอยูอาศัยมาต้ังแตสมัยกอน
ประวัติศาสตรมีความชดั เจนในสมยั ทวารวดี

8. เมืองศรีเทพ อําเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ มีกลุมชนอยูอาศัยมาตั้งแตสมัยก
อนประวัติศาสตรรับวัฒนธรรมทวารวดีราวพุทธศตวรรษท่ี 12 ตอมาพุทธศตวรรษที่ 16 รับอิทธิพล
วัฒนธรรมขอม บริเวณฝงทะเลเดิมของท่ีราบภาคกลางยังตรวจพบเมืองโบราณที่มีคูนํ้าคันดิน ลอม
รอบแบบทวารวดี จากภาพถายทางอากาศอีกหลายเมือง ในเขต นครสวรรค ชัยนาท อุทัยธานี สิงห
บุรี ลพบรุ ี สระบุรี อางทอง สุพรรณบรุ ี นครปฐม ราชบรุ ี เพชรบุรี ชลบุรี ฉะเชงิ เทราและปราจีนบุรี29
และกรมศลิ ปากร ไดสํารวจพบรองรอยของเมืองโบราณสมัยทวารวดใี นภาคกลาง เพม่ิ ขึ้นอกี 16 เมอื ง

24 เรื่องเดียวกัน,หนา 15-16./ ผาสุข อินทราวุธ, รายงานการขุดคนที่ตําบลพระประโทน อําเภอ เมือง
จังหวดั นครปฐม,(กรงุ เทพฯ: คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, 2526).

25 ดํารงพันธ อินฟาแสง,“การจัดระบบฐานขอมูลของผลการศึกษาลักษณะดินที่ไดจากการขุดคนทาง
โบราณคดีในประเทศไทย”, หนา 37-38.

26 เรอื่ งเดียวกัน, หนา 41-44.
27 สมศักด์ิ รัตนกุล, โบราณคดีเมืองคบู ัว, (กรมศิลปากรพิมพเนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ วาท่ี ร.ต.
สมศกั ดิ์ รัตนกุล เมื่อวนั ที่ 27 เมษายน 2535), หนา 15.
28ราศี บุรุษรัตนพันธุ, “ความสําคัญของเมืองลพบุรีในฐานะเปนแหลงกระจายวัฒนธรรมทวาร วดี
บริเวณลุมแมนา้ํ ปาสกั ”, วทิ ยานิพนธปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, 2529),
หนา 11-12.
29ผองศรี วนาสิน และทิวา ศุภจรรยา,เมืองโบราบริเวณชายฝงทะเลเติมของท่ีราบภาคกลางประเทศ
ไทย: การศกึ ษาตําแหนงทีต่ ัง้ และภมู ศิ าสตรสัมพนั ธ, (กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, 2525), ภาคผนวก.

23

ในเขตนครสวรรค ชัยนาท สิงหบรุ ี ลพบุรี ราชบุรี นครปฐมและชลบรุ ี30

จากขอมูลดังกลาว ทําใหทราบวา ไดมีกลุมชนอาศัยอยู่เป็นระยะและเป็นกลุม ๆ ใน
บริเวณภาคกลางสืบตอกันมาอยางตอเนื่อง ตั้งแตสมัยพุทธศตวรรษที่ 4 เปนตนมา สอดคลองกับ
คัมภีรพระพุทธศาสนาท่ีระบุถึงการเขามาของพระพุทธศาสนาในดินแดนทวารวดีโบราณ ที่เรียกวา
ดินแดนสุวรรณภูมิ มีความชัดเจนมากย่ิงขึ้นเมื่อเร่ิมมีหลักฐานดานโบราณคดีรองรับ แมวา หลักฐาน
จะมีเกาไปเพียงพุทธศตวรรษที่ 8-9 ก็ตาม ก็ยังชี้ให้เห็นรองรอยวา่ กลุมชนท่ีอยูในบริเวณภาคกลาง มี
พัฒนาการและความเจริญมากพอท่ีจะสามารถรับวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาได้ และ พบวา
พระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองในสมัยทวารวดอี ยางมากระหวางพทุ ธศตวรรษท่ี 11-16 รวมทง้ั เปนศูนย์
กลางเผยแผพระพทุ ธศาสนาไปยงั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาคเหนอื และภาคใต

สรุปได้ว่า บริเวณภาคกลางมีชุมชนเมืองมาตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 4 เปนตน มาแต่มี
หลักฐานทางโบราณคดี ชัดเจนตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 8-9 ชวงที่เจริญสูงสุดอยูในพุทธศตวรรษท่ี 11-
16

2.3 แนวคดิ จากนกั วิชาการโบราณคดเี กีย่ วกบั อูท่ อง

ไดม้ แี นวความคดิ ของนกั วชิ าการและนกั ประวัติศาสตร์โบราณคดีหลายประการด้วยกันคือ

1) แนวคดิ นักวชิ าการมดี งั น้ี

ขุนวิจิตรมาตรา ไดเขียนหนังสือเร่ือง " หลักไทย " สรุปความไดวา การท่ีชนชาติไทยได
ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนามาแตคร้ังโบราณดึกดําบรรพ สืบเน่ืองมาจนถึงปจจุบัน เช่ือไดวา
พระพทุ ธศาสนาเปนเหตุปจจยั ใหเกดิ ความเจรญิ แกชาตอิ เนกประการ ทัง้ ในเรอ่ื งการศึกษาซึง่ เปนเรือ่ ง
ทสี่ ําคญั ของคนในชาติ โดยไดอาศัยวัดและพระสงฆเปนผูประสิทธปิ์ ระสาทวทิ ยาการ ใหการอปุ สมบท
เปนพระในพระพุทธศาสนาท่ีถือกันมาจนเปนประเพณีท่ีดีงาม และสําคัญของคนในชาติจวบจนทุก
วันน้ี ถือเปนการอบรมนิสัยจิตใจ ใหเปนพลเมืองท่ีดขี องชาติ ซ่งึ เปนผลดใี นการ อยูรวมกันและอํานวย
ใหการปกครองเปนไปโดยเรียบรอย เปนตน31 ฉะน้ัน จึงนับวา พระพุทธศาสนาไดมีอิทธิพลในทาง
เปนเครื่องพอกพูนความดีงาม และความเจริญรุงเรือง ใหแกคนไทย ชาติไทย มาเปนระยะเวลา
ยาวนานตราบเทาทกุ วนั น้ี32

น. ณ ปากนํ้า ไดเขียนหนังสอื เรื่อง "ศิลปะโบราณในสยาม" สรุปไดวา นับตั้งแตพระพุทธ
ปรนิ ิพพานตงั้ แตพุทธศตวรรษที่ 1-4 พระพุทธศาสนาไดแตกแยกเปนนิกายตางๆ ทั้งเพื่อรักษาคาํ สอน
เดิม และเพ่ือตอสูกับแนวความคิดของศาสนาพราหมณ ทําให้พระพุทธศาสนานกิ ายมหาสังฆิกะเจริญ
รุงเรืองในทางภาคใตของอินเดีย และนิกายสรวาสติวาทิน ที่แยกไปจากนิกายเถรวาท ไปเจริญ

30กรมศิลปากร,แหลงโบราณคดีประเทศไทย,(กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย,
2531), เลม 1 หนา 121-291; เลม 2 หนา 90-250.

31 ขนุ วิจติ รมาตรา, หลักไทย, (พระนคร: อักษรบริการ, 2506), หนา 153 - 154.
32 ธดิ า สาระยา, (ศร)ี ทวารวดี: ประวตั ศิ าสตรยคุ ตนของสยามประเทศ, หนา 51-53.

24

รงุ เรืองอยูทางตอนเหนือของอินเดีย สวนนิกายเถรวาทดั้งเดิมบริสทุ ธ์ิ ก็ไปเจรญิ รุงเรืองอยูท่เี กาะลังกา
ซงึ่ ภายหลังไดกลายเปนศูนยกลางแพรหลายไปสูดินแดนสุวรรณภูมิหลายระรอก 33

พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) ไดสนั นิษฐาน เร่ืองดินแดนซ่ึงเปนเสนทางการตดิ ตอระหวาง
อนิ เดยี กบั ประเทศไทยสมัยกอนไวในหนังสือเร่อื ง "จาริกบญุ -จารกึ ธรรม"

สรุปความไดวา ดินแดนสวนท่ีเปนแหลมของประเทศไทยปจจุบัน นาจะเปนสวนแรกสุด
ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทไ่ี ดรับการตดิ ตออยางสืบเนื่องกับอนิ เดีย โดยพวกพอคาฮินดูจากอินเดีย
ใต ซง่ึ เปนดินแดนท่ีพระพทุ ธศาสนาเจริญแพรหลายและเปนแหลงเผยแพรวัฒนธรรมแหงชมพทู วปี 34

พรอม สุทัศน ณ อยุธยา ไดเขียนหนังสือเร่ือง การฝงรากฐานพระพุทธศาสนาลงท่ีบาน
"คูบัว" อาํ เภอเมือง จังหวัดราชบุรี สมัยพระเจาอโศกมหาราชถึงพระเจากนษิ กะ จาก พ.ศ. 273-703"
สรุปไดวา คณะของพระเถระมาทางเรือจากอินเดียตอนใต้แลวมาขึ้นท่ี เมืองทาตะโกละหรือตะก่ัว
ปาแลวเดินทางยอนขึ้นมาทางเขาภูเขาธงไชย ภูเขาตะนาวศรี ท่ีก้ันเขตแดนระหวางไทยกับอินเดีย
เพราะเปนเสนทางท่ีชาวอินเดีย ชาวปา ชาวเขา เคยใชเปนเสนทางเดินมาแลวในสมัยโบราณ
เพราะเปนเสนทางที่เขาถึงตอนใตของดินแดนสุวรรณภูมิ และตรงกับเสนทางเดินเรือจากอินเดียมาสู
สวุ รรณภูมิ ท้งั ยงั มีความสะดวกมากกวาเสนทางอ่ืนดวย

อน่งึ การท่ีคณะของพระโสณเถระไดรับความสะดวก อาจเปนเพราะพระพทุ ธศาสนาไดเ้ ข้า
มาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิ กอนท่ีพระเจาอโศกมหาราชจะไดจัดสงสมณทูตไปเผยแผพระพุทธศาสนายัง
ทวีปตาง ๆ อยางเปนทางการก็ได35

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ ไดนิพนธหนังสือเรื่อง"ตํานาน
พระพุทธเจดีย" สรุปความตอนที่วา ดวยพระพุทธศาสนาในประเทศสยามไดวา พระพุทธศาสนาได
เขามาประดษิ ฐานในประเทศไทย ตั้งแตสมัยทร่ี าชธานีนครปฐมน้ัน มีโบราณวตั ถบุ างอยาง ปรากฏอยู
ท่ีพระปฐมเจดีย เชน ศิลาทําเปนรูปพระธรรมจักรเหมือนอยางเชน ท่ีชาวอินเดียสรางกันในสมัยเม่ือ
กอนมีพระพุทธรูป และภาษาท่ีจารึกพระธรรมเปนภาษามคธ กับทั้งยังมีคติที่ถือกันเมื่อกอนมี
พระพุทธรูป เชน ทําพระแทนพุทธอาสนและรอยพระพุทธบาทเปนท่ีสักการบูชาปรากฏตอมาอีก
หลายอยาง สัญลักษณเหลาน้ีแสดงใหเห็นวา พระพุทธศาสนาท่ีมาประดิษฐานในประเทศสยามนี้
เปนนิกายเถรวาทอยางที่พระเจาอโศกมหาราชทรงใหไปประกาศใน นานาประเทศ ทําใหสันนิษฐาน
ไดวา พระพุทธศาสนาเขามาประดิษฐานในประเทศสยามนาจะกอน พ.ศ.500 และนับถือสืบทอดกัน
มั่นคงตอมาอีกนาน36 ทรงสันนิษฐานเกี่ยวกับการเขามาของ พระพุทธศาสนาสูประเทศไทยวา
เน่ืองจากพระพุทธศาสนาเขาประเทศไทยหลายยุคและหลายนิกาย จึงเปนเหตุใหมีโบราณสถาน

33 น.ณ ปากนา้ํ , ศลิ ปะโบราณในสยาม,( กรงุ เทพฯ:ดานสทุ ธาการพิมพ, 2537), หนา 217-
34 พระธรรมปฎก, (ป.อ. ปยตุ ฺโต), จารกิ บญุ - จารึกธรรม, 2554), หนา 494.
35 พรอม สุทัศน ณ อยุธยา, การฝงรากฐานพระพุทธศาสนาลงที่บาน "คูบัว" อําเภอเมือง จังหวัด
ราชบุ รี สมัยพระเจาอโศกมหาราชถึงพระเจากนิษกะจาก พ.ศ.273 - 703, พิมพคร้ังที่ 2, (พระนคร: เจริญธรรม,
2511),หนา130 - 140.
36 สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ตํานานพระพุทธเจดีย, (กรุงเทพฯ: หนา
145-146

25

หลายแบบ ซ่ึงเรียกเปนสมัยได 7 สมัย สมัยท่ี 1 คือสมัยทวาราวดี โดยกําหนดเอาต้ังแต พ.ศ. 500
เปนตนมา จะเห็นไดวา พุทธเจดยี สมัยทวารวดีพบที่นครปฐมมากกวาแหงอื่นและเปนพุทธเจดียท่ีเกา
ที่สดุ ในประเทศไทย สนั นิษฐานวา ไดอิทธิพลจากแควนมคธราฐ โดยวัตถุที่สราง เปนพุทธเจดยี ในสมัย
น้ีมีทั้งท่ีเปนธาตุเจดีย บริโภคเจดีย ธรรมเจดียและอุเทสิกะเจดีย ครบท้ัง 4 อยาง แตถือเอาการสราง
พระธาตุเจดียเปนสําคัญกวาอยางอื่น อาจเนื่องดวยการที่พระเจาอโศกมหาราชไดทรงแจกพระบรม
สารรี ิกธาตุ ใหไปประดิษฐานในประเทศท่ีทรงสงสมณทูต ไปประกาศพระพุทธศาสนานัน้ ๆ ดวย37

เสถยี ร โพธินันทะ ไดเขียนหนังสือเรื่อง "ภูมิประวัตพิ ระพทุ ธเจา" สรปุ ความเร่ืองการ เข
ามาของพระพทุ ธศาสนาไดวา พระพุทธศาสนาไดแพรหลายเขาสูประเทศไทย ตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 3
เปนตนมา ในระยะแรกเปนพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทไดเจริญรุงเรือง อยูหลายศตวรรษและแพร
หลายครอบคลุมไปทั่วในแถบแหลมอินโดจีน ตอมาพุทธศตวรรษที่ 6 พระพุทธศาสนานิกายมหายาน
ก็ไดเขาสูประเทศไทยสมัยกอนโดยมาทางบกเขามาทางแควน เบงกอล ทางพมาเหนือ และทางทะเล
ซ่ึงมาขึ้นท่ีแหลมมลายู สุมาตราและออมอาวเขามาทาง ประเทศกัมพูชาก็มี เหตุการณตางๆ น้ีอยูใน
สมัยอาณาจักรฟูนัน ปรากฏวา ชวงเวลาดังกลาว ชาวฟูนันนับถอื พระพุทธศาสนาทั้งแบบเถรวาทและ
มหายาน ซ่ึงเจริญรุงเรืองอยางมากจนถึงกับมีสมณทูตชาวฟูนันเดินทางไปแปลพระคัมภีรถึงประเทศ
จีน ในพุทธศตวรรษที่ 10 คอื ทานพระสงั ฆปาละและพระมนั ทรเสน38

ศาสตราจารยหมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล ไดเขียนบทความเรื่องความกาวหนาใน
การศึกษาประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยสมัยโบราณ ซ่ึงยืนยันถึงเร่ืองราวความมีอยูของสุวรรณภูมิ
(กอนสมัยทวารวดี) สรุปความไดวา การศึกษาประวัติศาสตรศิลปะเอเชียอาคเนยสมัยโบราณ 3 เรื่อง
คอื

1) ปญหาเกี่ยวกับอาณาจักรฟูนันและอาณาจักรเจนละโดยทั่วไปประวัติศาสตร์สมัย
โบราณในประเทศกัมพูชาสมัยกอนสรางเมืองพระนคร (pre-Angkorean period) และมีอายุกอน
พ.ศ.1355 นั้น นิยมใชชื่อตามท่ีปรากฏอยูในจดหมายเหตุจีนคืออาณาจกั รฟูนนั และอาณาจักรเจนละ
ซึ่งนักวิชาการหลายทานสนใจศึกษาคนควา เชน ศาสตราจารยโคลด ชาค (Claude Jacques)
ศาสตราจารยเปลลิโอต (Paul Pelliot), ศาสตราจารยยอรช เซเดส ศาสตราจารย์ฟโนต (Louis
Finot), ศาสตราจารยดูปองต (P. Dupont)

2) เดิม ศาสตราจารยเซเดส เขียนไวในหนังสือวา พระเจาสุริยวรมันท่ี 1 ของขอมทรง
เปนเช้ือชาติมาลายูและเสด็จข้ึนมาจากเมืองนครศรีธรรมราช ตอมาไดเปลี่ยนความเห็นวาพระเจาสุ
รยิ วรมันที่ 1 ทรงเปนเจาชายขอมแตดงั้ เดิม

3) หลักฐานทางดานโบราณคดี ที่อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี กรมศิลปากรไดทํา
การขุดคนซากโบราณสถาน ที่เนินทางพระพบวัตถุสําคัญท่ีสลักศิลา คือ องคพระโพธิสัตวอวโลกิเต
ศวร ยืน พระเศียรพระพุทธรูป ประติมากรรมสัมฤทธิ์ เชน เศียรพระพุทธรูปหรือพระพุทธรูป
ทรงเคร่ืองขนาดเล็ก และพระพิมพ เคร่ืองประดับปูนปนรปู เทวดา มนุษย์และยักษ หลักฐานท่ีคนพบ

37 เรอื่ งเดียวกัน หนา้ 145-146
38 เสถยี ร โพธนิ ันทะ, ภูมิประวัตพิ ระพุทธศาสนา, หนา 1-6

26

เหลาน้ียืนยันวา เมืองสุวรรณปุระ ในศิลาจารึกปราสาทพระขรรค ในประเทศกัมพูชาคงจะเปนเมือง
สพุ รรณบุรีของไทยอยางแนนอน39

นอกจากนี้ ยังไดทรงเรียบเรยี งหนังสือ เร่ือง"ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยถึง พ.ศ. 2000"
โดยกลาวถึง การขยายตัวของศิลปวัฒนธรรมของทวารวดี โดยอางคําของ ศาสตราจารย ชอง บวส
เซอลีเยรวา ศิลปะแบบทวารวดีไดขยายตวั ออกไป 3 ทาง คอื ทางทิศตะวันออก ทางหนึ่งไปยังอําเภอ
อรัญประเทศ ผานทางดงละครและคงศรีมหาโพธ์ิ อีกทางหนึ่งไปยังท่ีราบสูง โคราช โดยผานทาง
จังหวัดสระบุรี และแยกออกเปนหลายสายท่ีแมน้ํามูล ไปยังจังหวัดมหาสารคามทางทิศเหนือ ไปยัง
จังหวดั ลาํ พนู (คืออาณาจักรหรภิ ุญชยั ) โดยผานทางจงั หวดั ลพบุรี นครสวรรคแ์ ละตาก ทางใตมีทางลง
ไปยังแหลมมลายูโดยผานทางจังหวัดราชบุรี และเพชรบุรี ทางเหลานี้มา บรรจบกันแถวบริเวณเมืองอู
ทอง ที่ทราบไดเชนน้ี เพราะอาศัยโบราณวัตถุสถาน แบบทวารวดี ท่ีคนพบตามสายทางเดินเหลาน้ัน
สวนท่ีบานโคกไมเดน อําเภอพยุหคีรี จังหวัดนครสวรรค ได้คนพบสถาปตยกรรมแบบแปลกท่ีไมเคย
พบมากอนในศิลปะแบบทวารวดี คือ สถูปรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัสมีกําแพงแกวลอมรอบ เพื่อกั้นเขต
ประทักษิณ40 จากประเด็นตางๆ ที่กลาวมา ทําใหไดประเด็นท่ีตองการศึกษา โดยเฉพาะสมัยทวารวดี
ไดแก ศกึ ษาเร่ืองกําเนิดหรือท่ีมา และพัฒนาการของพระพุทธศาสนาสมัยทวารวดี อิทธพิ ลและ รอง
รอยของพระพุทธศาสนาในสมัยทวารวดี โดยจะทําการศึกษาจากเอกสารขอมูลและจาก หลักฐานทาง
โบราณคดี(ศิลปกรรม) และงานวิเคราะหขอมูลท่ีเกี่ยวของ ที่นักวิชาการไดวิเคราะหไวแลว ในสวน
อิทธพิ ลของพระพุทธศาสนานัน้ จะศกึ ษาเฉพาะท่ีปรากฏในดานสถาปตยกรรมประติมากรรมเปนหลัก
โดยใหนํ้าหนักการศึกษาขอมูลเอกสาร 60 % หลักฐานทางโบราณคดีหรือศิลปกรรม 40 % เดินทาง
ยอนข้นึ มาทางเขาภูเขาธงไชย ภูเขาตะนาวศรี ทก่ี น้ั เขตแดนระหวางไทยกบั อินเดีย เพราะเปนเสนทาง
ทีช่ าวอนิ เดีย ชาวปา ชาวเขา เคยใชเปนเสนทางเดนิ มาแลวในสมัยโบราณ เพราะเปนเสนทางท่ีเขาถึง
ตอนใตของดินแดนสุวรรณภูมิ และตรงกับเสนทางเดินเรือจากอินเดียมาสูสุวรรณภูมิ ทั้งยังมีความ
สะดวกมากกวาเสนทางอืน่ ดวย

อนึ่งการที่คณะของพระโสณเถระไดรับความสะดวก อาจเปนเพราะพระพุทธศาสนาได
เข้ามาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิ กอนท่ีพระเจาอโศกมหาราชจะไดจัดสงสมณทูตไปเผยแผพระพุทธศาสนา
ยงั ทวีปตาง ๆ อยางเปนทางการกไ็ ด41

ศาสตราจารย์ฌอง บวสเซอลีเยร์ เรื่อง “เมืองอู่ทองและความสําคัญของเมืองอู่ทองใน
ประวัติศาสตร์ไทย”42 น้ันท่านได้ต้ังข้อสมมติฐานไว้ว่าเมืองอู่ทองเป็นเมืองหลวงของรัฐทวารวดี

39 สุภัทรดศิ ดิศกุล,ศ.ม.จ.,พระพทุ ธรูปรุนเกาในประเทศไทย, โบราณคดี, ปท่ี 3 ฉบบั ท่ี 3 (มกราคม-
มนี าคม 2514), หนา 9-12

40 ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยถึง พ.ศ. 2000,(กรุงเทพฯ:บริษัทรุงแสง
การพิมพ จาํ กดั , 2535), หนา 24-25.

41 พรอม สุทัศน ณ อยุธยา, การฝงรากฐานพระพุทธศาสนาลงทบ่ี าน "คูบัว" อาํ เภอเมือง จังหวัดราช
บุ รี สมยั พระเจาอโศกมหาราชถึงพระเจากนิษกะจาก พ.ศ.273 - 703, พิมพครง้ั ท่ี 2,(พระนคร: เจริญธรรม, 2511),
หนา 130 - 140.

27

เน่ืองจากเมืองอู่ทองเป็นเมืองเดียวท่ีพบจารึกท่ีกล่าวถึงพระนามของกษัตริย์ทวารวดี (จารึกบนแผ่น
ทองแดง) คือพระเจ้าหรรษะวรมัน อันเป็นพระนามกษัตริย์ท่ีไม่รู้จักกันในราชวงศ์เจนละในสมัยน้ัน
และยังจารึกบนแผน่ ทองแดงซง่ึ รัฐท่ีเจนละไม่ใช้ อีกท้ังระยะทางยังไกลเกินกว่าท่ีจะคิดไปว่าจารึกนถี้ ูก
นําเข้ามา ดังนั้นจึงควรเช่ือได้ว่าจารึกน้ีเป็นจารึกแผ่นแรกท่ีจารึกพระนามพระเจ้าหรรษะวรมันแห่ง
รัฐทวารวดี และสถานท่ีที่พบคืออู่ทองก็ควรจะเป็นเมืองหลวงของพระองค์และในบทความเร่ือง
“ทฤษฏีใหม่เกย่ี วกับสถานท่ตี ั้งอาณาจกั รฟูนนั ”13 ของศาสตราจารยฌ์ อง บวสเซอลีเยอรน์ ้ันท่านไดต้ ั้ง
ข้อสมมติฐานไว้ว่า ราชธานีของอาณาจักรลุ่มแม่นํ้าเจ้าพระยาบริเวณเมืองอู่ทอง แต่ดินแดนแถบลุ่ม
แม่นํ้าโขงนั้นเป็นดินแดนท่ีถูกปราบปรามเน่ืองจากวฒั นธรรมแบบฟูนันท่ีเมืองออกแก้วไม่ได้สืบต่อลง
ไปในวัฒนธรรมแบบเจนละแต่ขาดหายไป “เคร่ืองประดับทําดว้ ยทองหรอื ดบี ุกรวมทั้งลูกปัดซงึ่ ค้นพบ
เป็นจํานวนมากและเครื่องปั้นดินเผาแบบต่างๆ ที่ค้นพบท่ีเมืองออกแก้วไม่ปรากฏมีในอาณาจักรเจน
ละตรงกนั ข้ามกับอาณาจักรทวารวดี ซ่ึงเป็นผู้สืบต่อโดยตรงจากอาณาจักรฟูนันนั้นมีการสืบตอ่ ในการ
ใช้โบราณวัตถแุ บบเดยี วกัน เครื่องปั้นดินเผาแบบเดียวกันลงไปจนถงึ สมัยทวารวดี และวัตถุเหล่าน้ีก็มี
วิวัฒนาการไปอย่างช้าๆ จากประติมากรรมและภาพสลักนูนตํ่าในศิลปะทวารวดี เราก็อาจทาบวิธีใช้
เคร่อื งอาภรณท์ ี่ค้นพบทเ่ี มอื งออกแก้วและไม่เคยทราบกันวา่ ใช้ทาํ อะไรมากอ่ น”

เสถียร โพธินันทะ ไดเขียนหนังสือเร่ือง"ภูมิประวัติพระพุทธเจา "สรุปความเรื่องการ
เขามาของพระพุทธศาสนาไดวา พระพุทธศาสนาไดแพรหลายเขาสูประเทศไทยต้ังแตพุทธศตวรรษที่
3 เปนตนมา ในระยะแรกเปนพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ไดเจริญรุงเรืองอยูหลายศตวรรษและ
แพรหลายครอบคลุมไปทั่วในแถบแหลมอินโดจีน ตอมาพุทธศตวรรษที่ 6 พระพุทธศาสนานิกาย
มหายาน ก็ไดเขาสูประเทศไทยสมัยกอนโดยมาทางบกเขามาทางแควน เบงกอล ทางพมาเหนือ และ
ทางทะเลซึ่งมาขึ้นท่แี หลมมลายู สุมาตราและออมอาวเขามาทาง ประเทศกัมพูชาก็มี เหตกุ ารณตางๆ
นอี้ ยูในสมยั อาณาจกั รฟนู นั ปรากฏวา ชวงเวลาดังกลาว ชาวฟูนนั นับถือพระพุทธศาสนาท้ังแบบ เถร
วาทและมหายาน ซ่ึงเจริญรุงเรอื งอยางมากจนถึงกับมีสมณทูตชาวฟูนัน เดินทางไปแปลพระคมั ภีรถึง
ประเทศจนี ในพทุ ธศตวรรษที่10 คอื ทานพระสงั ฆปาละและพระมันทรเสน43

ศาสตราจารยหมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล ไดเขียนบทความเรื่องความกาวหนาใน
การศึกษาประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยสมัยโบราณ ซึ่งยืนยันถึงเร่ืองราวความมีอยูของสุวรรณภูมิ
(กอนสมัยทวารวดี) สรุปความไดวา การศึกษาประวัติศาสตรศิลปะเอเชียอาคเนยสมัยโบราณ 3 เรื่อง
คือ

1) ปญหาเก่ียวกับอาณาจักรฟูนันและอาณาจักรเจนละโดยทั่วไปประวัติศาสตร์สมัย
โบราณในประเทศกมั พูชาสมัยกอนสรางเมืองพระนคร(pre-Angkorean period)และมีอายุกอน พ.ศ.
1355 น้ัน นิยมใชชื่อตามที่ปรากฏอยูในจดหมายเหตุจีน คอื อาณาจักรฟูนัน และอาณาจักรเจนละซ่ึง
นักวิชาการหลายทานสนใจศึกษาคนควา เชน ศาสตราจารยโคลด ชาค (Claude Jacques)

42 .ฌอง บวสเชอลเิ ยร์ “ทฤษฏีใหมเ่ กย่ี วกับทีต่ ง้ั อาณาจักร ฟูนัน” เกบ็ ความโดย มจ.สภุ ทั รดิศ
ดศิ กลุ ใน โบราณวทิ ยาเร่ืองเมอื งอ่ทู อง,หนา้ 11-20.

43 เสถยี ร โพธนิ นั ทะ, ภมู ปิ ระวตั พิ ระพุทธศาสนา, หนา 1-6

28

ศาสตราจารยเปลลิโอต (Paul Pelliot), ศาสตราจารยยอรช เซเดส ศาสตราจารย ฟโนต (Louis
Finot), ศาสตราจารยดปู องต (P. Dupont)

2) เดิม ศาสตราจารยเซเดส เขียนไวในหนังสือวา พระเจาสุริยวรมันท่ี 1 ของขอมทรง
เปนเชื้อชาติมาลายูและเสด็จขึ้นมาจากเมืองนครศรีธรรมราช ตอมา ไดเปลี่ยนความเห็นวา พระเจา
สุรยิ วรมนั ท่ี 1 ทรงเปนเจาชายขอมแตดง้ั เดมิ

3) หลกั ฐานทางดานโบราณคดีที่อาํ เภอสามชกุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี กรมศิลปากรไดทาํ การ
ขุดคนซากโบราณสถานที่เนินทางพระพบวัตถุสําคัญที่สลักศิลาคือ องคพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรยืน
พระเศียรพระพุทธรูป ประติมากรรมสัมฤทธิ์ เชน เศียรพระพุทธรูปหรือพระพุทธรูปทรงเครื่องขนาด
เล็ก และพระพิมพ เคร่ืองประดับปูนปนรูปเทวดา มนุษย และยักษ หลักฐานท่ีคนพบเหลาน้ียืนยันวา
เมืองสุวรรณปุระในศิลาจารึกปราสาทพระขรรคในประเทศกัมพูชาคงจะเปนเมืองสุพรรณบุรีของ
ไทยอยางแนนอน44

นอกจากน้ี ยังไดทรงเรียบเรียงหนังสือเรื่อง"ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยถึง พ.ศ. 2000"
โดยกลาวถงึ การขยายตัวของศลิ ปวัฒนธรรมของทวารวดี โดยอางคาํ ของศาสตราจารย ชองบวสเซอลี
เยร วา ศิลปะแบบทวารวดีไดขยายตัวออกไป 3 ทางคือ ทางทิศตะวนั ออก ทางหนึ่งไปยังอาํ เภออรัญ
ประเทศ ผานทางดงละครและคงศรีมหาโพธ์ิ อีกทางหนึ่งไปยังที่ราบสูง โคราช โดยผานทางจังหวัด
สระบุรี และแยกออกเปนหลายสายท่ีแมนํ้ามูล ไปยังจังหวัดมหาสารคามทางทิศเหนือไปยังจังหวัด
ลําพูน (คืออาณาจักรหริภุญชัย) โดยผานทางจังหวัดลพบุรี นครสวรรค์และตาก ทางใตมีทางลงไปยัง
แหลมมลายโู ดยผานทางจังหวดั ราชบุรีและเพชรบุรี ทางเหลานี้มาบรรจบกันแถวบริเวณเมอื ง อทู อง
ท่ที ราบไดเชนน้ี เพราะอาศัยโบราณวัตถสุ ถานแบบทวารวดีที่คนพบตามสายทางเดนิ เหลานั้น สวนท่ี
บานโคกไมเดน อําเภอพยุหคีรี จังหวัดนครสวรรค ไดคนพบสถาปตยกรรมแบบแปลกที่ไมเคยพบมาก
อนในศิลปะแบบทวารวดี คือ สถูปรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส มีกําแพงแกวลอมรอบ เพ่ือก้ันเขตประทักษิณ45
จากประเด็นตาง ๆ ที่กลาวมา ทําใหไดประเด็นที่ตองการศึกษา โดยเฉพาะสมัยทวารวดีไดแก ศึกษา
เรื่องกําเนิดหรือท่ีมา และพัฒนาการของพระพุทธศาสนาสมัยทวารวดี อิทธิพล และรองรอยของ
พระพุทธศาสนาในสมัยทวารวดี โดยจะทําการศึกษาจากเอกสารขอมูลและจาก หลักฐาน ทาง
โบราณคดี(ศิลปกรรม) และงานวิเคราะหขอมูลที่เก่ียวของ ที่นักวิชาการไดวิเคราะหไว้แลว ในสวน
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาน้ัน จะศึกษาเฉพาะที่ปรากฏในดานสถาปตยกรรมประติมากรรม
เปนหลัก โดยใหนํา้ หนักการศึกษาขอมลู เอกสาร 60 % หลักฐานทางโบราณคดหี รือศลิ ปกรรม 40 %

2) นกั ประวตั ิศาสตร์นกั โบราณคดี

นักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดีหลายท่านได้ให้ความสนใจเก่ียวกับ เมืองโบราณอู่ทอง ที่
ล้อมรอบด้วยคูน้ํา คันดินอย่างท่ีพบโดยท่ัวไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แห่งน้ีมาช้านานแล้ว ดู

44 สุภทั รดศิ ดิศกลุ ,ศ.ม.จ.,พระพุทธรูปรุนเกาในประเทศไทย, โบราณคดี, ปที่ 3 ฉบับที่ 3 (มกราคม-
มีนาคม 2514), หนา 9-12

45 ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยถึง พ.ศ. 2000,( กรุงเทพฯ: บริษัทรุงแสง
การพิมพ จํากัด, 2535), หนา 24-25.

29

เหมือนว่า พระนพิ นธข์ องสมเด็จฯ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ เรอื่ ง รายงานเสดจ็ ตรวจราชการเมอื ง
สพุ รรณบรุ ีและ นิทานโบราณคดี 46 จะเป็นหลักฐานชน้ิ เกา่ แก่ทีส่ ดุ ที่พยายามอธบิ ายถงึ พัฒนาการของ
เมืองอู่ทองอย่างจริงจัง พระองค์ทรงสันนิษฐานว่า อู่ทองคงจะเป็นเมืองขนาดใหญ่มาก่อน มี
พระพุทธรูปและเงินรูปตราสังข์ท่ีเทียบได้กับที่พบท่ี เมืองเก่านครปฐม ที่สําคัญคือ ทรงสันนิษฐานว่า
พระเจ้าอู่ทอง ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาน่าจะเคยครองราชย์ท่ีเมืองอู่ทองมาก่อน ภายใต้การ
ชักชวนของ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์(Goerge Coedès) จึง
ได้เข้ามาดําเนินการสํารวจ และขุดค้นทางโบราณคดีท่ีเมืองอู่ทองเมื่อ พ.ศ.2473 โดยท่านได้ตั้งข้อ
สันนษิ ฐานว่า อู่ทองอาจเคยเปน็ ราชธานีของอาณาจกั รทวารวดีท่ตี ้ังอยูบ่ รเิ วณลุ่มนํา้ เจา้ พระยา47

พ.ศ. 2502 กรมศิลปากรได้จัดสร้าง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง เพื่อรวบรวมเก็บ
รักษาโบราณวัตถุท่ีพบในบริเวณเมืองอู่ทองไว้เป็นการชั่วคราว ปีเดียวกันน้ีเอง ศาตราจารย์ มจ.
สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงนาํ นกั ศึกษา คณะโบราณคดมี หาวิทยาลัยศิลปากร และนักเรียนเตรยี มโบราณคดี
ทําการขุดค้นท่ีเมืองอู่ทอง และทรงให้ความเห็นไว้ว่า ศิลปวัตถุท่ีเมืองดังกล่าวมีต้ังแต่แบบทวารวดี
จนถึงแบบอู่ทอง ในหนังสือเร่ือง The Golden Khersonese ที่ พอล วิทลี่ย์ (Paul Wheatley)
เขียนไว้เมื่อปี พ.ศ. 2504 กล่าวว่ารัฐ “จินหลิน” ที่ในจดหมายเหตุราชวงศ์เหลียง อ้างว่าเป็นรัฐ
สุดท้ายท่ี พระเจ้าฟันมัน แห่งอาณาจักรฟูนัน ปราบลงได้ เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 9 คงจะต้ังอยู่
บริเวณเมืองอู่ทอง เน่ืองจากคําว่า จินหลิน แปลว่า ดินแดนแห่งทอง หรือ สุวรรณภูมิและยังห่างจาก
ฟนู ัน มาทางทิศตะวันตกราว 2,000 ล้ี (ประมาณ 800 กิโลเมตร) ตรงกันกับชื่อในเอกสารจีน เอกสาร
ดังกล่าว ยังระบุอีกด้วยว่า ประชาชนของรัฐจินหลิน นิยมคล้องช้าง และเป็นพื้นท่ีแหล่งแร่เงิน (Paul
Wheatley, 1961.) 48

ช่วงระยะ พ.ศ. 2504-2509 กรมศิลปากร ได้มอบหมายให้ว่าท่ี ร.ต. สมศักด์ิ รัตนกุล
ดําเนินการขุดค้น และขุดแต่งทางโบราณคดีภายในเมืองโบราณอู่ทอง เฉพาะช่วงระหว่าง ปี พ.ศ.
2507-2509 กรมศิลปากร ได้เชิญ ศาสตราจารย์ฌอง บวสเซอลีเย่ร์ (Jean Boisselier) ให้เป็นท่ี
ปรกึ ษา และคอยให้คําแนะนาํ ระหวา่ งทีม่ ีการดําเนนิ การทางโบราณคดีดังกลา่ ว49

ปี พ.ศ. 2508 ศาสตราจารย์บวสเซอลีเย่ร์ ได้เขียนบทความเรื่อง U-thong et
sonimportance pour l’histoire de Thailande โดยท่านได้สันนิษฐานว่า อู่ทองมีร่องรอยมา
ต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์และอยู่ต่อเน่ืองไม่ขาดตอนมาจนถึงช่วงพุทธศตวรรษท่ี 17-18 จึงค่อย
ร้างไปอย่างกะทันหัน อาจเป็นด้วยภัยธรรมชาติหรือสาเหตุอื่นในช่วงปลายพุทธศตวรรษท่ี 19 ได้มี

46 สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ. นทิ านโบราณคดี, (กรุงเทพฯ:สํานกั งานเสรมิ สรา้ งเอกลกั ษณ์
ของชาติ, 2544),หนา้ 544.

47 ยอร์ช เซเดส์. ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ถึง พ.ศ. 2000, มจ. สุภัทรดิศ (แปล). กรุงเทพฯ :
สมาคมประวัตศิ าสตร์ในพระราชูปถัมภ์สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2549.

48 Paul Wheatley. The Golden Khersonese. Kuala Lumpur: The Malaya University
Press,1961.

49 กรมศิลปากร. รายงานการสํารวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถานเมืองเก่าอู่ทอง,อําเภออู่ทอง
จงั หวดั สพุ รรณบุร.ี พระนคร : ศวิ พร, 2509.

30

การสร้างเมืองใหม่ท่ีสุพรรณบุรีเมืองอู่ทอง ค่อยถูกรวมเข้ากับเมืองสุพรรณบุรีด้วย ศาสตราจารย์
บวสเซอลีเย่ร์ ยังสันนิษฐานอีกด้วยว่า อู่ทอง อาจเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรฟูนัน เพราะพบ
ศิลปวัตถุรุ่นเดียวกับฟูนันโดยเฉพาะลูกปัดเป็นจํานวนมาก โดยอาจเป็นศูนย์กลางทางผ่านของ
วัฒนธรรมอินเดีย ไปยังเมืองออกแก้ว นอกจากนี้ ท่านยังสนับสนุนแนวคิดเรื่องพระเจ้าอู่ทองมาจาก
เมืองอู่ทอง ของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ โดยอ้างว่า ผลการขุดแต่งเจดีย์หมายเลข 1
พบว่า สร้างในสมัยทวารวดีแล้วมีการบูรณะในสมัยอยุธยา จึงเป็นไปได้ว่า เชื้อสายของพระเจ้าอู่ทอง
อาจเคยอยูท่ ีน่ ีม่ าก่อน50

ระหว่างช่วง พ.ศ. 2508-2510 นี้ดูจะมีการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการจัดการความรู้เรื่อง
เมืองอู่ทอง และบริเวณโดยรอบมากเป็นพิเศษ ช่วงเวลาท่ีว่ายังมีการขุดค้นทางโบราณคดีโดย วัตสัน
(W.Watson) กับลอฟส์ (H.E. Loffs) ท่ีบ้านท่ามว่ ง เขตเมอื งเก่าอู่ทอง พบหลกั ฐานมากมายซ่ึงทง้ั สอง
ท่านอธิบายว่า พนื้ ที่บริเวณนี้มีชุมชนอยู่แล้วตง้ั แต่สมัยหินใหม่เร่ือยมาจนถึงสมัยเหล็ก การเข้ามาของ
วัฒนธรรมฟูนัน ไม่ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในบริเวณน้ีมากนัก ทั้งสองท่านเรียกวัฒนธรรม
บริเวณนี้ว่า Early Mon หรือ Proto Mon โดยมีอาณาเขตตั้งแต่ตอนล่างของประเทศพม่ามาถึง
ประเทศไทยและอินโดจนี ตอนใต้51

พ.ศ. 2509 ศาสตราจารย์ชิน อยู่ดีทําการค้นคว้าเร่ืองก่อนประวัติศาสตร์บริเวณเมืองอู่
ทอง โดยท่านได้ตั้งขอ้ สงั เกตวา่ พ้ืนที่บริเวณน้ีพบขวานหนิ ขัดแบบมีบ่ามากกว่าพ้ืนท่ีอื่นๆของประเทศ
แสดงว่า เม่อื ราว3,000 ปีท่ีแลว้ มคี นยุคหนิ ใหม่อยู่ในบริเวณเมืองอู่ทองแล้ว และน่าจะอยตู่ ่อเนื่องมา
จนถึงยุคสําริด และยุคเหล็ก เพราะพบลูกปัดหลายลูกคล้ายของในยุคสํารดิ และยุคเหล็ก ที่ลพบุรี 52
วนั ท่ี 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรชั กาลปัจจุบัน เสด็จเป็นองค์ประธาน
ในพิธเี ปิด พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติอ่ทู อง อย่างเปน็ ทางการ

พ.ศ. 2510 ธนิต อยู่โพธิ์ อธิบดีกรมศิลปากรในขณะน้ัน แสดงความเห็นในหนังสือชื่อ
สุวัณณภมู ิว่าอู่ทองน่าจะเป็นเมืองหลวงของแคว้นสุวรรณภูมิ53 เช่นเดยี วกับข้อคิดเห็นทํานองเดียวกัน
ของ มานิต วลั ลิโภดม ในหนังสอื โบราณคดีและประวตั ิศาสตรเ์ มืองสุพรรณบุรีท่ีตรวจสอบเส้นรุ้งเส้น
แวงของเมืองที่คาดว่าจะเปน็ เมืองหลวงของ สุวรรณภูมิจากจดหมายเหตุต่างๆ พบว่า น่าจะอยบู่ ริเวณ
เมืองอ่ทู อง54

พ.ศ. 2518 มานิต วัลลโิ ภดม เขียนบทความเรอื่ ง สวุ รรณภูมิอยู่ทไ่ี หน ลงในวารสารเมือง
โบราณ โดยอ้างว่าเมืองอู่ทองร้างไปก่อนพ.ศ. 1700 เห็นได้จากโบราณวัตถุท้ังหมดนี้อาจเกิดจากการ
ท่ีแม่น้ําท่าจีนเปลี่ยนเส้นทางนํ้าทําให้ลําน้ําจระเข้สามพันตื้นเขินลง ตลอดท้ังเส้นลํานํ้าเก่าที่ว่าพบ

50 บวสเซอลเี ย่, ฌอง. ความรใู้ หม่ทางโบราณคดีจากเมอื งอู่ทอง.,(พระนคร : กรมศิลปากร, 2511).
51 สุภมาศ ดวงสกุล,บรรพชนรุ่นแรก ย่านด่านช้าง สุพรรณบุรี,” เอกสารประกอบการเสวนาทาง
วชิ าการเร่ือง “อ่ทู อง.ต้นสายและปลายทาง” วันที่ 17 กันยายน 2556 ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง,2556,
52 ชิน อยดู่ .ี สมยั กอ่ นประวัติศาสตรใ์ นประเทสไทย,. (พระนคร : กรมศลิ ปากร, 2513),.
53 ธนติ อยู่โพธิ์,สวุ ัณณภูมิ,กรุงเทพฯ:กรมศลิ ปากร, 2510).
54 ศรีศักร วัลลโิ ภดม, ประวตั ศิ าสตร์โบราณคดี : เมอื งอทู่ อง,. (กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ, 2549).

31

โบราณวัตถุและลูกปัด จํานวนมาก ซึ่งท่านลงความเห็นว่า เก่ากว่าที่นครปฐม ท่านยังสรุปไว้ด้วยว่า
อทู่ อง กค็ ือ จินหลนิ และสุวรรณภูมิในบันทึกของจีน และอินเดยี ตามลําดับ

พ.ศ. 2525 รองศาสตราจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม เขียนหนังสือเรื่อง โบราณคดีไทยใน
ทศวรรษทผี่ า่ นมา ท่านมีสรุปประเด็นเกยี่ วกับเมืองอูท่ องไวว้ ่า ชุมชนบรเิ วณเมอื งอู่ทองมีพัฒนาการมา
จากชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยทวารวดีท่ีมีการติดต่อสัมพันธ์กับชุมชนภายนอก ทั้งทาง
บกทางเรือ โดยคงเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมระหว่างช่วงพุทธศตวรรษท่ี 8 -12
หลังจากนัน้ จงึ ค่อยลดบทบาทเปน็ เมอื งรองจากนครปฐม ก่อนท่จี ะรา้ งไปในช่วงพุทธศตวรรษที่ 17 55

พ.ศ. 2530 รองศาสตราจารย์ดร.สืบแสง พรหมบุญ และคณะ ได้ทาํ การวิจัยเรื่อง การ
ศึกษาวิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นลุ่มแม่น้ําจระเข้สามพัน โดยใช้วิธีการศึกษาทั้งทางประวัติศาสตร์
โบราณคดแี ละมานษุ ยวิทยา ถือเปน็ การขยายพ้นื ทศ่ี ึกษาจากเมืองอทู่ อง ไปยังบรเิ วณใกลเ้ คยี งผล

การศึกษาพบว่า ชุมชนโบราณบริเวณลุ่มนํ้าจระเข้สามพันมีอายุตั้งแต่ 3,000-2,500 ปี
มาแล้ว ต้ังแต่ยุคหินใหม่เร่ือยมาถึงสมัยทวารวดีเป็นแหล่งชุมชนโบราณที่สืบทอดความเจริญมาจาก
ชุมชนหมู่บ้านก่อนประวัติศาสตร์มาสู่เมืองสมัยประวัติศาสตร์เพราะตั้งอยู่บนเส้นทางการค้าโลก
โบราณระหว่างจีน-อินเดีย ซึ่งเป็นเส้นทางจากอ่าวเบงกอล มาขึ้นบกท่ี เมาะตะมะ ผ่านมะริดทวาย
เข้าไทยที่ด่านเจดีย์สามองค์ผ่านชุมชนโบราณลุ่มแม่น้ําแม่กลอง มายังลํานํ้าจระเข้สามพัน แล้วออกสู่
อ่าวไทยทแ่ี มน่ ํ้านครไชยศรี

ดังกล่าวยังอ้างว่า ถนนท้าวอู่ทอง สามารถเช่ือมต่อกับเมืองโบราณสมัยใหม่ยุคทวารวดี
เช่น คูบัว ราชบุรีกาญจนบุรีนอกจากน้ีลําน้ําจระเข้สามพันยังเชื่อมต่อกับแม่นํ้าสุพรรณ และเชื่อมต่อ
กับกาญจนบุรีนครปฐม และชัยนาท ด้วยลําน้ํามะขามเฒ่า การติดต่อทั้งภายใน ภายนอกการรับ
วัฒนธรรมอินเดียเข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยเฉพาะความเช่ือพุทธ-พราหมณ์ทําให้
ชมุ ชนแหง่ น้ีพัฒนาข้ึนเปน็ เมือง

เมืองอู่ทองจึงเติบโตข้ึนภายใต้วัฒนธรรมฟูนันและทวารวดีช่วงพุทธศตวรรษท่ี 7-17 โดย
ถ้าไม่ใช่ราชธานีก็น่าจะมีฐานะเป็นเมืองสําคัญของทวารวดีการเปล่ียนเส้นทางการค้าทางบกจากจีน -
อินเดียหันไปใช้เส้นทางใต้เขตนครศรีธรรมราชทําให้เมืองอู่ทองซบเซาลงจนร้างไปในท่ี สุดก่อนที่
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 จะสถาปนาอยุธยาถึง 200 ปีเป็นการลบล้างข้อสันนิษฐานเดิมท่ีว่าพระเจ้า
อทู่ องมาจากเมืองอู่ทองอย่างไรกต็ ามชมุ ชนแห่งน้ีก็ไมไ่ ด้ร้างไปเสียทีเดียวแต่ยังดํารงฐานะเป็นหมูบ่ ้าน
มีผู้คนอาศัยสืบทอดวัฒนธรรมต่อกันมาเห็นได้จากคําบอกเล่าประวัติชุมชนในหมู่บ้านในรูปตํานาน
หรือนทิ านพนื้ บา้ น

พ.ศ. 2530 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทิวา ศุภจรรยา เสนอบทความเร่ือง สภาพภูมิประเทศ
แหล่งท่ีต้ังชุมชนโบราณในจังหวัดสุพรรณบุรีโดยศึกษาจากข้อมูลทางโบราณคดีและภาพถ่ายทาง
อากาศพบว่า การเปล่ียนแปลงของชายฝั่งทะเลส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของคลอง ในการติดต่อกับ
ภายนอกฝั่งทะเลของอู่ทอง และพบร่องรอยของความพยายามของคนอู่ทอง สมัยทวารวดีต่อการ
แกป้ ัญหาทเี่ ป็นผลมาจากการถอยตัวของนาํ้ ทะเล

55 ศรีศกั ร วลั ลิโภดม. โบราณคดีไทยในทศวรรษที่ผา่ นมา, (กรงุ เทพฯ : เมอื งโบราณ, 2525).

32

พ.ศ. 2532 ศาสตราจารย์ธิดา สาระยา กล่าวถึงอู่ทองในหนังสือ (ศรี) ทวารวดี
ประวัติศาสตร์ยุคต้นของสยามประเทศ ไว้ว่า อู่ทอง เป็นชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์มาตั้งแต่พุทธ
ศตวรรษที่ 7 ร่วมสมัยกับ ดอนตาเพชร จันเสน ออกแก้ว และฟูนัน ต่อมาชุมชนเหล่าน้ีพัฒนาเป็น
เมอื งทา่ ชายฝั่งใน

ยคุ ท่ี รัฐฟนู นั ร่งุ เรืองราวพุทธศตวรรษท่ี 8 จนค่อยๆพัฒนากลายเป็น รัฐทวารวดีเม่ือพทุ ธ
ศตวรรษที่6 12 คติกษัตริย์แบบฮินดูทําให้อู่ทองเจริญข้ึนสูงสุดในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 12-13 และ
ลดลงมาจากนั้น เม่ือ นครปฐม ขึ้นมาแทนที่แต่เมือง อู่ทอง-นครปฐม-คูบัว กม็ ีเครือข่ายสัมพันธ์กันใน
รัฐทวารวดีและขยายอํานาจออกไปสัมพันธ์กับรัฐชายขอบอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งละโว้ทางทิศ
ตะวันออก ด้วยรูปแบบลปวฒั นธรรมทวารวดีร่วมกัน ทั้งทางด้านศาสนา และแนวคิดเก่ียวกับกษัตริย์
แต่ในทางการเมืองแลว้ เปน็ อิสระตอ่ กนั 56

พ.ศ. 2540 กรมศิลปากร ได้ดําเนินการสํารวจขุดแต่งและขุดค้นโบราณสถาน คอกช้าง
ดินบริเวณเชิงเขาคอก ทางดา้ นทิศตะวันตกเฉยี งเหนือของเมืองอู่ทอง ได้ผลสรุปว่า โบราณสถานแห่ง
นไี้ ม่ใช่คอกขังชา้ งโบราณอย่างท่ีเข้าใจ มาแต่เดิม แต่เป็นเขื่อนสาํ หรบั กักน้ํามากกว่า โดยพื้นท่ีบรเิ วณ
นีค้ งเป็นสถานทศี่ ักด์สิ ทิ ธใ์ิ นศาสนาพราหมณ์

พ.ศ. 2541 กรมศิลปากรร่วมกบั ภาควชิ าโบราณคดีคณะโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
ดําเนินการขุดค้นภายในเมืองอู่ทอง บริเวณหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง ได้ข้อสรุปว่า พ้ืนท่ี
บริเวณนี้น่าจะถูกใช้เป็นท่ีอยู่อาศัยอยา่ งหนาแน่นเม่อื ราว 1,700-1,500 ปมี าแล้ว โดยเป็นไปได้วา่ อาจ
มกี ารใช้พนื้ มานอนนัน้ แตค่ งไมเ่ กา่ ไปกวา่ 1,900 ปมี าแล้ว

พ.ศ. 2542 ศาสตราจารย์ดร. ผาสุข อินทราวุธ กล่าวถึงอู่ทองในหนังสือ ทวารวดี
การศึกษาวิเคราะห์จากหลักฐานโบราณคดีว่า อู่ทองเป็นชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์มี
รอ่ งรอยการติดต่อกับอินเดียมาตงั้ แต่ชว่ งพทุ ธศตวรรษที่ 3-5 ตอ่ มาอู่ทองกลายเป็นเมอื งท่าสาํ คญั ของ
รัฐทวารวดแี ละเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดของทวารวดี มีหลักฐานว่าอิทธิพลพุทธศาสนา
มหายาน ทม่ี ศี นู ยก์ ลางอยู่ในรัฐศรวี ิชยั ได้แผ่เขา้ มายงั เมอื งอ่ทู องระหวา่ งพุทธศตวรรษท่ี 14-16 ด้วย

ประเดน็ ท่ีนา่ สนใจท่ีสดุ ประการหนึ่งในงานวิจัยชิน้ ดังกล่าวก็คือ การที่ศาสตราจารย์ผาสุข
อ้างว่า อู่ทองเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาท่ีเก่าแก่ที่สุดในวัฒนธรรมทวารวดี เม่ือพิจารณาจาก
ข้อมูลท้ังหลายแล้วกจ็ ะเห็นได้วา่ พุทธศาสนาท่ีว่าคงเกี่ยวข้องกับพทุ ธศาสนาแบบเถรวาท จากอินเดีย
ใต้และลังกา เพราะโดยทั่วไปแล้วนักวิชาการมักจะจําแนกวฒั นธรรมทวารวดีให้ต่างไปจากวัฒนธรรม
รอบข้าง ด้วยวตั ถุสถานเน่ืองในศาสนาพุทธเถรวาทเปน็ สําคัญ 57

56 ธิดา สาระยา. (ศรี), ทวารวดีประวัติศาสตร์ยุคต้นของสยามประเทศ,. (กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ,
2532).

57 ผาสุข อินทราวุธ. ทวารวดีการศึกษาวิเคราะห์จากหลักฐานโบราณคดี,. กรุงเทพฯ : อักษรสมัย,
2542.

33

ลักษณะเช่นนี้ชวนให้คิดไปได้ว่า “อู่ทอง” ซึ่งมีความหมายใกล้เคียงกับคําว่า “สุวรรณ
ภูมิ”ดินแดนท่ีพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งชมพูทวีป ที่มีอายุอยู่ในช่วงราว พ.ศ. 200-300 ได้ส่งพระ
สมณฑูต อุตตรเถระ และโสณเถระ มาเผยแพร่พระพุทธศาสนาอย่างเถรวาท อย่างไรก็ตาม ยังไม่เคย
พบ หลักฐานเก่ียวกับพระพุทธศาสนา ไม่ว่าจะนิกายใดก็ตาม ในช่วงเวลาดังกล่าวที่อู่ทองหรือบรเิ วณ
ใกล้เคียงเลยอันท่ีจริงแล้ว หลักฐานเก่ียวกับการส่งสมณฑูตมายังสุวรรณภูมิดังกล่าว ก็ไม่เคยปรากฏ
หลักฐานอยู่ในจารึกของพระเจ้าอโศกเลย ผิดจากหลักฐานการส่งสมณฑูตไปยังดินแดนอื่นๆท่ีมีจารึก
ของพระองค์ระบุไวอ้ ยา่ งชัดเจน

ห ลักฐาน เก่าแก่ท่ีสุ ดเกี่ยวกับการท่ีพระองค์ได้ส่ งสมณ ฑู ตมายั งสุ วรรณ ภูมิระบุอยู่ ใน
มหาวงศ์พงศาวดารลังกา ท่ีมีอายุอ่อนลงมากว่าสมัยพระองค์อีกมาก ความเข้าใจเร่ืองดังกล่าวใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จึงมีรากฐานท่ีสําคัญมาจากการติดต่อสัมพันธ์กับลังกา ซึ่งหมายถึงท้ัง
เครือข่ายของพระพุทธศาสนาเถรวาท และการค้าเสยี มากกว่า อย่างไรก็ดีจากหลกั ฐานต่างที่คน้ พบใน
บริเวณพื้นท่ีเมืองอู่ทอง และปริมณฑลโดยรอบก็ไม่อาจปฏิเสธได้เลยว่า เมืองอู่ทองมีความเกี่ยวเน่ือง
กับวัฒนธรรมแบบทวารวดี ที่มีนัยยะเก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนาเถรวาท โดยหลักฐานทั้งหมด มี
ความต่อเน่ืองมาตั้งแต่สมัยก่อนรับวัฒนธรรมพระพุทธศาสนา จากชมพูทวีป มาจนถึงสมัยที่รับ
วัฒนธรรมเนอื่ งในพทุ ธศาสนาแล้ว

กระบวนการจําแนกยุคสมัยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เก่ียวพันกับการรับวัฒนธรรม
ศาสนาจากอนิ เดีย หรอื ลังกาอย่างแยกกนั ไม่ขาด เพราะตัวอกั ษรทงหลายที่พบอยู่ในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ล้วนแต่พัฒนา และคลี่คลายมาจากอักษรปัลลวะของอินเดียใต้อักษรเหล่าน้ีเข้ามาพร้อมกับ
วัฒนธรรม และเครอื ข่ายทางศาสนาไมว่ า่ จะเป็นพทุ ธหรอื พราหมณ์

ดังนั้น การท่ีเมืองอู่ทองมีหลักฐานต่อเนื่องมาต้ังแต่สมัยก่อนรับวัฒนธรรมศาสนา จนถึง
สมยั ท่ีรับวฒั นธรรมศาสนาแล้ว ซึ้งยังดเู หมือนว่ามกี ษณะเชงิ ชา่ ง ที่เกา่ แกก่ ว่าเมอื งอ่ืนๆ ในวัฒนธรรม
ทวารวดีจึงอาจจะกล่าวได้ว่า เมืองอู่ทองเป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา อย่างเถรวาท ที่เก่าแก่
ที่สุด ในวัฒนธรรมทวารวดีได้แม้ว่าจะไม่ได้เกี่ยวพันกับเรื่องการเผยแพรพ่ ระพุทธศาสนาของพระเจ้า
อโศก ที่มีอายุเก่ากว่าหลักฐานเนื่องในพุทธศาสนาในเมืองอู่ทอง ราว 700ปีเลยก็ตาม ลักษณะเช่นน้ี
คงเก่ยี วเนอ่ื งกับการท่เี มอื งอ่ทู อง มีฐานะเป็นสถานกี ารคา้ ท่สี าํ คญั มาแต่ด้ังเดมิ

พ.ศ. 2552 รองศาสตราจารย์สุรพล นาถะพินธแุ ละศิริพจน์เหล่ามานะเจริญ จากคณะ
โบราณคดี ม.ศิลปากร ได้รบั ทุนสนบั สนุนการทาํ วิจัยเรื่อง ประวัตวิ ัฒนธรรมลุ่มนํา้ ทวน-จระเข้สามพัน
รายงานการสํารวจข้อมูลวัฒนธรรมสมัยโบราณในลุ่มนํ้าทวน (จ.กาญจนบุรี)-จระเข้สามพัน
(จ.สพุ รรณบุรี) จากบริษัท มติชน จํากัด ได้ผลสรปุ ท่ีสําคัญ 4 ประการคือ58 (สุรพล นาถะพินธุและศิริ
พจนเ์ หล่ามานะเจริญ, 2552.)

1) พ้ืนท่ีบริเวณดังกล่าวมีประวัติการอยู่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่ช่วงยุคก่อน
ประวัติศาสตร์โดยใช้แมน่ ํ้าเปน็ เสน้ ทางคมนาคมทสี่ ําคัญ และรงุ่ เรืองขน้ึ อย่างมากจนมีเมืองอู่ทอง เป็น
ในชว่ ง 2,300-2,200 ปที แี่ ลว้

58 สรุ พล นาถะพนิ ธแุ ละศริ ิพจนเ์ หลา่ มานะเจรญิ , (2552.)

34

2) อู่ทอง เป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาท่ีเก่าแก่ท่ีสุดในวัฒนธรรมทวารวดีแต่ไม่เก่าแก่ไปถึง
สมยั พระเจ้าอโศก

3) เมืองอู่ทอง ไม่เคยร้างอย่างท่ีเคยเข้าใจกันมา แต่มีขนาดความสําคัญน้อยลงในช่วง
หลงั พ.ศ. 1600 โดยมศี นู ย์กลางความเจรญิ ใหมอ่ ยู่ท่ี เมืองสพุ รรณบุรีและ

4) ไม่มีหลกั ฐานยืนยันไดเ้ ลยว่าพระเจา้ อทู่ องมาจากเมืองอ่ทู อง

โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาถึงการท่ีศูนย์กลางความเจริญได้เคล่ือนย้ายไปอยู่ในบริเวณ เมือง
สพุ รรณบุรีแล้วแม้วา่ จะมีการศกึ ษาเก่ียวกับประวัตศิ าสตรแ์ ละโบราณคดีเมืองอู่ทอง ในช่วงหลัง พ.ศ.
2552 ลงมาอีก แต่ทั้งหมดกเ็ ป็นการศึกษาเฉพาะจุดที่ไม่ได้เน้นถึงการสร้างภาพรวมของพนื้ ทีบ่ ริเวณนี้
จึงอาจกล่าวได้ว่า งานวจิ ัยช้ินดังกล่าวของ รองศาสตราจารย์สุรพล และศิริพจน์เป็นงานวิจัยที่วา่ ด้วย
เร่อื งของประวัติพ้ืนทบ่ี รเิ วณเมืองอู่ทองและปรมิ ณฑลโดยรอบ ชิ้นลา่ สุด

2.4 ลําดบั พฒั นาการวัฒนธรรมเมอื งอ่ทู องและปรมิ ณฑลโดยรอบ

เมืองอู่ทอง เป็นเมืองโบราณที่สําคัญท่ีสุดในลุ่มแม่น้ําแม่กลองแม่นํ้าทวน – แม่น้ําจระเข้
สามพันและแม่นํ้าท่าว้า-แม่น้ําสุพรรณบุรีหรือแม่น้ําท่าจีน ลุ่มแม่นํ้าเหล่านี้สามารถจัดรวมกันเป็น
ระบบลําาหลักะบบหนึ่ง ในภาคกลางของประเทศไทย ท่ีเอื้ออํานวยและรองรับให้ผู้คนสามารถตั้งถิ่น
ฐานอยู่อาศัยมาตั้งแต่กว่า 2,000 ปีมาแล้ว เป็นอย่างน้อย ชุมชนโบราณบางชุมชน ในระบบ ลํานํ้า
หลักน้ีดํารงสังคมและวัฒนธรรม อยู่สืบเนื่องต่อกัน เป็นเวลานาน อีกท้ังชุมชนบางแห่ง ยังได้พัฒนา
สังคมวัฒนธรรม จนกลายเป็นศูนย์กลาง ท่ีสําคัญในเครือข่าย ของการติดต่อแลกเปล่ียนผลผลิตท่ี
ครอบคลุมพื้นท่ี ที่อยู่ห่างไกลกันมาก ต้ังแต่พ้ืนท่ี ในอนุทวีปอินเดีย มาจนจรดพ้ืนท่ีเอเชียตะวันออก
เฉียงใตแ้ ละทะเลจนี จึงนบั ได้ว่า “อทู่ อง” เปน็ ตวั อย่างทโี่ ดดเด่นทีส่ ดุ ของชุมชนโบราณดงั กลา่ ว

โบราณวัตถุ โบราณสถานและร่องรอย กิจกรรมต่างๆ ของคนสมัยโบราณ ที่พบท่ีเมือง
อู่ทอง ช้ีให้เห็นว่า ประชากรของชุมชนโบราณแห่งน้ี มีวิถีชีวิตท่ีใกล้ชิด กับแม่น้ําสายใหญ่ และพ่ึงพิง
แมน่ ้ําทั้งหมด เพ่อื ในการดํารง และการพัฒนาสังคม-วฒั นธรรม ประชากรโบราณ ดังกลา่ ว ได้ประสบ
ความสําเร็จอย่างมาก จนชุมชนได้พัฒนา เป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม และทางเศรษฐกิจ ที่สําคัญ
แห่งหนึ่งของภูมิภาค “สุวรรณภูมิ”มีงานศึกษาทางวิชาการ ธรณีวิทยา บ่งช้ีว่า เม่ือประมาณไม่น้อย
กว่า 6,000 ปี มาแล้ว พื้นที่แถบนี้ส่วนใหญ่ เป็นพ้ืนที่ใกล้ชายฝั่งทะเล เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของ
ภาคกลางตอนล่าง ของประเทศไทยปจั จุบัน

นักธรณีวิทยาไทยบางท่านได้ศึกษาค้นคว้าประวัติความเป็นมาของพ้ืนท่ีราบภาคกลาง
ตอนลา่ งไว้ผลของการศึกษา ดังกล่าวแสดงให้เหน็ ว่า เมื่อประมาณ 6,000 ปีมาแล้วนั้น ระดับน้ําทะเล
ในอ่าวไทยสูงกว่าปัจจุบันประมาณ 3.5 – 4 เมตร59 พ้ืนที่ตอนล่างของที่ราบลุ่มเจ้าพระยา หรือต้ังแต่
ราวตอนใต้ของจังหวัดลพบุรี สมัยปัจจุบันลงมา เป็นพื้นท่ีท่ีเป็นทะเล หรือชะวากทะเล เป็นส่วนใหญ่
รอบแนวอ่าวไทยโบราณ เม่ือครั้ง นั้นมีป่าชายเลนกระจายอยู่ทั่วไป และมีทางน้ําธรรมชาติสายใหญ่

59 Somboon Jarupongsakul, Geomorphology of the Chao Phraya Delta, Thailand.
1990, 63.

35

หลายสาย ท่ีระบายลงสู่อ่าวไทยโบราณ ได้แก่ แม่นํ้าสุพรรณบุรี หรือแม่น้ําท่าจีน ซึ่ง เป็นแม่น้ําใหญ่
สําคัญมาก ในช่วงเวลาน้ัน ไหลลงสู่อ่าวไทยโบราณ ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ แม่น้ําพรีและแม่น้ํา
น้อย ซ่ึงก็คือ แม่น้ําเจ้าพระยา สมัยโบราณ ไหลลงสู่อ่าวไทยท่ีบริเวณตรงกลางของขอบอ่าว ด้านทิศ
เหนือ แม่นาํ้ ป่าสกั ไหลลงสอู่ ่าวไทยโบราณทางด้านตะวนั ออกเฉียงเหนือ แมน่ ้ําแม่กลอง ไหลลงสู่อ่าว
ไทยโบราณทางด้านทิศตะวันตก บริเวณใกล้เมืองนครปฐม นอกจากนี้ ยังมีแม่นํ้าสายย่อย
ประกอบดว้ ย แม่นํ้านครนายก และแม่นํา้ ปราจีนบรุ ี ไหลลงสู่อ่าวไทยโบราณทางด้านทศิ ตะวนั ออก

นักธรณีวิทยาไทยยังพบว่า ในช่วงเวลาระหว่างราว 6,000 – 3,000 ปีมาแล้ว เกิดการ
เปล่ียนแปลงของระดับน้ําทะเลของโลก รวมทั้งในอ่าวไทยสมัยโบราณ ครั้งย่อยๆ ขึ้นหลายคร้ัง โดย
ในช่วงเวลาระหว่าง 6000 – 5,000 ปี มาแล้วระดับ นํ้าทะเลซึ่งสูงกว่าระดับนํ้าทะเลสมัยปัจจุบัน
ประมาณ 3.5 –4 เมตร คอ่ ยๆ ลดลง จึงทําให้ขอบของอ่าวไทย ขยายลงไปทางใต้ และปรากฏแผน่ ดิน
ใหม่ พร้อมทง้ั ป่าชายเลนริมฝ่ังทะเล เพิ่มขึ้นเร่ือยๆ ในทางใตข้ องทรี่ าบลุ่มแมน่ ํ้าเจ้าพระยา แล้วต่อมา
ระดับนํ้าทะเล กลับเพ่ิมข้ึนทําให้แผ่นดินชายฝั่งทะเล และป่าชายเลนที่เกิดขึ้นในช่วงท่ีระดับน้ําทะเล
ลด กลับกลายเป็นพ้ืนท่ีใต้ทะเล ลักษณะการเพิ่มและลดระดับนํ้าทะเลเช่นนี้ เกิดอยู่หลายครั้ง
เป็นวัฏจักร ในช่วงเวลานับพันๆ ปี ก่อนเกิดการเปลี่ยนแปลงใหญ่ อีกคร้งั ในช่วงราว 3,000 ปีมาแล้ว
โดยเป็นเวลาที่ระดับนา้ํ ทะเล ทรงตัว อยู่ที่ระดับระดับสูงกว่าระดับนํ้าทะเล สมัยปัจจุบัน ประมาณ 1
- 2 เมตร

พื้ น ที่ ตอน ใต้ของภ าคกลางตอน ล่าง อย่างน้ อยตั้งแต่ราวพ้ื น ที่ ของ จังห วัด
พระนครศรอี ยุธยา,ปทุมธานีและนนทบุรี ลงมา จึงยังคงเป็นทะเลอยู่อีก ช่วงระยะเวลาหนึ่ง หลังจาก
น้ันระดับนํ้าทะเลจึงค่อยๆลดลงอีกครั้ง ขอบของอ่าวไทยและปากแม่น้ําสําคัญสายต่างๆ ขยายต่อลง
ไปทางใต้พร้อมท้ังปรากฏแผ่นดินทร่ี าบลุม่ ใหม่ และป่าชายเลนรมิ ฝ่ังทะเลเพิ่มข้ึนเรือ่ ยๆ ในช่วงเวลาท่ี
ระดับนํ้าทะเลกลับเพิ่มขึ้นครั้งย่อยๆ ในช่วงระหว่าง 5,000 – 3,000 ปีมาแล้ว และช่วงที่ระดับ น้ํา
ทะเลทรงตัวอยู่ที่ระดับสูงกว่าระดับนํ้าทะเลปัจจุบัน ประมาณ 1 – 2เมตร ในช่วงหลังจาก 3,000 ปี
มาแล้ว จนถึงประมาณ 1,000 ปีมาแล้วนั้น ได้ทําให้ทางน้ําบางสาย ในบางพ้ืนที่ ของภาคกลาง
ตอนล่าง เปล่ียนทางเดิน หรือในบางพืน้ ท่ี ไดท้ ําใหน้ ้ําในบางตอนของแมน่ ํ้าสายหลกั เอ่อล้น ลงสพู่ น้ื ท่ี
ตา่ งข้างตลิง่ ซง่ึ ก่อให้เกิดทางน้ํา สาขาสายใหม่ขึ้นมา

36

ภาพที่ 2.1 แผนท่ีแสดงแนวชายฝั่งทะเลของอ่าวไทยสมัยโบราณเมื่อระหว่าง 6,000 – 3,000 ปี

มาแล้ว(ดัดแปลงจาก Geomorphology of the Chao Phraya Delta, Thailand, P. 63)

อาจเป็นไปได้ว่า แม่นํ้าทวน – จระเข้สามพัน เกิดขึ้นเน่ืองจากกระบวนการเปล่ียนแปลง
ทางธรรมชาติดงั กลา่ วข้างต้น ในชว่ งเวลาประมาณ 3,000 ปมี าแล้ว

ต่อมาเม่ือประมาณ 1,000 - 800 ปีมาแล้ว อ่าวไทยจึงมีระดับนํ้าทะเลแบบท่ีปรากฏใน
ปัจจุบัน ลักษณะภูมิศาสตร์ของท่ีราบภาคกลางตอนล่าง แบบที่ใกล้เคียงกับท่ีปรากฏในปัจจุบัน จึง
เรมิ่ เกิดขึ้นมี ผู้คนเคลอ่ื นย้ายเขา้ มาตั้งถ่ินฐาน และใชป้ ระโยชนพ์ ื้นทรี่ ิมฝงั่ แม่นํ้าและราบลุ่มทีเ่ กิดใหม่
พืน้ ที่ภาคกลางตอนล่างจึงมีการเปล่ียนแปลงมาเร่ือยๆ ท้ังโดยเปลี่ยนแปลงเนือ่ งจากกระบวนการทาง
ธรรมชาติและ กระบวนการทางวัฒนธรรม หรือการกระทําของมนุษย์โดยมีท้ังการเปล่ียนแปลงอย่าง
ค่อยเป็นค่อยไปและการเปล่ียนแปลงมากอย่างฉับพลันทันทีในพ้ืนท่ีส่วนต่างๆของภาคกลางตอนล่าง
ในทีส่ ุดจงึ ส่งผลให้พน้ื ท่ีมลี กั ษณะทางภมู ิศาสตรแ์ บบทเ่ี ห็นในปจั จุบนั นนั่ เอง

มีหลักฐานทางโบราณคดีจํานวนมาก ทั้งท่ีเป็นแหล่งโบราณคดีโบราณสถาน โบราณวัตถุ
และร่องรอยจากการทํากิจกรรมต่างๆของมนุษย์สมัยโบราณ แสดงให้เห็นว่า มีคนเข้ามาต้ังชุมชนใน
พ้ืนท่ีลุ่มแม่น้ําโบราณสายสําคัญสายต่างๆ ที่ระบายลงสู่อ่าวไทยโบราณตามที่กล่าวถึงข้างต้น ต้ังแต่
เม่ือไม่น้อยกว่า 3,000-4,000 ปีมาแล้ว60 หลักฐานทางโบราณคดีดังกล่าว ได้พบในพื้นที่ของหลาย
จงั หวดั ไดแ้ ก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรี จงั หวัดอุทยั ธานี จังหวดั ชัยนาท จงั หวดั สงิ หบ์ รุ ีจงั หวัด
สระบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จงั หวัดสุพรรณบุรี จังหวดั นครปฐม จังหวัดราชบุรี หลังจากนั้น เป็นต้นมา
ก็มีผู้คนต้ังถ่ินฐานอยู่อาศัยในพื้นลุ่มแม่นํ้า เหล่าน้ี มาโดยตลอด รวมท้ัง มีการเปลี่ยนแปลง และ
พัฒนาการทางสังคม และวัฒนธรรม เกิดขึ้นมากมาย ควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติที่
เกิดข้ึนโดยการทาํ กจิ กรรมต่างๆ ของผคู้ นทีเ่ ขา้ มาตง้ั ถิ่นฐานอยูอ่ าศยั เหล่าน้นั

จะเห็นไดว้ ่า การทําความเชา้ ใจภาพรวมของประวัติพัฒนาการของเมอื งโบราณอู่ทองและ
ปริมณฑลโดยรอบ ไม่สามารถทําได้ด้วยการพิจารณาเฉพาะเพียงบริเวณพื้นท่ีภายในแผนที่ระหว่าง

60 สุรพล นาถะพินธุและศิริพจน์ ,เหลา่ มานะเจริญ, 2552,หน้า.4.

37

อาํ เภออทู่ อง เพียงอย่างเดียว เพราะยังมคี วามเช่ือมโยงไปถงึ พน้ื ทีบ่ รเิ วณใกล้เคียง ท่ีเปน็ เครอื ข่ายทาง
วัฒนธรรม ระหว่างกันผ่านทางเส้นทางคมนาคม คือ แม่น้ํา ท้ังแม่น้ําจระเข้าสามพัน แม่น้ําทวน แม่
น้ําท่าว้า แม่นํ้าท่าจีน การพิจารณาโบราณวัตถุ โบราณสถาน และร่องรอยกิจกรรมของมนุษย์สมัย
อดีต ที่พบท่ีแหล่งโบราณคดีหลายแห่งในพื้นท่ีลุ่มน้ําทวน จระเข้สามพันและแม่นํ้าท่าว้า-แม่น้ํา
สพุ รรณบุรีหรือแม่นํา้ ท่าจนี ทม่ี เี มืองอทู่ องเป็นศนู ยก์ ลาง

2.4.1 บรรพชนรุ่นแรกของกลมุ่ วัฒนธรรมอทู่ อง

ชุมชนแรกเริ่มที่มีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมท่ีมี “อู่ทอง” เป็นเมืองศูนย์กลาง ในยุคถัด
มาส่วนใหญ่ กระจายตัวอยู่ทางตอนบนของพื้นท่ีจังหวัดสุพรรณบุรีปัจจุบัน โดยเฉพาะในเขตพ้ืนท่ี
อ.ด่านช้าง และ อ.หนองหญ้าไซ โดยในขณะนี้ มีรายงานจากกรมศิลปากรว่า พื้นที่บริเวณน้ีมีการ
ค้นพบแหล่งโบราณคดีมากถึง 28 แหล่ง ส่วนใหญ่เป็นแหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในช่วงสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ต้ังแต่ยุคหินใหม่เมื่อราว 4,000-3,000 ปีมาแล้ว หลายแหล่งพบร่องรอยการเข้ามาใช้
พน้ื ท่ี โดยคนในยคุ อยุธยาเมือ่ ราว 500-400 ปีทแ่ี ล้วดว้ ย

แหล่งโบราณคดีเหล่านี้กระจายตัวตั้งแต่เขตพื้นท่ีภูเขาสูงของ อ.ด่านช้าง ไล่ต่อลงมาตาม
พ้ืนที่ลาดเชิงเขา และท่ีราบระหว่างหุบเขา จนถึงท่ีราบฝ่ังตะวันออกของเทือกเขาในเขต อ.ด่านช้าง
และบางส่วนของ อ.หนองหญ้าไซ ส่วนที่ราบในเขต จ.กาญจนบุรี ทางตะวันตกเฉียงใต้ที่มีพรมแดน
ติดต่อกันน้ัน ก็พบแหล่งโบราณคดีเป็นจํานวนมากเช่นกัน โบราณวัตถุท่ีพบจากแหล่งโบราณคดี ใน
เขตพื้นท่ีเหล่าน้ี ทั้งใน จ.สุพรรณบุรีและกาญจนบุรี มีลักษณะร่วมกัน จนกล่าวได้ว่า เป็นกลุ่มคนใน
วัฒนธรรมเดียวกัน ข้อมูลจากการสํารวจโดยกรมศิลปากรสรุปว่า61 พ้ืนที่บริเวณดังกล่าว ได้เริ่มมีคน
เข้ามาอยู่อาศัย ตั้งแต่ในสมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ยุคหินใหม่ ราว 4,000 ปีมาแล้ว เป็นอย่างน้อย ผู้คน
โบราณระยะแรกน้ี ตงั้ บ้านเรอื นอยู่อาศัยตามท่ีราบระหวา่ งเชิงเขา ไมไ่ กลจากลาํ นํ้าย่อย โดยมหี มบู่ ้าน
ขนาดใหญ่อยู่ที่ พุนํ้าร้อน ในขณะเดียวกันก็มีชุมชนขนาดเล็กกระจายอยู่ตามเชิงเขางูและหุบเขาอ่ืนๆ
เพ่ือเสาะแสวงหาวัตถุดิบจําพวกหิน และทํากิจกรรมการผลิตเครื่องมือเครื่องใช้จากหินส่งออกมาให้
ชุมชนข้างเคียงใช้ด้วย ดังได้พบเครื่องมือหินที่ผลิตข้ึนท่ีด่านช้าง แพร่กระจายลงมาที่แหล่งโบราณคดี
หนองหญ้าไซ เป็นตน้ ชา่ งผลิตเครื่องมือหินที่น่ีมกี ารคิดค้นรูปแบบเคร่ืองมือหิน ที่เป็นลักษณะเฉพาะ
ดังเห็นได้จาก“ใบมีดหิน” ซ่ึงพบเฉพาะในลุ่มนํ้ากระเสียวเท่าน้ัน ความนิยมในการใช้เครื่องมือหิน
โดยเฉพาะในเขตด่านช้างคงอยู่มาเนิ่นนาน แม้กระทั่งในช่วงเวลาท่ีพ้ืนที่อ่ืนๆ นิยมใช้เคร่ืองมือที่ผลิต
จากสําริดแล้วก็ตาม นักโบราณคดีกลับแทบไม่พบเครื่องมือเครื่องใช้สําริด ท่ีมีอายุอยู่ในช่วง 3,000-
2,500 ปมี าแล้ว ในบริเวณนี้เลย

ชมุ ชนสมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตรก์ ล่มุ วัฒนธรรมดา่ นช้าง-หนองราชวตั ร และปรมิ ณฑล คงทิ้ง
รา้ งถ่ินเดิมแล้วเคล่ือนยา้ ยลงมาตั้งถนิ่ ฐานในพ้ืนทร่ี าบใกลล้ ําน้าํ กระเสยี วตอนล่าง และแม่นํา้ ท่าว้า-ท่า

61 สุภมาศ ดวงสกุล.บรรพชนรุ่นแรก ย่านด่านช้าง สุพรรณบุรี,” เอกสารประกอบการเสวนาทาง
วิชาการเร่ือง “อู่ทอง ต้นสายและปลายทาง” วันที่ 17 กันยายน 2556 ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง 2556
หน้า 15

38

คอย ในเขต อําเภอดอนเจดีย์ ศรีประจันต์ เมืองสุพรรณและอู่ทอง ในช่วง 2,500 ปีที่แล้วเป็นต้นมา
ซ่ึงตรงกับยคุ เหลก็

ชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย ช่วงยุคเหล็ก ในพ้ืนท่ีบริเวณตอนล่างของจังหวัด
สุพรรณบรุ ปี ัจจุบันน้ีเอง ท่จี ะพฒั นาข้ึนเปน็ บ้านเมอื งสมัยทวารวดีทีม่ ี “อทู่ อง” เป็นศูนย์กลาง

2.4.2 อทู่ องและปริมณฑลในชว่ งยคุ ก่อนประวัตศิ าสตรต์ อนปลาย

การศึกษาทางโบราณคดี พบว่า บริเวณ “อู่ทอง” เป็นชุมชนโบราณมาต้ังแต่ยุคก่อน
ประวตั ิศาสตร์ตอนปลาย รวมท้งั พบว่า มีแหล่งโบราณคดอี ่ืนๆ ท่ีเคยเป็นชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์
ตอนปลายอีกหลายแหล่ง บางแหล่งยังเป็นชุมชนที่ผู้คนอยู่อาศัยต่อมาในสมัยหลังวัฒนธรรมแบบ
ทวารวดอี ีกด้วย ชุมชนโบราณเหล่าน้ี พบกระจายอยู่ริมฝัง่ หรืออยใู่ นปริมณฑลของน้ําทวนจระเข้สาม
พัน ต้ังแต่เขต อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี มาจนถึงเขต อ.ดอนเจดีย์และ อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรีแต่โดย
พบมากทส่ี ุดในเขตพ้นื ที่ อ.อ่ทู อง

ชุมชนสมัยโบราณเหล่าน้ีต้ังอยู่ในบริเวณท่ีมีทางนํ้าไหลผ่าน หรือในบริเวณที่สามารถ
เข้าถึงลําน้ําต่างๆ ได้สะดวก ทางนํ้าเหล่าน้ันสามารถใช้เป็นเส้นทางคมนาคมเชื่อมต่อกับแม่น้ําสาย
หลัก เช่น แมน่ ้ําท่าว้า ทม่ี าบรรจบกบั แม่นํ้าจระเข้สามพัน หรือแมน่ ้ําทวน ท่ีเชื่อมไปยังลาํ น้าํ แม่กลอง
ได้ลักษณะการเลือกทําเลที่ต้ังชุมชนเช่นน้ี อาจชี้ให้เห็นถึงความสําคัญของแม่น้ําสายหลัก คือ แม่นํ้า
จระเข้สามพัน และแม่นํ้าทวน ที่สามารถใช้ได้ท้ังเป็นเส้นทางคมนาคมเข้าสู่พื้นที่ ท่ีอยู่ลึกเข้าไป
แผ่นดินหรือออกไปยังแม่น้ําแม่กลองและแม่น้ําสุพรรณบุรที ี่ไหลลงสู่ทะเลได้ จึงสามารถเอื้ออํานวยให้
ชุมชนเหลา่ น้ี เข้าถงึ เครือขา่ ยของการแลกเปลี่ยนคา้ ขายระยะทางไกล

แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรีเป็นตัวอย่างหนึ่งของชุมชน
สําคัญในลุ่มนํ้าทวนเมื่อราว 2,200-2,300 ปีมาแล้ว และสัมพันธ์กับเครือข่ายแลกเปลี่ยนค้าขาย
ระหว่างชุมชนท่ีอยู่ห่างไกลกัน การขุดค้นทางโบราณคดีท่ีแหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร ได้พบ
พื้นที่สุสานของคนยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย ที่มีประเพณีการปลงศพ โดยฝังส่ิงของเคร่ืองใช้
และเครื่องประดับอุทิศให้ผู้เสียชีวิต ด้วยวัตถุท่ีอุทิศให้ผู้ตายจํานวนหนึ่ง เป็นสิ่งของที่มีมูลค่าท่ีผลิต
จากพื้นท่ีต่างถิ่นท่ีอยู่ห่างไกลมากจากพื้นที่ลุ่มนํ้าทวน–จระเข้สามพัน เช่น ลูกปัดท่ีทําจากหินโมรา
หรือหินอะเกต และหินโมกุล หรือหินคาร์เนเลียน ซ่ึงผลิตในอินเดีย เครื่องประดับศีรษะรูปไก่ยืนบน
สุ่มทําด้วยโลหะสําริด อาจเป็นส่ิงของท่ีผลิตจากพื้นท่ีทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ปัจจุบัน
และต่างหูรูปสัตว์สองหัว ซ่ึงอาจผลิตจากแถบชายทะเลตอนกลางของเวียดนาม หรืออาจผลิตจาก
เกาะไต้หวัน ท้ังหมดน้ีเป็นตัวอย่างของวัตถุมีมูลค่าที่มาจากพ้ืนท่ีห่างไกลมาก ซ่ึงได้พบท่ีบ้านดอนตา
เพชรและยังเป็นพยานหลักฐานท่ีสะท้อนว่า ชุมชนโบราณท่ีบ้านดอนตาเพชร และอาจรวมทั้งชุมชน
อ่ืนๆท่ีร่วมสมัยกันในพื้นที่ลุ่มนํ้านี้ สัมพันธ์อยู่กับเครือข่ายของการแลกเปลี่ยนค้าขายระยะทางไกล
เช่ือมระหวา่ งซีกโลกตะวันตกและตะวนั ออก ที่ได้มีข้นึ มาแล้วตัง้ แต่ช่วงศตวรรษต้นๆของพุทธกาล

นอกเหนือจากชุมชนสมยั โบราณท่ีบ้านดอนตาเพชรแล้ว ยังมีหลกั ฐานทางโบราณคดีทพี่ บ
ทีแ่ หล่งโบราณคดีอีกหลายแหล่ง ทีช่ ี้วา่ ในช่วงเวลาระหวา่ ง 2,300-1,500 ปมี าแลว้ นั้น ชุมชนในพ้ืนท่ี
ภาคกลางประเทศไทยปัจจุบัน ได้พัฒนาความผูกพันกับเครือข่ายติดต่อแลกเปลี่ยนค้าขาย ระหว่าง

39

ชุมชนที่อยู่ห่างไกลมากขึ้น วตั ถุจากต่างถ่ินที่พบมากในแหล่งโบราณคดียุคกอ่ นประวัติศาสตร์ของช่วง
ระยะเวลาน้ีไดแ้ ก่ ลูกปัด ท้งั ท่ีทาํ จากแกว้ และท่ที ําจาก หินก่ึงอัญมณี หลายชนิด เชน่ หนิ โมกุล หรือ
หนิ คาร์นีเลยี น หินโมรา หรอื หนิ อาเกต ผลึกควอทซ์สตี า่ งๆ และหินในตระกลู หยก เป็นต้น

การพบวัตถุเหลา่ นี้ ในปริมาณมาก หรือในลักษณะที่ไม่ใชว่ ัตถุหายากนัก นับเป็นหลักฐาน
แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงพัฒนาการของเครือข่ายการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างชุมชนในประเทศไทย
กบั ชุมชนในอนุทวปี อินเดีย รวมท้ังช้ีว่า การแลกเปล่ียนค้าขายระหว่าง ผู้คนในภาคกลางของประเทศ
ไทย และในอินเดียเป็นไปอย่างสมํ่าเสมอ มีหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบในพื้นที่ใกล้สองฝั่ง และ
ปริมณฑลของแม่นํ้าแม่กลอง ทแี่ สดงให้เห็นว่า ลุม่ แม่นาํ้ แม่กลองก็เปน็ พน้ื ท่สี าํ คัญ ที่มปี ระชากรตั้งถ่ิน
ฐานอยอู่ าศัยหนาแน่น

นอกจากน้ี ยังได้พบโบราณวัตถุท้ังประเภทที่เป็นสิ่งของเครื่องใช้ที่ผลิตในท้องถ่ิน และที่
เป็นวัตถุท่ีมาจากต่างถ่ินชนิดต่างๆ เหมือนกับที่พบในลุ่มแม่น้ําทวน – จระเข้สามพัน โบราณวัตถุ
เหล่าน้ีเป็นพยานหลักฐานแสดงถึงความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมของผู้คนในลุ่มแม่นํ้าต่างๆ ดังกล่าว
ท้ังหมด รวมท้ังยังแสดงว่า ชุมชนในลุ่มแม่นํ้าเหล่าน้ีล้วนมีส่วนร่วมอยู่ในเครือข่ายการติดต่อ
แลกเปลยี่ นค้าขาย กบั ชุมชนทอ่ี ย่หู ่างไกลออกไปทงั้ ทางทิศตะวนั ออกและตะวันตก

2.4.3 วฒั นธรรมในอทู่ องและปริมณฑลโดยรอบชว่ งยุคประวัติศาสตร์เริม่ แรก

ในช่วงเวลาต้ังแต่ราว 1,500-1,600 ปีมาแล้วลุ่มน้ําทวน-จระเข้สามพัน ก็ยังคง
ความสําคัญในเครือข่ายของการแลกเปลี่ยนค้าขายระยะทางไกลอยู่ นอกจากนี้ชุมชนดั้งเดิมบางแห่ง
ยังพัฒนาข้ึนเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมท่ีมีความสําคัญมาก ดังเช่น ชุมชนที่บ้านอู่ทอง ได้พัฒนาเป็น
ชมุ ชนขนาดใหญ่ ทีม่ นี า้ํ ล้อมรอบหรือทีร่ ้จู ักกนั ดีในช่อื เมอื งอู่ทอง

เมืองอู่ทอง ต้ังอยู่ท่ีบริเวณลําน้ําจระเข้สามพัน ซ่ึงจัดได้ว่า เป็นสาขาหนึ่งของลําน้ําแม่
กลอง ที่ไหลทวนขนึ้ มาทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านบริเวณ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี จงึ ถูก
เรียกว่า ลําน้ําทวน แล้วไหลไปลงลํานํ้าจระเข้สามพัน ที่ อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ในปัจจุบันก่อนท่ีจะ
ไหลไปรวมเข้ากับแม่นํ้าสุพรรณบุรีหรือแม่น้ําท่าจีน ท่ีอยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง
อู่ทอง บริเวณท่ีต้ังของเมืองอู่ทองจึงนับว่า เป็นพ้ืนท่ีสําคัญ เพราะตั้งอยู่ตรงบริเวณทางเช่ือมระหว่าง
แม่นํ้าสาํ คญั สองสายคือ แม่น้ําแมก่ ลองและแมน่ ้าํ ท่าจีน

เมืองอู่ทองโบราณ เป็นชุมชนขนาดใหญ่ มีคูนํ้าล้อมรอบ ลักษณะผังเมือง เกือบเป็นวงรี
วางตัวตามแนวทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นทิศทางที่เกือบขนานกับแนวแม่นํ้า
จระเข้สามพัน ที่เคยไหลผา่ นทางใตข้ องเมอื ง ลักษณะอยา่ งนี้บง่ ชี้ว่า เมืองอทู่ องถกู สร้างให้ยาวไปตาม
แนวของแม่นํ้าสายนี้ โดยอาจเป็นเพราะต้องการเข้าถึงได้สะดวก เพ่ือใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ จาก
แม่นํ้า แต่คูน้ํารวมถงึ คันดนิ ที่ปรากฏให้เห็นว่า มีอยู่ในบางบริเวณของเมืองไมไ่ ด้มรี ปู รา่ งเหมือนอย่างท่ี
เห็นอยู่มาในปัจจุบันตั้งแต่แรก ผลการศึกษาในวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตของสันต์ไทยานนท์ ได้
อ้างว่า ควอริตช์เวลส์ (H.G. Quaritch Wales) นักโบราณคดีชาวอังกฤษได้สันนิษฐานไว้แต่เดิมว่า
ลักษณะคูน้าํ รอบเมืองอู่ทองในเช่วง 1,500 ปีท่ีแล้ว ยงั มีลักษณะเหมือนผังเมืองเอเชยี ตะวันออกเฉียง
ใต้รุ่นเริ่มแรก คือ อยู่ในผังทม่ี ีรูปร่างไม่แน่นอน จากนั้นจึงสนับสนุนและตอ่ ยอดความคิดดงั กล่าว โดย

40

สรุปว่า คูนํ้ารอบเมืองอู่ทองมีการพัฒนารูปร่างอยู่ตลอดช่วงระหว่างพุทธศตวรรษท่ี 11-13 จนมี
รูปร่างอยา่ งทีเ่ หน็ ไดใ้ นปัจจบุ ันเมื่อราว 1,300 ปที แ่ี ล้ว 62

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทิวา ศุภจรรยา เคยศึกษาภาพถ่ายทางอากาศ เพื่อค้นหาร่องรอยคู
คลอง และทางน้ําในพืน้ ท่ีบรเิ วณเมืองอู่ทองและปริมณฑลแลว้ เสนอความเห็นว่าเดิมเมืองอู่ทอง มีลํา
น้ําจระเข้สามพันเป็นแหล่งนํ้าหลัก และเป็นเส้นทางเช่ือมต่อสู่ชะวากทะเลท่ีอยู่ไม่ไกลทางทิศใต้ของ
เมือง แต่ต่อมาเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก มีผลกระทบทําให้ระดับนํ้าทะเลใน
อ่าวไทยโบราณลดลง เมืองอู่ทองก็ได้รับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงระดับน้ําทะเลที่ลดลงด้วย
โดยแม่นํ้าจระเข้สามพัน ที่แต่เดิมเคยไหลผ่านเมืองอู่ทองก่อนแล้ว จึงระบายลงสู่ชะวากทะเลได้
เปลีย่ นทางเดินไปออกสู่ชะวากทะเลในบริเวณทอ่ี ยู่ห่างไปทางใต้ของเมือง

นอกจากนี้ ยังพบร่องรอยคูและคันดินหลายแห่งที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทิวา ศุภจรรยา
และคณะลงความเห็นว่า เป็นแนวคลองขุดและแนวคันดนิ ท่ีทําหน้าท่ีเป็นพนังก้ันน้ําท่ชี าวเมืองอู่ทอง
โบราณสร้างขึ้น เพ่ือพยายามบังคับน้ําให้ไหลไปตามแนวแม่น้ําเดิมท่ีผ่านเมืองอู่ทอง แต่การลด
ระดับน้ําทะเลที่ยังคงดําเนินไปอยู่ก็ทําให้ความพยายามแก้ปัญหาขาดแคลนน้ํา และทางน้ําออกสู่
ชะวากทะเล ด้วยการขุดคูและพนังหลายคร้ัง ไม่ประสบผลสําเร็จถาวร ในที่สุดประชากรของเมือง
อู่ทองโบราณจึงละท้ิงถิ่นฐาน อน่ึงนักวิชาการคณะน้ี ยังเสนอความเห็นอีกว่า ในระยะเวลาที่เกิดการ
เปล่ียนแปลงระดับนํ้าทะเล และส่งผลให้เกิดการละทิ้งเมืองอู่ทองน้ี ก็ได้เกิดชุมชนใหม่ข้ึนท่ีแม่น้ํา
ท่าจีน และเป็นชุมชนที่พัฒนาต่อมาเป็นเมืองสุพรรณบุรีในพ้ืนท่ีบริเวณลุ่มแม่นํ้าท่าจีนน้ัน เคยได้พบ
โบราณวัตถุที่แหล่งโบราณคดีหลายแห่ง ที่อยู่ใกล้แม่น้ําสายหลักและลําน้ําสาขาของแม่น้ํานี้ ซ่ึงช้ีว่า
ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย พ้ืนท่ีน้ีเป็นย่านท่ีมีประชากรอยู่อาศัยมากเหมือนกับในพื้นท่ีลุ่ม
นํ้าทวน - จระเข้สามพัน แต่ในช่วงสมัยวัฒนธรรมแบบทวารวดนี ้ัน ได้พบศูนย์กลางสําคัญเฉพาะท่ีใน
ลมุ่ นา้ํ จระเขส้ ามพันอันไดแ้ ก่ เมืองอทู่ อง

อย่างไรก็ตาม ในช่วงราวพุทธศตวรรษท่ี 17 – 18 พ้ืนท่ีลุ่มแม่น้ําท่าจีนคงได้รับความ
สําคัญเพิ่มขึ้น ดังได้พบโบราณสถานสําคัญของช่วงเวลานี้ ที่เนินทางพระ อําเภอสามชุก จังหวัด
สุพรรณบุรี หลังจากน้ันลุ่มแม่น้ําท่าจีนคงมีความโดดเด่นกว่ามาโดยตลอด นําไปสู่การเกิดเมือง
สุพรรณภูมิ ที่เป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมท่ีมีความสําคัญเป็นเวลายาวนานแห่งหน่ึง โดยมี
ความสําคัญทั้งในช่วงที่กรุงสุโขทัย พัฒนาข้ึนเป็นศูนย์กลางสําคัญในลุ่มแม่น้ํายม และในช่วงท่ีกรุงศรี
อยธุ ยา เร่มิ พฒั นาเป็นศูนย์กลางทีส่ าํ คัญมากในลุ่มนํ้าเจ้าพระยา

ผลการสํารวจเบื้องต้นกลุ่มงานช่างเมืองอู่ทองและบริเวณลุ่มนํ้าทวน-ล่มุ นํ้าจระเข้สามพัน
ในงานวิจัยของ สุรพล และศิริพจนพ์ บว่า เมืองอู่ทองมีหลักฐานมาต้ังแตส่ มยั ก่อนรับวัฒนธรรมศาสนา
พุทธ-พราหมณ์จากชมพูทวีป ตอ่ เน่ืองมาถึงสมัยที่รว่ มอยู่ในวัฒนธรรมแบบทวารวดีเม่ือราวหลัง พ.ศ.
1100 เร่ือยมาจนถึงช่วงหลัง พ.ศ. 1600 ยังพบร่องรอยของกลุ่มงานช่างที่สามารถเปรียบเทียบ

62 สันต์ไทยานนท์.การศึกษาลําดับพัฒนาการวัฒนธรรมทางโบราณคดีเมืองอู่ทอง. วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, (โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2554.หน้า.
82.

41

รูปแบบได้ว่า น่าจะสร้างขึ้นในช่วงระหว่าง พ.ศ. 1600-1900 ซึ่งหมายความว่า เมืองอู่ทองไม่ได้ร้าง
หากแต่มีคงอยู่สืบเน่ืองหลักฐานของงานช่างในช่วงเวลาดังกล่าว พบทั้งท่ีอยู่ในตัวเมืองอู่ทองเอง
อย่างเช่น กลุ่มเศียรเทวดาและยักษ์ ที่จัดแสดงอยู่ภายในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง ทะเบียน
โบราณวัตถุกลุ่มนี้ระบุเพียงว่า พบในเขตเมืองอู่ทอง แต่ก็เพียงพอท่ีจะแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวข้อง
อย่างใกลช้ ดิ กบั งานชา่ งแบบหริภญุ ไชย ที่กําหนดอายอุ ยูใ่ นชว่ งระหวา่ ง พ.ศ. 1600-1700

การพบกลุ่มประติมากรรรมแบบดังกล่าว ดูจะไม่เป็นที่น่าประหลาดใจนัก เม่ือพิจารณา
จากกลุ่มเจดียแ์ ปดเหลยี่ ม ที่นิยมอยใู่ นช่วงเวลาที่ใกลเ้ คียงกนั โดยพบทงั้ ในเขต จงั หวัดลําพูน ชยั นาท
และสุพรรณบุรี จึงแสดงให้เห็นถึงความสําคัญของอ่าวเมาะตะมะ ในช่วงเวลาดังกล่าว หมายความว่า
ร่องรอยการอยู่อาศัยภายในเขตเมืองโบราณอทู่ อง ไม่ไดข้ าดหายไปในช่วงเวลาหลัง พ.ศ. 1500 อย่าง
ท่ีมักจะเข้าใจกันมาแต่เดิมและอาจจะกล่าวได้ว่า เมืองอู่ทองไม่ได้มีขนาดเล็กลงกลายเป็นเพียงชุมชน
ขนาดย่อม เน่ืองจากการเปลยี่ นแปลงของเส้นทางการค้า อย่างท่ีมขี ้อสันนิษฐานอยู่ในงานวิจัยบางชิ้น
ดังที่กล่าวไว้แล้ว แต่เมืองอู่ทองมีปริมณฑลท่ีขยายออกไปนอกเมืองต่างหากร่องรอยของวัฒนธรรมที่
เกี่ยวเนื่องกับหริภุญไชย หรือกลุ่มงานช่างแบบท่ีนิยมอยู่ในฟากตะวันตกของแม่นํ้าเจ้าพระยา ช่วง
ระหว่าง พ.ศ. 1600-1800 และงานช่างแบบขอม ถูกพบกระจายตัวอยู่โดยทั่วไปตลอด ลํานํ้าทวน
ลําน้ําจระเข้สามพัน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงเครือข่ายทางการเมืองและเศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนไปจากยุคก่อน
พ.ศ. 1500 ตา่ งหาก

กลุ่มวัฒนธรรมขอม ดูจะเข้ามามีบทบาทในช่วงหลัง พ.ศ. 1700 เป็นต้นมา ชิ้นส่วนของ
พระพุทธรปู หินทราย บางองค์พบทบ่ี รเิ วณเขารักษ์ อ.ห้วยกระเจา จ.กาญจนบุรี ห่างออกไปตามลาํ น้ํา
ทวน ทางทศิ ตะวนั ตกของเมืองอู่ทอง แสดงใหเ้ ห็นว่า เป็นพระพุทธรูปนาคปรก ทน่ี ่าจะกําหนดอายุได้
อยู่ ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 1750-1850 และเก่ียวข้องกับวัฒนธรรมขอมอย่างชัดเจน ท่ีน่าสนใจคือ บน
ยอดเขารักษ์ มีพระปรางค์ซึ่งหมายถึงเจดีย์รูปแบบหน่ึงที่คลี่คลายมาจากปราสาทแบบขอม
ประดิษฐานอยู่ รูปแบบของพระปรางค์องค์สามารถกําหนดอายุได้อยู่ในช่วงต้นกรุงศรีอยุธยา เมื่อ
พิจารณาจากเค้าโครงท่ียังเหลืออยู่หลังผ่านการบูรณะไปมากแล้ว อย่างเช่น การมีมุมประธาน ขนาด
ใหญ่ เป็นต้น พระปรางค์องค์น้ีจึงควรจะสร้างขึ้นก่อน พ.ศ. 2000 เป็นอย่างน้อย กลุ่มงานช่างท่ีเขา
รักษ์จึงแสดงให้เห็นถึงความสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยแรก ก่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยา เร่ือยมาจนถึง
อยุธยาตอนต้น รวมถึงมีหลักฐานของเจดีย์สมัยอยุธยาตอนปลาย และกลุ่มงานสมัย รัตนโกสินทร์อีก
ด้วย

ในกรณีนี้หากพิจารณาถึงเมืองอู่ทอง โดยให้ความสําคัญกับปริมณฑลโดยรอบ ในฐานะ
ของเครือข่ายที่มีเมืองอู่ทองเป็นศูนย์กลางของกลุ่มชุมชนบริเวณลํานํ้าทวน-ลําน้ําจระเข้สามพัน ท่ีจะ
ไหลไปรวมกบั แม่น้าํ ท่าจีน ทางด้านทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองอู่ทองแล้ว ก็จะเห็นไดว้ ่า ในหลัง
พ.ศ. 1700 อู่ทองดูจะสัมพันธ์กับละโว้มากกว่า จนกระทั่งเมื่อ “เสียนรวมเข้ากับหลอฮู่” ตามท่ี
ปรากฏในบันทึกของจีน จนเกิดเป็นกรุงศรีอยุธยา อู่ทองและบริเวณโดยรอบก็ถูกผนวกเข้าเป็นส่วน
หนึง่ ของวัฒนธรรมอยธุ ยาในท่ีสุด


Click to View FlipBook Version