The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-13 10:41:22

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

37

(5) ความอยากหรอื ฝักใฝท่ ีจ่ ะทาสงิ่ นน้ั ๆใหบ้ รรลถุ งึ จดุ หมาย
ทัง้ น้ี ลักษณะของฉันทะที่เกิดข้ึนมิได้เพียงใช้สาหรับการกระทาในการงานเพียงอย่างเดียว
แตส่ ามารถนาไปใช้เปน็ หลักการดาเนนิ ชีวิตในด้านอื่นๆได้ด้วยเช่นกนั ไดแ้ ก่

ความยินดี และพอใจในฐานะทางครอบครัว ความยนิ ดี และพอใจในทรพั ยส์ นิ ทต่ี นมี
ความยินดี และพอใจในความสามารถของตน ความยินดี และพอใจในคู่ครองของตน
ความยินดี และพอใจในตาแหน่ง และหน้าท่ีของตนในสังคม ความยินดี และพอใจใน
ศาสนาหรือลัทธทิ ตี่ นนบั ถอื

1 ฉันทะ เป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนในจิตภายใต้หลักธรรม คือ โยนิโสมนสิการ คือ การรู้จักคิด
วิเคราะห์ หรือคิดในทางที่ถูก และเหมาะสมเพ่ือให้เกิดความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายท่ีต้ังไว้ภายใต้
สภาวะแห่งเหตุ และผล ดงั นั้น เม่ือเกิดฉันทะ คือ ความพอใจหรือยินดใี นสงิ่ นน้ั แลว้ ย่อมทาใหเ้ ป็นผู้ท่ี
รู้จักใช้โยนิโสมนสิการ คือ การคิดวิเคราะห์หาแนวทางที่จะดาเนินต่อไป ซ่ึงจะนามาสู่การเกิดวิริยะ
คอื ความเพยี รในแนวทางนัน้ ตอ่ ไป

2 วิริยะ(exertion) วิริยะ แห่งอิทธิบาท 4 คือ ความเพียรพยายาม ความอุตสาหะและ
มานะบากบั่น ท่ีจะทางานหรือทาสิ่งหน่ึงสิ่งใดให้ดีท่ีสุด ไม่ท้อถอยเมื่อเกิดอุปสรรค และความ
ยากลาบากต่างๆ ด้วยการมองปัญหาหรอื อุปสรรคที่ขัดขวางตอ่ การทาส่ิงนัน้ เป็นส่ิงที่ท้าทาย และตอ้ ง
เอาชนะใหส้ าเรจ็

วิริยะ เป็นความเพียรท่ีประกอบความดี มีความขยันหมั่นเพียร ไม่ทอดธุระ เป็นเครื่อง
พยุงความพอใจไม่ให้ท้อถอยในการทางาน เพราะว่างานทุกชนิดมักจะง่ายตอนคิด แต่มักจะติดตอน
ทาจงึ จาเปน็ ตอ้ งใช้ความพยายามเรือ่ ยไปจนกวา่ จะสาเร็จตามความพอใจทปี่ ลกู ไว้

วิรยิ ะ หรอื ความเพยี รน้ี มคี วามจาเป็นสาหรบั การปฏบิ ัติงานหรือการกระทาตอ่ ส่งิ หนึง่ ส่ิง
ใดในขณะนั้น เพราะหากต้องการความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายทตี่ ้ังไว้ก็ต้องจาเป็นต้องมีความพยายาม
เป็นสาคัญ แต่ความพยายามนี้ มิใช่หมายครอบคลุมถึง การปฏิบัติหรือการกระทาท่ีไม่มีวันหยุด หรือ
ไม่รู้ซึ่งพื้นฐานของตนเอง ท่ีมาจากหลักธรรมแห่งโยนิโสมนสิการ คือ การรู้จักคิดวิเคราะห์อยา่ งมีเหตุ
และผลในคันรองคลองธรรม เช่นกนั

ประเภทของวริ ิยะ
1) สังวรปธาน หมายถึง เพียรระวัง คือ การกระทาส่ิงใดๆจะต้องรู้จักพึงระวังรอบคอบ
ด้วยการรูจ้ กั เหตุ และผล ไมต่ ้งั อยู่ในความประมาทหรืออกุศลกรรมทั้งปวง
2) ปหานปธาน หมายถึง เพียรละ คือ การรู้จักละ ลด หรือหลีกเล่ียงจากอกุศลกรรมทั้ง
ปวงทจี่ ะเปน็ เหตุทาให้การกระทาสิ่งหนึ่งส่ิงใดไม่ประสบความสาเรจ็
3) ภาวนาปธาน หมายถึง เพียรบาเพ็ญ คือ การรู้จักเพียรต้ังมั่น และอุทิศตนต่อการ
กระทาในส่งิ หนง่ึ ส่งิ ใดอย่างเสม่าเสมอ
4) อนุรกั ขนาปธาน หมายถงึ เพียรตามรักษาไว้ คือ รู้จกั รักษาหรือทาใหค้ วามเพียรในส่ิง
น้ันๆคงอย่กู บั ตนเปน็ นจิ

38

องค์ประกอบของวิริยะ

1) ความเพียรในการทาสิ่งน้ันๆในทางที่ถูกตามเหตุ และผล ภายใต้พื้นฐานตามหลักคุณ
งามความดี

2) การมคี วามกล้า และความแน่วแน่ทจ่ี ะทาในสิง่ น้ันๆ
3) การไม่ละทิ้งซ่งึ การงานหรอื ส่งิ ท่กี าลังทาอยู่
4) การความอุตสาหะ และอดทนตอ่ ความยากลาบากอย่างเปน็ นจิ
ทั้งน้ี ลักษณะของวิริยะที่เกิดข้ึน มิได้อยู่ในกรอบสาหรับการงานเท่าน้ัน แต่สามารถนาไป
ประยุกต์ใช้เป็นหลักการดาเนินชีวิตในด้านอ่ืนๆ ได้แก่ ความเพียรในการเจรญิ ธรรม การเจริญภาวนา
หรอื การรักษาศลี ความเพียรในการศึกษาเล่าเรยี น
ดว้ ยเหตุน้ี วิรยิ ะจงึ เป็นหลกั ท่ีมีความสาคญั อนั จะนาไปส่กู ารประพฤติปฏิบตั ิในการงานหรือ
การกระทาต่อสิ่งใดๆ ภายใต้พื้นฐานของหลักการเหตุ และผลท่ีเกิดจากโยนิโสมนสิการ เพ่ือมุ่งให้สิ่ง
น้ันๆดาเนินไปสู่จุดหมาย และสาเร็จตามที่ได้ตั้งไว้ โดยมีความเพียรท่ีดาเนินไปในลักษณะของการ
ปฏิบัติตามหลักปธาน 4 ในข้างต้น แต่ท้ังน้ี ความเพียรท่ีมีมากเกินไป มักจะทาให้เกิดความฟุ้งซ่าน
ความไม่มีสติ ความเหน็ดเหนื่อย จนนาไปสู่การการเกิดอุปสรรค และปัญหาในสิ่งนั้น ส่งผลต่อความ
ทอ้ แท้ตามมาได้ อกจากนน้ั หากมงุ่ เพียรต่อสง่ิ ใดสิ่งหน่ึงมากเกนิ ไป มกั จะทาให้เกิดการลืมที่จะกระทา
ต่อสงิ่ อ่นื ได้งา่ ยเช่นกนั
3 จิตตะ (thoughtfulness) จิตตะ แห่งอิทธิบาท 4 คือ การเอาใจใส่ และให้ใจจดจ่ออยู่
กับสิง่ ทท่ี า มสี มาธมิ ่ันคงอยู่กับงาน ไม่ปล่อยปละละเลยในงานท่ีทา และทางานด้วยความต้งั ใจที่จะให้
งานนั้นสาเร็จ แต่หากใครทาการส่ิงใดด้วยความเป็นคนประมาท ไม่เอาใจใส่กับงานท่ีตนทา เมื่อทา
อะไรท้ิงๆ ขว้างๆ งานน้ันย่อมไม่สาเร็จตามเป้าประสงค์หรือหากสาเร็จ แต่ก็เป็นความสาเร็จท่ีไม่มี
ประสิทธผิ ลในงาน
ทงั้ นี้ จิตตะ หมายถึง จิตใจ คือ ส่วนท่ีทาหน้าที่รู้สานึก รู้คิด ซึ่งความรู้ท่ีเกิดมาจากจิตน้ัน
เป็นความรู้ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน อดีตกาล หรือกาลังจะเกิดในอนาคต ล้วนเป็นความรู้ท่ีฝังอยู่ในจิต
หรือที่ผ่านมาแล้วท้ังส้ิน หมายถึง จิตส่ังสมความรู้ให้เกิดข้ึนในกาลทั้ง 3 นั่นเอง ส่วนจิตตะในที่น้ี
หมายถึง สภาวะทางอารมณ์ที่สะท้อนมาจากจิต อาทิ ความแข้มแข็ง ความมั่นคง ความมุ่งม่ัน และ
ความจดจอ่ ต่อสิ่งหนงึ่ ส่งิ ใดทที่ าอยูน่ ้ัน
องคป์ ระกอบของจิตตะ
1 มีความสนใจในสิ่งที่จะทานัน้ อย่างจริงจงั
2 การเอาใจใสใ่ นขณะทก่ี ระทาสง่ิ นนั้ ๆ
3 การมใี จทเ่ี ปน็ สมาธใิ นขณะท่ีกระทาสง่ิ น้นั ๆ
4 การท่มี ีจติ ใจมุ่งม่ัน และแนว่ แน่ในขณะที่กระทาส่งิ นัน้ ๆ
ทง้ั น้ี ลกั ษณะของจิตตะท่เี กดิ ขน้ึ มไิ ดอ้ ยู่ในกรอบสาหรับการงานเท่านั้น แตส่ ามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันด้านอื่นๆ ได้แก่ การเอาใจใส่ และมุ่งม่ันในการเจริญธรรม การเอาใจใส่
และมุ่งม่ันในการศึกษาเล่าเรียน จิตตะ มีความสัมพันธ์กับสมาธิ คือ หมายถึง จิตเป็นเครื่องผลักดัน
และควบคุมการเกิดของสมาธิ โดยสภาวะจิตที่มีความแน่วแน่ และจดจ่อต่อส่ิงหน่ึงสิ่งใด ภาวะท่ีเกิด
ขึ้นกับจิตนี้จึงเรยี กวา่ สมาธิ ซึ่งเป็นเคร่ืองเสริมประสิทธิภาพในการจะกระทาส่ิงใดๆให้ประสบ ความ

39

สาเร็จ เพราะจิตท่ีเป็นสมาธิแน่วแน่อยู่กับสิ่งที่กาลังทา อยู่ โดยไม่เกิดความฟุ้งซ่าน ย่อมทาให้งาน
ประสบความสาเร็จไดด้ ี ไมผ่ ิดพลาด และมีประสทิ ธภิ าพตามเปา้ หมายท่ีวางไว้

4 วิมังสา (investigation) วิมังสา แห่งอิทธิบาท 4 คือ การสอบสวน ไตร่ตรอง พิจารณา
ตรวจสอบในสิ่งที่กาลังทานั้นๆ รวมถึงการรู้จักค้นคว้า ทดลอง คิดค้น และรู้จักคิดแก้ไขปรับปรุงงาน
ให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ ท้ังน้ี ปัจจัยสาคัญท่ีส่งผลต่อความสาเร็จในการทาส่ิงใดๆ ย่อมเกิดจากปัจจัยจาก
ข้อน้ีเป็นสิ่งสาคัญ เพราะการใช้วิมังสา คือ การคิด วิเคราะห์ อย่างมีเหตุ และผล ย่อมทาให้เข้าใจต่อ
กระบวนการ วิธีการ และแนวทางในการดาเนินงานที่ถูกต้อง เหมาะสม รวมถึงย่อมรู้จักแนวทางใน
การแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดข้ึนได้ดี แต่หากไม่มีการใชป้ ัญญากอ่ นทาหรือขณะทาส่ิงใดๆแลว้ ย่อมนามา
ซึ่งปัญหา และอุปสรรคในส่ิงนั้นๆ ส่งผลต่อการท้อแท้ การทาสิ่งนั้นไม่สาเร็จ หรือหากสาเร็จก็จะไม่
เกดิ ประสิทธิผลอย่างเต็มท่ี

องคป์ ระกอบของวิมงั สา
1 การใช้ปัญญาคดิ วิเคราะหก์ ่อนที่จะลงมือปฏบิ ัติหรอื ระหวา่ งปฏิบัตใิ นสงิ่ นั้นๆ
2 การใชป้ ัญญาคิดวิเคราะหใ์ นส่งิ นัน้ ๆ ตามคันรองคลองธรรม
3 การแก้ไข ปรับปรงุ ข้อบกพรอ่ ง และพฒั นาในสิง่ น้นั ๆด้วยปัญญา
ท้ังนี้ ลักษณะของวิมังสาท่ีเกิดข้ึน มิได้เหมาะสาหรับนาไปใช้ในการงานเท่านั้น แต่
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันด้านอ่ืนๆ ได้แก่ การรู้จักคิด วิเคราะห์ในการเจริญธรรม
การรจู้ กั คิด วิเคราะห์ในบทเรียน การรจู้ ักคิด วเิ คราะห์กอ่ นท่ีจะพูดหรือทาในสิง่ ใดๆ วิ มั งส า คื อ
การรู้จักคิด วิเคราะห์ ที่มักคู่กับคาว่า ปัญญา คือ ความรู้ หรือ ความรู้แจ้ง เป็นความรู้ ความเข้าใจ
ต่อสิ่งใดส่ิงหนึ่งในเหตุ และผล รวมถึงองค์ประกอบ และพ้ืนฐานของส่ิงๆนั้น สามารถตัดสิน และบ่งช้ี
ส่ิงนั้นได้เป็นมาอย่างไร มีลักษณะอย่างไร รวมถึงรู้แยกแยะสิ่งต่างๆว่าถูกผิด ดีชั่ว ดังนั้นแล้ว การมี
ปัญญาจึงเป็นการรอบรู้ในทุกๆด้าน และพึงใช้ปัญญาก่อนที่จะทาเพื่อให้เกิดความเข้าใจ และลึกซ้ึง
ก่อน เพื่อให้การน้ันๆดาเนินไปตามเป้าหมายท่ีวางไว้ และไม่เกิดปัญหาอุปสรรค พร้อมยัง
ประสทิ ธภิ าพในสิ่งนั้นให้สาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์18
ดังนั้น ฉันทะ และวิรยิ ะ เป็นหลักปฏิบัตทิ ช่ี ่วยให้บุคคลมคี วามมน่ั ใจในการทจ่ี ะเผชิญหน้า
กับปัญหา และอุปสรรคในการทางาน และมีจิตตะ และวิมังสา เป็นหลักปฏิบัติที่ช่วยในการเอาชนะ
ปญั หา และอปุ สรรคในการทางานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพยงิ่ ขึน้
3 ภาวนา ภาวนา แปลว่า ธรรมท่ีควรกระทาให้เจริญข้ึน คือให้เกิดขึ้นบ่อยๆ ในสันดาน
ของตน เม่ือวิเคราะหต์ ามศัพท์พระบาลีท่านว่า "ภาเวตัพพาติ = ภาวนา" แปลความว่า ธรรมท่ีบัณฑิต
ทั้งหลายพึงทาให้เกิดขึ้นเป็นคร้ังแรก และคร้ังหลังๆ ให้ติดต่อกันเป็นนิจ จนถึงเจริญ -ข้ึน
ภาวนา แปลว่า การเจริญ การอบรม การทาให้มีให้เปน็ ขึ้น หมายถึง การทาจิตใจใหส้ งบ
และทาปัญญาให้เกิดขึน้ ดว้ ยการฝึกฝนอบรมจิตไปตามแบบที่ท่านกาหนดไว้ ซง่ึ เรียกช่ือไปต่างๆ เช่น
การบาเพ็ญกรรมฐาน การทาสมาธิ การเจริญภาวนา การเจริญจติ ตภาวนา ภาวนา ในทางปฏิบัติท่าน
แบ่งไว้เปน็ 2 แบบใหญ่ ๆ คอื

18 สุขภาพจิต/ศาสนา › อิทธิบาท 4 และแนวทางปฏิบัติ, [ออนไลน์] เข้าถึงเมื่อ 11 เมษายน 2561
เข้าถึงไดจ้ าก thaihealthlife.com ›

40

1 สมถภาวนา การอบรมจิตใจให้สงบ ซ่ึงได้แก่สมถกรรมฐานนั่นเอง เรียกว่า จิตภาวนา
2 วิปัสสนาภาวนา การอบรมปัญญาให้เกิด ซ่ึงได้แก่วิปัสสนากรรมฐานนั่นเอง เรียกว่า
ปัญญาภาวนา ภาวนา สองอย่างน้ี ในบาลีที่มาท่านเรียกว่า ภาเวตัพพธรรม และ วิชชาภาคิยธรรม.
ในคัมภีร์สมัยหลัง บางทีเรียกว่า กรรมฐาน (อารมณ์เป็นท่ีตั้งแห่งงานเจริญภาวนา ที่ต้ังแห่งงานทา
ความเพียรฝึกอบรมจิต วิธฝี ึกอบรมจิต อีกนัยหนึ่งจัดเป็น 2 เหมือนกนั คอื

1 จิตตภาวนา การฝึกอบรมจิตใจให้เจริญงอกงามด้วยคุณธรรม มีความเข้มแข็ง
ม่นั คง เบกิ -บาน สงบสุข ผ่องใส พร้อมด้วยความเพียร สติ และสมาธิ

2 ปัญญาภาวนา การฝึกอบรมเจริญปัญญา ให้รู้เท่าทัน เข้าใจส่ิงท้ังหลายตาม
ความเป็นจรงิ จนมีจติ ใจเป็นอสิ ระ ไม่ถูกครอบงาด้วยกเิ ลส และความทกุ ข์

ภาวนา 4 หมายถงึ การเจริญ,การทาใหเ้ ป็นใหม้ ีขนึ้ ,การฝกึ อบรม,การพฒั นา ประกอบด้วย
1) พฒั นาดา้ นกาย (Physical development) เรยี กวา่ กายภาวนา
2) พฒั นาดา้ นศีล (Social development) เรียกวา่ ศีลภาวนา
3) พฒั นาดา้ นจติ (Emotional development) เรียกว่า จติ ภาวนา
4) พฒั นาด้านปญั ญา (Intellectual development) เรียกว่า ปญั ญาภาวนา

มีรายละเอยี ดดงั น้ี

1 พัฒนากาย หรือพัฒนาทางกาย ในทางพระพุทธศาสนาไม่เน้นที่การทาให้ร่างกาย
เติบโตแข็งแรง แต่ถือว่าการกินอาหารให้ได้คุณค่า กินพอดี ด้วยความรู้จักประมาณ ให้ร่างกายอยู่
ผาสุก มีสุขภาพดี เป็นฐานให้การพัฒนาด้านอนื่ ๆ ตอ่ ไป

การมีร่างกายที่ระบบภายในต่างๆ ทางานเรียบร้อยดี ท่านเรียกว่าเป็น ปธานิยังคะ อย่าง
หน่ึง คือเป็นองค์หน่ึงของสภาพชีวิตท่ีเหมาะแก่การใช้ความเพียรพยายามในการพัฒนาชีวิต แต่การ
พัฒนากายไม่ใช่แค่นั้น การพัฒนากาย ในพระพุทธศาสนาจึงเน้นไปที่การพัฒนาอินทรีย์ ในการ
สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ อันได้แก่ ตา หู จมูก ล้ิน กาย ให้ใช้งานได้ดี เกิดประโยชน์สูงสุด
มีผลในทางส่งเสริมคุณภาพชีวิต เช่นพัฒนาการใช้ตาให้ดูเป็น พัฒนาการใช้หูให้ฟังเป็น การพัฒนา
ทักษะต่างๆ ในทางอาชีพ ก็รวมอยู่ในข้อน้ีด้วย แต่ที่เป็นแกนกลางก็คือการพัฒนาท่ีเป็นอินทรีย์น้ี จน
พดู ได้วา่ การพฒั นากายก็คือการพฒั นาอินทรีย์

2 พัฒนาศีล หรือพัฒนาทางสังคม คือการอยู่ร่วมสังคมโดยไม่เบียดเบียนกัน แต่มี
ชีวิตที่เกื้อกูลต่อกัน และมีวินัยได้แก่ Social development ตรงกับ ศีลภาวนา ที่ว่าเป็นการพัฒนา
ทางสังคมนั้น ไม่มุ่งแต่การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้ดีโดยไม่เบียดเบียนกันเท่าน้ัน แต่มุ่งถึงการฝึกอบรมกาย
วาจา ให้เป็นฐานในการพัฒนาจิตต่อด้วย กล่าวคือการฝึกอบรม ให้รู้จักควบคุมตนในเรื่องกาย วาจา
นนั้ เร่ิมด้วยการไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ให้อยู่รว่ มกันกบั ผู้อืน่ ไดด้ ี เปน็ ไปในทางที่เกือ้ กลู ต่อกันในสังคม อัน
น้ีเป็นศีลข้ันพ้ืนฐาน แต่นอกเหนือจากน้ัน ยังมีการศึกษาอบรมกายวาจาให้ประณีตย่ิงขึ้นไปอีก
ความสามารถในการฝกึ พฤตกิ รรมทางกายวาจาของตนนนั้ จะเปน็ ฐานแก่การพัฒนาจิตใจต่อไปดว้ ย

3 พัฒนาจิตใจ หรือพัฒนาทางอารมณ์ ก็คือเร่ืองของจิตใจนั่นเอง พัฒนาด้านนี้ จึง
ได้แก่ (Emotional development} ตรงกับ จิตภาวนา เมื่อเรารู้จักควบคุมฝึกหัดกายและวาจาของ
เรา เราจะได้ฝึกฝนพัฒนาจิตใจพรอ้ มไปด้วย มันจะส่งผลตอ่ กันตามหลักปัจจัยสมั พันธ์ หมายความว่า

41

ภาวนา 4 ด้านน้ี จะต้องโยงเป็นระบบเดียวกัน การพัฒนาจิตใจก็ต้องโยงว่า เมือ่ พฒั นาจิตใจดี ก็ส่งผล
ดีออกมาต่อร่างกาย เช่น ใจไม่โกรธไม่เครียด ช่วยให้มีสุขภาพดีและมีผลในการสัมพันธ์หรือในการอยู่
ร่วมสังคมด้วย ทาให้การสัมพันธ์กับโลก และสภาพแวดล้อมภายนอกพลอยดีไปด้วย และการพัฒนา
จิตใจน้ัน เชน่ เม่อื มีสมาธิ ใจไมว่ า้ วนุ่ สับสน ก็เป็นฐานใหแ้ ก่การพฒั นาปัญญาตอ่ ไป

4 พัฒนาปัญญา หรือพัฒนาการทางปัญญา ได้แก่ Intellectual development
ตรงกับ ปัญญาภาวนาเม่ือพัฒนาปัญญาดีแล้ว ก็ทาให้จิตใจเป็นอิสระ เพราะรู้ว่าจะทาจะปฏิบัติต่อ
อะไรอย่างไร แก้ไขข้อติดขัดขจัดปัญหา หายอึดอัดหลุดโล่งไปได้ ตลอดจนรู้เท่าทันชีวิตและโลกตาม
เป็นจรงิ รู้เท่าทันเหตุปจั จัย มอี ะไรเกดิ ขึ้นก็รู้จักมองตามเหตุปัจจัย ก็ไม่มอี ะไร มาบบี ค้ันตวั อย่างน้อย
ก็ไมค่ ่อยมกี ารกระทบกระแทก เพราะทาตามปญั ญา ไมใ่ ชท่ าตามใจอยาก

ปัญญาในพระพุทธศาสนา มีอยู่หลายขั้น เร่ิมตั้งแต่การรู้จักรับรู้ประสบการณ์ให้ตรงตาม
เป็นจริง การคิดตามเป็นจริงโดยไม่ถูกครอบงาด้วยอคติ หรือโลภะ โทสะ โมหะ จนถึงความรู้ความ
เข้าใจโลกและชีวิตตามเป็นจริง ที่ทาให้มีจติ ใจเป็นอสิ ระ ด้วยเหตนุ ี้ ปัญญาภาวนาอาจจะต้องใช้คาว่า
(wisdom development)

ภาวนา 4 น้ีเป็นหลักสาคัญอีกชุดหน่ึง ภาวนาหรือพัฒนาน่ี แสดงถึงหนทางในการพัฒนา
คน เม่อื พูดแยกเปน็ แง่ด้านต่างๆ แล้ว กต็ ้องเอามาโยงเขา้ ดว้ ยกันให้เปน็ ภาพรวมอันหน่งึ อนั เดยี วกนั 19

2.7 คุณประโยชนข์ องการสวดมนตแ์ ละการฝึกสมาธิ

การสวดมนต์และการปฏิบัติสมาธินอกจากจะสร้างความเจริญทางธรรมให้แก่ ผู้ปฎิบัติ
แล้ว ยังมีการศึกษาค้นคว้าศึกษาวิจัยอีกมากมายที่แสดงถึงผลดีที่มีต่อสุขภาพกายและจิตใจ อาทิเช่น
ชว่ ยพัฒนาสุขภาพจิตและบุคลกิ ภาพ ช่วยลดความเครียด ความวิตกกงั วล ช่วยให้นอนหลบั สบาย ทา
ให้สขุ ภาพร่างกายแข็งแรง หายจากโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง เป็น
ตน้ ผู้ป่วยสามารถลดการใช้ยาลงหรอื สามารถหยุดยาได้ อีกทงั้ ยงั สามารถใช้ดูแลสขุ ภาพทางกายและ
จิตใจของผสู้ งู อายุในสังคมไทยได้เปน็ อยา่ งดี การสวดมนต์และการปฏิบตั ิสมาธิสามารถนามาใช้ในการ
ดูแลสุขภาพได้ท้ัง รักษา ป้องกัน ฟ้ืนฟูและส่งเสริมสุขภาพ ผู้ปฏิบัติใช้เวลาเพียงวันละ 15 นาทีโดย
ปฏบิ ตั เิ ป็นกิจวตั รประจาวนั สุขภาพของทา่ นก็จะดขี ้ึน ทง้ั ทางกายและทางจติ ใจ20

1) การสวดมนต์ คือการสวดบทพุทธมนต์ต่าง ๆ ท่ีเป็นส่วนของพระสูตรก็มี เป็นส่วน
ของพระปรติรก็มี ที่เป็นส่วนเฉพาะคาถาอันนิยมกาหนดให้นามาสวดประกอบในการสวดมนต์เป็น

19สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตโต) ตัดทอน จากหนังสือเร่ือง “รุ่งอรุณของการศึกษา เบิก
ฟ้าแห่งการพัฒนาท่ีย่ังยืน”พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์คร้ังที่ 12 พ.ศ.2546. [ออนไลน์]
เขา้ ถึงเม่อื 2 กมุ ภาพันธ์ 2561 เข้าถึงได้จาก http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=37

20 นพ.ปภัสสร เจียมบุญศรี รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกสวด
มนต์และสมาธิบาบัดเพื่อการรักษาโรค กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก / กองทุนภูมิปัญญา
การแพทยแ์ ผนไทย พมิ พค์ รงั้ ที่ ๑ บรษิ ัท วี อนิ ด้ี ดไี ซน์ จากัด,ความนาเสนอ.

42

ประจากม็ ีนอกเหนอื จากบทสวดทาวตั ร เม่อื เรยี กรวมการสวดท้ังสองนีเ้ ข้าดว้ ยกนั กเ็ รียกว่าการทาวัตร
สวดมนต์21

ความหมายของคาวา่ มนต์
สาหรับคาว่ามนต์มาจากภาษาบาลว่ามันตะ และภาษา สันสกฤตวา่ มตั ระ หมายถงึ คาพูด
ที่ศักด์ิสิทธิ์ท่ีต้องอาศัยการสวดหรือบริกรรมพร่าบ่นจึงจะทาให้เกิดอานุภาพในการป้องกันเหตุต่างๆ
ซึ่งมนต์นี้พระพุทธองค์ทรงช้ีให้เห็นว่าเป็นสิ่งที่เกิดข้ึนได้ถ้าขยันพร่าบ่น แต่ถ้าไม่ขยันพร่าบ่นแล้วก็จะ
ไม่ศกั ด์ิสทิ ธ(ิ์ เปน็ มลทิน) หรอื เสอื่ มได้22
คาว่า สวดมนต์ แยกออกเป็น 2 คา คือ “สวด กับ มนต์” คาว่า “สวด” ได้แก่ การท่อง
บ่น หรือสาธยายคาสอนทางพระพุทธศาสนา การสวดพระพุทธมนต์มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ
สวดพระธรรมเพ่อื รกั ษาพระศาสนา สวดพระปริตร เพอ่ื จะคมุ้ ครองป้องกันอนั ตราย23
ความหมายของคาว่า “มนต”์ ได้มีนกั วิชาการไดใ้ หค้ วามหมาย ดังน้ี
พระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้ให้ความหมายไว้ในพจนานุกรมฉบับประมวลศัพท์
วา่ “ คาท่ีเชอ่ื ถอื ศักดิ์สิทธ์ิ,คาสาหรบั สวด,คาสาหรับเสก(มกั ใชก้ บั ศาสนาพราหมณ์)24
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) ได้ให้ความหมายขอคาว่า มนต์ หมายถึงคาที่
ศักดสิ์ ิทธ์ิ คาเหล่านี้พระสงฆค์ ัดเลือกมาจากพระไตรปิฎกซ่ึงเป็นพระพุทธพจน์จงึ เรียกว่าพระพทุ ธมนต์
คือคาศักด์ิสิทธ์ขิ องพระองค์มีสมาธิจติ อันแนว่ แน่สวดไปพร้อมๆกนั เพ่อื ให้สัมฤทธ์ิตามความหมายแห่ง
ถอ้ ยคาพทุ ธพจน์ทีน่ ามาสวดนัน้ 25
หลวงวิจิตรวาทการ ได้ให้ความหมายไว้ว่า “ มนต์ หมายถึงมนต์คาถาของ
พระพุทธศาสนา ทีเรียกว่าพุทธมนต์ ข้อความหรือวธิ ีการใชน้ ้ันเปน็ ไปในทางทีดีงาม ในทางท่ีจะใหเ้ กิด
ความเมตตาอารี มไี มตรีจติ รตอ่ กันและกัน ไมป่ ระทุษร้ายเบียดเบยี นกัน เป็นไปเพ่ือสันติสขุ ของมนุษย์
และสัตวท์ ้งั หลายทัว่ หน้า26
คาว่า”สวดมนต์” อาจสรุปได้ว่า หมายถึง การกล่าวคาศักด์ิสิทธ์ิอันมีพลัง มีอานาจ มี
อิทธิฤทธ์ิเหนือจิตใจของมนุษย์เรา ได้แก่การกล่าวคาสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆ
คณุ และมนต์ของพระพุทธเจ้าที่เรียกวา่ พระพทุ ธมนต์

คณุ ประโยชน์ของการสวดมนต์

21 กรมการศาสนา,ธรรมศึกษาช้ันโท ฉบับปรับปรงุ ใหมท่ ี่ประกาศใช้ปจั จุบนั ,(กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั 2550),หน้า 109

22 ธนิต อยโู่ พธิ์, อานุภาพพระปริตต์,(กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย,2537),
หนา้ 18-19.

23 สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ,ตานานพระปริตร,(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ท่าพระจันทร์
,2511),หนา้ 1.

24สมเด็พระพุทธโฆษาจารย์(ป.อ.ปยฺโต ),พจนานุกรมพุ ทธศาสตร์ ฉบับ ประมวลศัพ ท์
,(กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ,2546),หนา้ 213.

25 พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต),อานุภาพแห่งพระปริตร,(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหา
จฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ,2548),หนา้ 35.

26 พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ,มหศั จรรย์ทางจิต,(กรุงเทพมหานคร : เสริมวิทย์บรรณาคาร,2507),หน้า
69.

43

1) สามารถไล่ความข้ีเกียจ เพราะขณะสวดมนต์ อารมณ์เบ่ือ เซ่ืองซึม ง่วงนอน เกียจ
ครา้ นจะหมดไป และเกิดความแช่มชื่นกระฉับกระเฉงขึ้น

2) เป็นการตัดความเห็นแก่ตัว เพราะในขณะน้ันอารมณ์จะไปหน่วงอยู่ที่การสวดมนต์
อยา่ งตง้ั ใจ ไมไ่ ดค้ ดิ ถงึ ตัวเอง ความโลภ โกรธ หลง จงึ มไิ ด้เกิดขึน้ ในจติ ตน

3) เป็นการกระทาท่ีได้ปัญญา ถ้าการสวดมนต์โดยรู้คาแปล รู้ความหมาย ก็ย่อมทาให้ผู้
สวดได้ปัญญาความรู้ แทนทจ่ี ะสวดเหมอื นนกแก้วนกขุนทองโดยไม่รู้อะไรเลย

4) มีจิตเป็นสมาธิ เพราะขณะน้ันผู้สวดต้องสารวมใจแน่วแน่ มิฉะนั้นจะสวดผิดท่อนผิด
ทานอง เมือ่ จิตเป็นสมาธิ ความสงบเยือกเย็นในจติ จะเกิดขึน้

5) เปรยี บเสมือนการได้เฝา้ พระพทุ ธเจ้า เพราะขณะนั้นผู้สวดมี กาย วาจา ปกติ (มศี ีล) มี
ใจแน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรู้ระลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า (มีปัญญา) เท่ากับได้เฝ้าพระองค์
ด้วยการปฏิบัติบูชา ครบไตรสิกขาอย่างแท้จริง และในวิมุตติสูตรได้กล่าวว่า การสาธยายมนต์คือเหตุ
หนึ่งในวิมุตติ 5 ประการ คือ การฟังธรรม การเทศน์ การสวดมนตร์สาธยาย และการคิดอย่างแยบ
คาย ) ดงั มวี ่า

“ดูกรภิกษุท้ังหลาย อีกประการหน่ึง พระศาสดาหรือเพื่อพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะครูบาง
รปู กไ็ ม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่า
อนื่ โดยพสิ ดาร ก็แตว่ า่ ภกิ ษยุ ่อมทาการสาธยายธรรมเทา่ ที่ไดส้ ดบั ได้ศกึ ษาเลา่ เรียนมาโดย พิสดาร เธอ
ย่อมเข้าใจอรรถ เขา้ ใจธรรมในธรรมน้นั ” ตามท่ีภิกษสุ าธยายธรรมเทา่ ทไ่ี ดส้ ดับ ได้

ศกึ ษาเลา่ เรยี นมาโดยพิสดาร เม่ือเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกดิ ปราโมทย์ เม่ือเกิด
ปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกดิ ปีติกายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิต
ย่อมต้ังม่ัน ดูกรภิกษุท้ังหลาย น้ีเป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๓ ซ่ึงเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มี
ความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ท่ียังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่ส้ินไป ย่อมถึง ความสิ้นไป หรือ
เธอยอ่ มได้บรรลธุ รรมอันเกษมจากโยคะชน้ั เยี่ยม ที่ยงั ไม่ไดบ้ รรลุ27

2) สมาธิในพระพุทธศาสนาเถรวาท

ความหมายของสมาธิ
“สมาธิ” ในพระอภิธรรมปิฎก28 ได้กล่าวไว้ว่า “สมาธิ” หมายถึง ความต้ังอยู่แห่งจิต
ความดารงอยู่แห่งจิต ความม่ันอยู่แห่งจิต ความไม่ส่ายไปแห่งจิต ความไม่ฟุ้งซ่านแห่งจิต ภาวะท่ีจิต
ไม่ส่ายไป ความสงบ (สมถะ) สมาธินทรีย์ สมาธิพละ สัมมาสมาธิ สมาธิ สัมโพชฌงค์ท่ีเป็นองค์แห่ง
มรรค นบั เนอ่ื งในมรรคอันใด นเี้ รยี กวา่ สัมมาสมาธิ
“สมาธิ” ในคมั ภรี ์วสิ ทุ ธิมรรคหมายถึง ภาวะที่จติ มอี ารมณ์อนั เดียวฝา่ ยกศุ ลช่อื ว่า สมาธิ29
“สมาธิ” ในหนังสือพุทธธรรม ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้อธิบายไว้
วา่ “สมาธิ” เป็นความต้ังม่ันของจิต หรือภาวะท่ีจิตแน่วแน่ต่อส่ิงท่ีกาหนด คาจากัดความของสมาธิที่

27 วมิ ุตตสิ ตู ร,ว่าด้วยเหตแุ ห่งวมิ ุตติ 5 ประการ,พระสตุ ตนั ตปฎิ ก อังคุตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนบิ าต เล่ม
3- หน้าท่ี 40

28 อภิ.สงฺ. (ไทย) 34/15/29; อภิ.วิ (ไทย) 34/206/175
29 วสิ ุทธิ (ไทย) 38/134.

44

พบเสมอ คือ “จิตตัสเสกัคคตา” หรือเรียกสั้นๆ ว่า “เอกัคคตา”ซึ่งแปลว่า ภาวะที่จิตมีอารมณ์เป็น
หนึง่ คือการท่ีจิตกาหนดแน่วแน่อยู่กบั ส่งิ ใดสงิ่ หนงึ่ ไม่ฟงุ้ ซ่านหรอื สา่ ยไป โดยคมั ภีรร์ ุ่นอรรถกถา ระบุ
ความหมายจากัดลงไปอีกว่า สมาธิ คือ ภาวะมีอารมณ์หน่ึงเดียวของกุศลจิตและไขความออกไปว่า
หมายถึงการดารงจติ และเจตสกิ ไว้ในอารมณ์หน่ึงเดยี ว อย่างเรยี บ สมา่ เสมอ และด้วยดี30

กล่าวสรุปได้วา่ สมาธิตามหลักพระพุทธศาสนา หมายถึง การมีจิตต้ังมั่นในอารมณ์เดียวท่ี
เป็นแนวทางแห่งกุศล เป็นสมาธิท่ีมีความเห็นชอบพิจารณาสรรพสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริงที่
เป็นไปตามเหตุปัจจัย เป็นสมาธิที่ควรคู่แก่การใช้งาน การแก้ปัญหาชีวิต การบาบัดโรคทาง กายจิต
และความเจริญกา้ วหนา้ แห่งสมาธิสวู่ ปิ ัสสนาอันเป็นทางแหง่ ปญั ญาสูก่ ารสน้ิ สดุ แห่งกองทกุ ข์

ประเภทของสมาธิ

สมาธิ คือ ปัญญาในการสารวมแล้วต้ังไว้ด้วยดี หากจิตเป็นฌานในขณะใดขณะหนึ่งในลม
หายใจเข้าออกก็ดี ในคาภาวนาก็ดี ในนิมิตก็ดี ถ้าจิตจับเฉพาะอย่างนน้ั เรียกวา่ การเกิดสมาธิหรอื การ
เกดิ ญาณ มี 5 อย่าง ดังนี้

สมาธิ 1 ได้แก่ เอกัคคตาสมาธิ คือจติ ทม่ี ีสมาธแิ นว่ แน่ ในอารมณ์เดยี ว คอื จะแน่วแน่อยู่ใน
อารมณ์ที่เพ่งเพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน มี 3 ระดับ คือ ระดับท่ี 1 ขณิกสมาธิ หรือบริกรรมสมาธิคือ จิต
ที่ต้ังมั่นอยูใ่ นอารมณ์ได้ช่ัวขณะ หรือเป็นสมาธิขณะบริกรรมว่าปฐวๆี เป็นต้น ระดับท่ี 2 อุปจารสมาธิ
คือ จิตที่ต้ังมั่นอยู่ในอารมณ์ใกล้จะได้ฌาน ระดับท่ี 3 อัปปนาสมาธิคือ จิตต้ังมั่นหรือแนบแน่นอยู่ใน
อารมณ์ที่กาหนด ไม่ซดั ส่ายไปไหน กิเลสไมส่ ามารถรบกวนได้ อัปปนาสมาธกิ ค็ ือฌานจติ ทเี่ ป็นอปั ปนา
เกดิ ขึ้นแล้ว

สมาธิ 2 ไดแ้ ก่ โลกิยสมาธิ และโลกตุ ตรสมาธิ
สมาธิ 3 ไดแ้ ก่ ขณกิ สมาธิ อุปจารสมาธิ และอปั ปนาสมาธิ
สมาธิ 4 ได้แก่ ทิฏฐธัมมสุขวิหารสมาธิ ญาณทัสสนสมาธิ สติสัมปชัญญสมาธิ และ อาส
วกั ขยสมาธิ
สมาธิ 5 ได้แก่ สุขสมาธิ สันตสมาธิ อริยสมาธิ นิรามิสสมาธิ อกาปุริสสมาธิ ได้แก่ สมาธิ
ของมหาบรุ ษุ 31
ระดับของสมาธิ
ผทู้ ่ีเจริญสัมมาสมาธิได้อย่างถูกทางตามหลักพระพุทธศาสนา จะทาให้สามารถพัฒนา จิต
ให้มีสมาธมิ ากข้นึ ใน 3 ระดับ32 ดงั นี้
1) สมาธิระดับขณิกสมาธิ หรือสมาธิชั่วคราว เป็นสมาธิขั้นต้นที่คนทั่วไปอาจนาไปใช้
ประโยชน์ในการปฏบิ ัตงิ านในชวี ิตประจาวนั ให้ไดผ้ ลดี และจดั ว่าเปน็ จดุ ต้ังตน้ ของการเจรญิ วปิ สั สนา

30 สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต) , พุทธธรรม ฉบับปรบั ปรุงและขยายความ., พมิ พค์ รง้ั ท่ี
11 (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , 2552), หน้า 824 – 825.

31 พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ), วปิ สั สนาญาณโสภณ, พมิ พ์ครงั้ ที่ 3,(กรุงเทพมหานคร
: ศรอี นนั ตก์ ารพิมพ,์ 2546), หน้า 123.

32 นิทฺ.อ. (ไทย) 1/158 ,ปฏสิ .อ.(ไทย) 221,สงฺคณ.ี อ.(ไทย) 207,วิสทุ ธ.ิ (ไทย) 1/184.

45

2) สมาธิระดับอุปจารสมาธิ หรือสมาธิเฉียดๆ หรือสมาธิจวนจะแน่วแน่ เป็นสมาธิ ข้ัน
ระงับนิวรณ์ 533 ก่อนทเ่ี ข้าสู่สภาวะแหง่ ฌานหรือสมาธใิ นบพุ ภาคแหง่ อปั ปนาสมาธิ

3) สมาธิระดับอัปปนาสมาธิ เป็นสมาธิระดบั สงู สดุ เป็นสมาธิทแี่ นว่ แน่แนบสนทิ

จุดประสงคข์ องการฝกึ สมาธิ

สมาธิ เป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้ด้วยการปฏิบัติจริง หากฝึกปฏิบัติจนจิตอยู่ในภาวะของความเป็น
อิสระปราศจากส่ิงรบกวน ปราศจากส่ิงอันชวนให้ยึดมั่นถือม่ันจิตก็จะเกิดความสงบ การ เกิดปัญญา
นาไปสู่ทางพ้นทุกข์ ให้สติต้ังมั่นอยู่ที่ไตรลักษณ์ พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม ให้รู้เห็นความเป็น
จริง ดังจดุ ประสงค์จาแนกไดเ้ ปน็ 2 ทาง คอื 34

1) สติต้ังมั่นในการพิจารณาบัญญัติเพื่อให้จิตสงบ ซึ่งเรียกว่า สมถกัมมัฏฐาน มีอานิสงส์
ให้บรรลฌุ านสมาบตั ิ

2) สติตั้งมั่นในการพิจารณารูปนามเพื่อให้เกิดปัญญาเห็นไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง
อนัตตา ซ่งึ เรียกว่า วปิ สั สนากมั มัฏฐาน มอี านสิ งสใ์ ห้บรรลุถึง มรรค ผล นิพพาน การกาหนดพิจารณา
ไตรลักษณ์ เพื่อให้รูเ้ ห็นสภาพตามความเป็นจริงว่าสงิ่ ท้ังหลายล้วนแต่เป็นรูปนามเท่านั้น และรูปนาม
ท้ังหลายเหล่านั้นก็มีลักษณะเป็นอนิจจังทุกขังอนัตตาหาได้เป็นแก่นสารย่ังยนื ไม่ จะได้ก้าวล่วงเสียซึ่ง
ความเหน็ ผดิ ไม่ให้ติดอยู่ในความยนิ ดยี นิ รา้ ย อันเปน็ การเร่มิ ต้นที่จะให้ถงึ หนทางดับทุกขท์ ั้งปวง

ประโยชน์ของสมาธิ มีหลายอย่าง เชน่
1) ประโยชน์ทางด้านอภิญญา เช่น ฝึกสมาธิแล้วได้อภิญญา(ความสามารถพิเศษเหนือ
สามัญชน) ได้แก่ หูทิพย์ ตาทิพย์ ทายใจคนอ่ืนได้ แสดงอิทธิฤทธิ์ต่างๆ ได้ ประโยชน์ด้านน้ีไม่
เกย่ี วข้องกับพระศาสนาโดยตรง
2) ประโยชนท์ ีเ่ ป็นจดุ หมายทางพทุ ธศาสนาแบ่งเป็น 2 ระดบั คือ

(1) ประโยชน์ระดับต้น คือฝึกสมาธิไประยะหนึ่ง จิตจะหายฟุ้งซ่าน จนถึงระดับได้
ฌาน สามารถใช้สมาธิท่ีได้ระงับ หรือข่มกิเลสได้ชั่วคราว แค่น้ีก็เรียกได้ว่าได้ "วิมุตติ"(หลุดพ้น)ระดับ
หนึ่งแล้ว เรยี กว่า วกิ ขัมภมวมิ ตุ ิ (หลุดพน้ ด้วยข่มไว)้ ตราบใดท่ียงั ขม่ ไดอ้ ยู่ เจ้ากิเลสมันกไ็ มฟ่ ุ้ง

(2) “ประโยชน์ระดับสูงสุด คือ สมาธิอันเป็นบาทฐานวิปัสสนาพิจารณาสภาวธรรม
ท้ังหลายรู้แจ้งไตรลักษณ์ กาจัดกิเลสได้โดยสิ้นเชิง พูดอีกในหนึ่งก็คือสมาธินาไปสู่ความเป็นพระ
อรหันต์

3) ประโยชน์ด้านพัฒนาบุคลิกภาพ ผู้ที่ฝึกสมาธิประจา ย่อมมีบุคลิกภาพที่พึงปรารถนา
หลายอย่างเช่น

(1) มีบคุ ลิกหนกั แน่น เขม้ แข็ง
(2) มีความสงบเยอื กเยน็ ไมฉ่ ุนเฉียวเกรยี้ วโกรธ
(3) มคี วามสุภาพ นิ่มนวล ท่าทีมีเมตตากรุณา
(4) สดใส สดช่นื เบกิ บาน

33 วิสุทธ.ิ (ไทย) 1/107,160,175,187; วนิ ย.อ(ไทย).1/523.
34 ขนุ สรรพกิจโกศล (โกวทิ ปทั มะสุนทร), ผู้รวบรวม, คมู่ ือการศึกษาพระอภธิ ัมมัตถสงั คหะ ปรจิ เฉท
ที่ 7 สมุจจยสังคหวิภาค, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พอ์ าพลพิทยา, 2506), หนา้ 41.

46

(5) สง่า องอาจ นา่ เกรงขาม
(6) มคี วามมนั่ คงทางอารมณ์
(7) กระฉบั กระเฉง ไม่เซ่อื งซมึ
(8) พรอ้ มเผชญิ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ แก้ปญั หาเฉพาะหน้าไดฉ้ บั ไว
4). ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวนั เช่น
(1) ทาให้ใจสบาย ไมเ่ ครยี ด มีความสุข ผ่องใส
(2) หายหวาดกลวั หายกระวนกระวายโดยไม่จาเป็น
(3) นอนหลบั งา่ ย ไม่ฝนั ร้าย สั่งตัวเองได้ (เช่น ส่ังให้หลับหรือตื่นตามเวลาที่กาหนด
ไวไ้ ด้
(4) กระฉบั กระเฉง ว่องไว รู้จักเลอื กและตัดสนิ ใจเหมาะแก่สถานการณ์
(5) มีความแนว่ แนใ่ นจดุ หมาย มคี วามใฝส่ ัมฤทธส์ิ งู
(6) มสี ตสิ ัมปชัญญะดี รเู้ ท่าปรากฏการณ์ และยับยั้งใจได้ดีเยีย่ ม
(7) มีประสิทธิภาพในการทางาน ทากจิ กรรมสาเรจ็ ดว้ ยดี
(8) ส่งเสรมิ สมรรถภาพมันสมอง เรียนหนงั สอื เกง่ ความจาดเี ยย่ี ม
(9) เกื้อกูลต่อสขุ ภาพรา่ งกาย เช่น ชะลอความแก่ หรอื ออ่ นกวา่ วัย
(10) รักษาโรคบางอย่าง เช่น โรคเครียด โรคท้องผูก โรคความดันโลหิต โรคหืด
หรอื โรคกายจติ อยา่ งอ่ืน35
สรุปได้ว่า การทาสมาธิและการสวดมนต์ทุกวันสามารถพัฒนาศักยภาพของคนได้
การทาสมาธิไม่ใช่เป็นเรื่องทางพระพุทธศาสนาเพียงอย่างเดียว แต่มองว่าเป็นวิทยาศาสตร์ มี
การวิจัยทั่วโลกได้บอกแล้วว่าการทาสมาธิ เพียงแค่วันละ 10 นาที ก็สามารถพัฒนาสมองและ
ศักยภาพการทางานได้ เพราะสมาธิจะช่วยให้ ทุกคนสามารถทางานด้วยการคิดวิเคราะห์ และมี
ความคิดสร้างสรรค์ นอกจากน้ีสมาธิยังช่วยในการทารักษาโรคบางอย่างได้ดีอีกด้วย

2.8 บรบิ ทของพน้ื ทที่ ่ที าวจิ ัย

วัดสุคนธาราม ตั้งอยู่ในชุมชนหมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับอนุญาตให้สร้างเป็นวัดที่มีพระสงฆ์ ต้ังแต่วันท่ี 2 กุมภาพันธ์ 2468
ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันท่ี 16 มีนาคม 2509 ตั้งอยู่เลขท่ี 89 หมู่ 3 ตาบลเทพมงคล
อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์หานิกาย มีพระอธิการวิง ปุญฺญธโน
นามสกุล คาเสนาะ ดารงตาแหน่งเป็นเจ้าอาวาสในปี พ.ศ. 2469 และมีเจ้าอาวาสปกครองวัดสุคน-
ธาราม ร่วมกับสาธุชนพัฒนาวัดมาอย่างต่อเนื่องติดต่อกันมาอีกจานวน 6 รูป จนถึงเจ้าอาวาสวัดรูป
ปัจจุบัน ชื่อพระมหานพรักษ์ ขนฺติโสภโณ,ดร. นามสกุล นาเมือง มาดารงตาแหน่งเป็นเจ้าอาวาสในปี
พ.ศ. 2555 จนถงึ ปจั จุบัน

35 Matakee, ประโยชนข์ องสมาธิ. (ออนไลน)์ แหลง่ ท่มี าจาก: http://www.hindumeeting.
com/ forum/index.php?topic.สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 12 มกราคม 2561.

47

วัดสุคนธารามมีท่ีดินท่ีตั้งวัดจานวน 29 ไร่ 2 งาน 64 ตารางวา มีท่ีธรณีสงฆ์ จานวน 5
แปลง จานวน 23 ไร่ 75 ตารางา มอี าคารเสนาสนะ ประกอบดว้ ย

1) อุโบสถ สร้างเมอื่ พ.ศ.2510 เปน็ อาคารคอนกรีตเสริมเหลก็
2) ศาลาการเปรยี ญ สร้างเมอ่ื พ.ศ.2517 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหลก็ พืน้ ไมเ้ นือ้ แขง็
3) วหิ ารพระครูโสภณธรรมธาดา สร้างเมื่อ พ.ศ. 2552 เป็นอาคารจตุรมขุ คอนกรีตเสริม
เหล็ก
4 กฏุ สิ งฆ์ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2531-2536 เปน็ อาคารไม้ทรงไทยชั้นเดยี ว
5 หอสวดมนต์ สรา้ งเมือ่ พ.ศ.2532 เปน็ อาคารคอนกรีตเสริมเหลก็
6 หอฉัน สรา้ งเมอ่ื พ.ศ.2534 เป็นอาคารไมท้ รงไทยชัน้ เดียว
7 ศาลาอเนกประสงค์ สร้างเมอื่ พ.ศ.2537 เป็นอาคารคอนกรตี เสรมิ เหลก็
8 โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม สร้างเมอื่ พ.ศ.2520 เป็นอาคารคอนกรตี เสริมเหลก็
9 กุฏิกรรมฐาน ๕ หลงั สร้างเม่อื พ.ศ.2558 เป็นอาคารทรงไทยคอนกรีตเสริมเหล็ก
10 กาแพงวัดทรงไทยโบราณ กว้าง 0.50 เมตร ยาว 180 เมตร สรา้ งเมอื่ พ.ศ.2559 เป็น
ทรงกาแพงโบราณคอนกรตี เสรมิ เหล็ก
11 ฌาปนสถาน สร้างเมื่อ พ.ศ.2560 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้มีหอ
ระฆงั 4 หลงั โรงครวั 1 หลงั หอ้ งเก็บพสั ดุ 1 หลงั ห้องน้า 21 ห้อง
ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจาอุโบสถ ปางสมาธิ ขนาดหน้าตัก 39 น้ิว สูง 59 นิ้ว
สรา้ งเม่อื พ.ศ.2510
วัดสุคนธาราม ได้รับอนุมัติจาก คณะสงฆ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยาให้เปิดสานักเรียน
โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมอื่ พ.ศ. ๒๔๙๓ และเปิดสอนโรงเรียนพระปริยัติธรรม
แผนกบาลี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ จนถึงปัจจุบัน มีผลการสอบผ่านหลักสูตรแมก่ องธรรมเพิ่มขน้ึ เปน็ ลาดับ
ปัจจุบันวัดสุคนธารามได้รับประกาศจากสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติให้เป็นวัด
อทุ ยานการศกึ ษา เม่อื ปี พ.ศ.2560
ชมุ ชนหมู่ที 2 หมู่ท่ี 3 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

ข้อมลู ท่ัวไป
สถานที่ต้ัง ม. 2 ต. เทพมงคล อ. บางซ้าย จ. พระนครศรีอยุธยา 13270 เน้ือท่ี/พื้นท่ี
80.75 ตร.กม.
สภาพภมู ิอากาศทว่ั ไป ค่อนขา้ งอบอุ่น ไม่รอ้ นจดั และไมห่ นาวจดั

ข้อมลู การปกครอง มีจานวนบา้ น 53 หลงั คาเรือน

ข้อมลู ประชากร
จานวนประชากรชาย 965 คน จานวนประชากรหญงิ 1,027 คนจานวนประชากรท้ังสน้ิ
1,992 คน มปี ระชากรผู้สูงอายุ 163 คน

ความหนาแน่นของประชากร 24.67 คน/ตร.กม36.

36 กรมการปกครอง ,กระทรวงมหาดไทย, “ระบบสถติ ิทางการทะเบียน” มกราคม 2559.

48

ทีต่ ้งั และอาณาเขต

ชุมชนหมู่ที่ 2 และหมทู่ ่ี 3 ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอาเภอบางซ้าย มีอาณาเขตตดิ ต่อกับ
เขตการปกครองข้างเคียงดงั นี้

ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กบั ตาบลสาลี อาเภอบางปลามา้ จงั หวัดสุพรรณบุรี
ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกบั อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั อาเภอลาดบวั หลวง จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ ตาบลสาลี อาเภอบางปลาม้า จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
การแบง่ เขตการปกครอง
องค์การบริหารสว่ นตาบลเทพมงคล ครอบคลมุ พื้นที่ ต. เทพมงคลทงั้ ตาบล
ข้อมลู ด้านเศรษฐกจิ
อาชพี หลัก ได้แก่ เกษตรกรรม (ทานา) รับจา้ ง คา้ ขาย รับราชการ

อาชีพเสรมิ ไดแ้ ก่ รบั จา้ งทัว่ ไป

2.9 งานวิจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

ศรีสดุ า วงศ์วิเศษกุล และคณะ37 ทาการวิจยั เรื่อง รูปแบบการเสรมิ สรา้ งสุขภาพผู้สูงอายุ
โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร พบว่า ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุของ
เขตบางพลัดได้แก่ ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคของกล้ามเน้ือและข้อ และเบาหวาน และ
พบด้วยว่าผู้สูงอายุส่วนหน่ึงมีโรคเร้ือรังมากกว่าหนึ่งโรค เช่น พบเบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงร่วมกับไขมันในเลือดสูง เบาหวานร่วมกับไขมันในเลือดสูง และความดันโลหิตสูง
รว่ มกบั เบาหวานและไขมนั ในเลอื ด

สมบัติ ประจญศานต์ และคณะ38 ทาการวิจัยเร่ือง แนวทางพัฒนาสุขภาวะด้านสังคม
ของผู้สูงอายุในพื้นที่ลาน้าห้วยจระเข้มาก จังหวัดบุรีรัมย์ ผลการวิจัยพบว่า สุขภาวะด้านร่างกาย
ผ้สู ูงอายุส่วนใหญ่ร่างกายแข็งแรงแต่มีโรคประจาตัวท่ีพบมากที่สุด ได้แก่โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และ
โรคความดันโลหิต สามารถเคล่ือนไหวและทากิจวัตรประจาวันได้ด้วยตนเอง แต่ส่วนใหญ่ไม่สามารถ
ข้ึนลงบันไดจากชั้นล่างของอาคารไปยังช้ันบนได้เองเพราะมีอาการปวดขา ปวดเข่า ทาให้เดินลาบาก
ต้องอาศัยคนช่วยพยุง ยังกล้ันปัสสาวะอุจจาระได้ตามปกติ นอนหลับน้อยกว่า 5 ช่ัวโมงต่อวัน
ครง่ึ หน่ึงมกี ารออกกาลังกายอยา่ งสม่าเสมอ

37 ศรีสุดา วงศ์วิเศษกุล และคณะ, “รูปแบบการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน เขตบางพลัด กรงุ เทพมหานคร”,คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ J.10 (2):พฤษภาคม-สงิ หาคม
2559, หน้า 164.

38 สมบัติ ประจญศานต์ และคณะ, แนวทางพัฒนาสุขภาวะด้านสังคมของผู้สูงอายุในพ้ืนที่ลาน้า
ห้วยจระเข้มาก จังหวัดบุรีรัมย์,วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ ปีท่ี 9 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-
ธันวาคม 2557 หน้า 24.

49

เบญจพร สว่างศรี และเสริมศิริ แต่งงาม39 ทาการวิจยั เรื่อง การดูแลสุขภาพตนเองของ
ผสู้ ูงอายุ อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี พบวา่ การศึกษาระดับการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ
ท้งั 3 ด้านโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง(x =3.04 โดยพบว่า ด้านการป้องกันโรคอย่ใู นระดับมาก( x =
3.37) ด้านการส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 2.97) ด้านการฟื้นฟูสุขภาพ อยู่ในระดับ
ปานกลาง ( x = 2.77)

จุรีวรรณ มณีแสง และคณะ40 ทาการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบมีส่วนร่วมต่อสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดปทุมธานี.พบว่า ผู้สูงอายุหลังเข้าร่วมโครงการสร้างเสริม
สุขภาพแบบมีส่วนร่วมมีความรู้ การรับรู้ และความคาดหวังของการปฏิบัติตน และมีพฤติกรรมการ
ดูแลสุขภาพตนเอง สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และจากการ
เปรียบเทียบพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพก่อนและหลัง เข้าร่วมโครงการ พบว่า มีความแตกต่าง
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P < .05) โดยหลังเข้ารว่ มโครงการ ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
การออกกาลังกาย และการจัดการความเครียดอยใู่ นระดบั ดี ซึ่งสงู กว่ากอ่ นเข้ารว่ มโครงกา

กิตติมาพร โลกาวิทย์41 ทาวิจัยเร่ือง ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ของ
ผู้สูงอายุในชุมชนจังหวัดปทุมธานี พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (X 
3.41) เม่ือ พิจารณารายด้านพบว่า ภาวะสุขภาพด้านร่างกาย : ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจาวัน อยู่ในระดับดี (X  3.40 ) และพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุอยู่ในระดับดี (X 
3.11) โดยพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพดีที่สุด ส่วนด้านออกกกาลัง กาย
ส่วนมากอยู่ในระดับไม่ดี ภาวะสุขภาพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมี นัยสาคัญ
ทางสถิติท่รี ะดับ .01 (r = .65) อายุมีความสัมพนั ธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมี นยั สาคัญทาง
สถิติระดับ .01 (r = -.19) สถานภาพสมรสมีความสันพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริม สุขภาพอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (r = .-09) รายได้มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมี
นยั สาคญั ทางสถติ ิ .01 (r = .31) ส่วนเพศไมม่ คี วามสัมพันธก์ ับพฤตกิ รรมส่งเสริมสขุ ภาพ

อรอุมา ปัญญโชติกุล, และคณะ42 ผลของสมาธิบาบัด SKT ในการลดระดับความดัน
โลหิตของผู้ทม่ี ารบั บรกิ าร โรงพยาบาลสิเกา จังหวัดตรงั ผลการศึกษาพบว่า . กลุ่มตวั อยา่ งสว่ นใหญ่มี
ความพึงพอใจต่อการให้บริการในภาพรวม ระดับมากท่ีสุด (M=4.46, SD=0.59) 2. ความคิดเห็นใน
การทาสมาธิบาบัด ในภาพรวมก่อนการทดลอง อยู่ในระดับน้อย (M=2.43, SD=1.09) และหลังการ

39 เบญจพร สว่างศรี และเสริมศิริ แต่งงาม, การดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ อาเภอสามชุก
จงั หวดั สพุ รรณบุรี, วารสาร ว.มทรส.2556, หนา้ 132-133.

40 จุรีวรรณ มณีแสง และคณะ, ประสิทธิผลของการสร้างเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมต่อสุขภาพ
ผู้สูงอายุจังหวัดปทุมธานี,(ออนไลท์)แหล่งท่ีมา www.western.ac.th/m13/elderly2สืบค้นเมื่อวันท่ี 30
กุมภาพนั ธ์ 62.

41 กิตติมาพร โลกาวิทย์,ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ของผู้สูงอายุในชุมชนจังหวัด
ปทมุ ธาน,ี วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทมุ ธานี, ปีท่ี5 ฉบับท่ี1 (มกราคม – เมษายน 2556)หนา้ 194.

42 อรอุมา ปัญญโชติกุล, และคณะ(2557) “ผลของสมาธิบาบัด SKT ในการลดระดับความดันโลหิต
ของผทู้ ่มี ารบั บริการ โรงพยาบาลสเิ กา จังหวดั ตรงั ,”วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง 2557),หน้า 22.

50

ทดลอง อยู่ในระดับมากท่ีสุด (M=4.59, SD=0.69) ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ(p- value
<0.05) ความดันโลหิตหลังการทาสมาธิบาบัดมีระดับความดันโลหิตต่ากว่าก่อนการทาสมาธิบาบัด
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p-value<0.05) ผลการศึกษาน้ีสามารถนาไปใช้ในกลุ่มบุคคลที่เป็นโรค
ความดันโลหิตสงู และกล่มุ บคุ คลโดยท่วั ไป สามารถนาสมาธบิ าบดั ไปประยกุ ต์ใช้ท่บี า้ นได้

พระมหานิพนธ์ มหาธมฺมรกฺชิโต, และคณะ43 ทาการวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการ
ดูแลสุขภาพผูสูงอายุดวยหลักจิตภาวนาในพระพุทธศาสนา ผลการวจิ ัยพบว่า 1. แนวคิดทฤษฎีการ
ดูแลสขุ ภาพผู้สูงอายุในทางพระพุทธศาสนาจะเน้นกระบวนการพัฒนาจติ ด้วยหลักสมถะและวิปัสสนา
2. รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักจิตภาวนาในทางพระพุทธศาสนาคือ การนาหลักจิต
ภาวนาท่ีเหมาะสมกับผู้สูงอายุเช่นอานาปานสติ เมตตาภาวนา สมาธิแนวเคล่ือนไหว มรณัสสติ เป็น
ต้น มาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่นามาจัดเป็นกิจกรรมฝึกอบรมตามกรอบเวลาท่ีเหมาะสมใน 4
ดา้ น คือ กาย จิต สังคม และปัญญา 3. ผลจากการทดลองพบว่าก่อนการอบรมโดยภาพรวมผู้สูงอายุ
ดูแลสุขภาพอยู่ใน ระดับปานกลางแต่หลังการอบรมโดยภาพรวมผู้สูงอายุดูแลสุขภาพอยู่ในระดับมาก
เม่ือ พิจารณาเป็นรายด้านพบวา่ ด้านสังคมด้านปัญญาและด้านจิตใจอยู่ในระดับมากส่วนด้านร่างกาย
อย่ใู นระดบั ปานกลาง มีนยั สาคญั ทางสถติ ิเม่ือเปรียบเทยี บกนั ที่ระดบั .05

พระราเชนทร์ วิสารโท44 ทาการวิจัยเร่อื ง บูรณาการพุทธธรรมกับระบบการดูแลสุขภาพ
ระยะยาว สาหรับผู้สูงอายุของอาเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ ผลการวจิยั พบว่า ในคาสอนทาง
พระพุทธศาสนา การดารงชีวิตอยู่อย่างมีคุณภาพมีความสุขที่แท้จริงเป็นสิ่งสาคัญ จึงสอนให้ปฏิบัติ
ทางกายและจิตใจควบคู่กันไปอย่างพอดีตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา ซึ่งสรปุได้ว่าในหลักภาวนา ๔ เพื่อ
พัฒนาพฤติกรรมทางกาย พัฒนาศีล พัฒนาจิตใจ พัฒนาความรู้ความเข้าใจให้สมบูรณ์พร้อม สาหรับ
การวัดผลการพัฒนาตามหลักภาวนานั้น อาจใช้วิธีตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคล โดยหลักภาวติ ๔
ประการ คอื ภาวตกิ าย มีกายทพ่ี ัฒนาแล้ว ภาวตศิ ีล มีศีลทพี่ ฒั นาแลว้ ภาวติจิต มีจิตพัฒนาแล้ว และ
ภาวติปัญญา มีปัญญาท่ีพัฒนาแล้ว ซึ่งผู้สูงอายุสามารถนามาบรูณาการเพื่อสร้างความสุขในชวีติได ้
โดยมรี ูปแบบกจิ กรรม คอื สุขสบาย สุขสนกุ สขุ สงา่ สุขสว่าง และสุขสงบ

วนัสรา เชาวน์นิยม,และคณะ45 ทาวิจัยเรื่อง แบบแผนการบริโภคอาหาร ภาวะ
โภชนาการ และปจั จัยขบั เคล่อื นชุมชนผสู้ ูงอายุสุขภาพดี โดยใชร้ ูปแบบวิจัยเชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วน
ร่วม (Participatory Action Research: PAR) แบ่งเป็น 3 ระยะดังน้ี ระยะท่ี1 การประเมินสถานะ
สุขภาพกายและแบบแผนการบริโภค เลือกการวัดความดันโลหิต น้าตาลในเลือด ดัชนีมวลกาย ไขมัน

43 พระมหานิพนธ์ มหาธมฺมรกฺขิโต, และคณะ “การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผูสูงอายุดวยหลัก
จิตภาวนา”,วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม(ปีท่ี 4 ฉบับที่ 1 ประจาเดือน มกราคม – มิถุนายน 2560), หน้า 100-
109.

44 พระราเชนทร์ วิสารโท, “บูรณาการพุทธธรรมกับระบบการดูแลสุขภาพระยะยาว สาหรับผู้สูงอายุ
ของอาเภอศรีวิไล จงั หวดั บึงกาฬ”วารสารมหาจฬุ าวิชาการ, (ปที ่ี 4 ฉบับท่ี 2 2560),หน้า 76-91.

45 วนัสรา เชาวน์นิยม,และคณะ, “แบบแผนการบริโภคอาหาร ภาวะโภชนาการ และปัจจัย
ขับเคลื่อนชุมชนผู้สูงอายุสุขภาพดี” ภาควิชาพื้นฐานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
2557

51

ในเลอื ด(การเจาะเลือดจากปลายน้ิว) และโรคประจาตัว กบั ผู้สูงอายุในชุมชนบางพระ จานวน 48 คน
ระยะท่ี 2 การพัฒนารปู แบบการดูแลภาวะโภชนาการและ สุขภาพของผู้สูงอายุ โดยมแี กนนาสุขภาพ
เปน็ กลไกหลกั ในการให้โภชนศึกษาแบบวงน้าชา ให้มีการปรับพฤติกรรมการบริโภคโดยเริ่มต้นจากสิ่ง
ที่ง่าย ไปจนถึงการสร้างกิจกรรมที่สนใจร่วมกันกับผู้สูงอายุ และระยะท่ี 3 การประเมินรูปแบบการ
ดูแลภาวะโภชนาการและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุที่ได้พัฒนาข้ึน โดย (1) ประเมินสถานะสุขภาพ
กายและแบบแผนการบริโภค และชีวเคมีในเลือดซ้า วิเคราะห์เปรียบเทียบชุดข้อมูลท้ัง 2 โดยใช้สถิติ
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย Standard Deviation, Wilcoxon Sign Rank Test และ (2) ถอดบทเรียนการ
เรียนรู้จากผู้เก่ยี วข้อง ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมากกว่าหนึ่งในสามมีภาวะเส่ียงตอ่ โรคอ้วน คือ
มีดัชนีมวลกาย เสน้ รอบเอว และสัดส่วนเอวกับสะโพกเกินเกณฑ์ ปริมาณไขมันในเลือดอยู่ในระดับสูง
และชุมชน น้ีอยู่ในแหล่งอาหารทะเล กลุ่มเสี่ยงทั้งหมดเข้าร่วมกาหนดรูปแบบการดูแลโดยมีแกนนา
สุขภาพและ สมุดบันทึกรายการอาหารและร่วมกิจกรรมต่อเน่ือง 3 เดือนเมื่อเปรียบเทียบผลค่าความ
ดันโลหิต ค่าดัชนีมวลกาย ค่าระดับน้าตาลในเลือด และค่าไขมันในเลือดโดยรวม ก่อนและหลังการ
ทดสอบรูปแบบ ด้วยสถิติ Wilcoxon Sign Rank test พบว่าผู้สูงอายุ มีค่าบ่งชี้สุขภาพดีขึ้นอย่างมี
นัยสาคัญ (p<0.05) สาหรับค่า Mean arterial pressure ค่าดัชนีมวลกาย และค่า Triglyceride มี
การเปล่ียนแปลงอย่าง ไมม่ ีนัยสาคัญ

พระสุนทรกิตติคุณ46 ทาการวจิ ัยเร่ือง หลักพุทธธรรมกบั การดูแลสขุ ภาพแบบองคร์ วมใน
ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุเป็นวัยแห่งความเส่ือมถอย แนวคิดทางพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึงองค์ประกอบใน
การดาเนินชีวิตที่มีองค์รวม 3 ด้าน มีชื่อว่า ไตรสิกขา กล่าวคือ (1) การพัฒนาด้านความสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อม ท้งั ส่งิ แวดล้อมดา้ นกายภาพและส่งิ แวดล้อมทางสังคม เรียกรวมกนั ว่า ศีล (2) การพัฒนา
ด้านจิต และสุขภาพให้เป็นจิตใจที่ดีงาม เข้มแข็ง มีความสุข โดยมีเจตจานงท่ีเป็นกุศล และมีสภาพ
เอ้ือพร้อมต่อการใช้งานทางปัญญา เรียกสั้นๆ ว่า สมาธิ (3) การพัฒนาด้านปัญญา ซึ่งการดาเนินชีวิต
เป็นองค์รวมท้ัง 3 ดังนั้น ต้องอาศัยความสัมพันธ์และเชื่อมโยงถึงกันอย่างต่อเนื่อง และแนวคิดหลัก
ไตรสิกขา สามารถนามาพัฒนา 4 ด้าน คือ ภาวนา 4 การดูแลสุขภาพของผูส้ ูงอายุสู่การดาเนินชีวิตที่
ดีงามได้นั้น หลักไตรสิกขาเพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถนาไปพัฒนา 4 ด้าน คือ ภาวนา 4
ประกอบด้วย กายภาวนา คือ การดูแลตนเองด้ายกายภาพ ศีลภาวนาคือ การดูแลตนเองด้าน
สัมพันธภาพกับผูอ้ ื่น จติ ภาวนา คือการดูแลสภาพจติ ใจตนเอง และปญั ญาภาวนา คือการคิดพิจารณา
ทุกส่ิงทุกอย่างอย่างรอบคอบ บุคคลท่ีปฏิบัติตามหลักภาวนา 4 ย่อมส่งผลให้มีความสุขดีตามมา
เพราะเป็นการดแู ลสุขภาพแบบ องคร์ วมอย่างแท้จรงิ

เจริญ ช่วงชิต47 ทาการการศึกษาเร่ือง สมาธิในพระพุทธศาสนาเถรวาท ผลการศึกษา
พบว่า สมาธิ หมายถึง การมีจิตตั้งมั่นในอารมณ์เดียวในทางกุศล มีปัญญารู้ เข้าใจส่ิงทั้งหลายตาม
ความเป็นจริง เป็นสมาธิที่ควรคู่แก่การใช้งาน สมาธิมี 3 ระดับ คือ ขณิกสมาธิ เป็นสมาธิข้ันต้นท่ีคน

46 พระสนุ ทรกติ ติคุณ, “หลักพุทธธรรมกบั การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผสู้ งู อายุ 12” วารสารมหา
จุฬาวิชาการ, ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (2560),หนา้ 13 -25.

47 เจรญิ ช่วงชติ “เรื่องสมาธิในพระพทุ ธศาสนาเถรวาท” พุทธศาสตรดุษฏีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2557.

52

ท่ัวไป อุปจารสมาธิ เป็นสมาธิข้ันระงับนิวรณ์ 5 และอัปปนาสมาธิ เป็นสมาธิ ระดับสูงสุด สาหรับ
หลักการเจริญสมาธิตามหลักพระพุทธศาสนาเถรวาทมี 2 แบบ คือ (1) สมถกรรมฐาน เป็นการ
ฝกึ อบรมจติ ให้เกดิ ความสงบจนต้งั มั่นเป็นสมาธิ และ(2)วิปัสสนากรรมฐาน เป็นขอ้ ปฏบิ ัติในการฝึกฝน
อบรมเจริญปัญญาให้เกิดความรแู้ จ้งในรูปนามโดยความเป็นไตรลักษณ์ การปฏบิ ัติสมาธจิ ึงเปน็ วิธกี าร
ท่ีจะขัดเกลาจิตใจของมนุษย์ให้ดีได้ เป้าหมายของการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาเถรวาทมี 2 อย่าง
คือ เป้าหมายหลักหรือ เป้าหมายสูงสุดของการฝึกสมาธิ คือ ความหลุดพ้น ประกอบด้วย (1) เจโต
วิมุตติ เป็นความหลดุ พ้นทางจิต (2) ปญั ญาวมิ ุตติ เป็นความหลุดพ้นดา้ นปญั ญา โดยที่เจโตวมิ ุตตเิ ป็น
ผลจากการเจริญสมถะ และปัญญาวิมุตติเป็นผลที่เกิดจากการเจริญวิปัสสนา และเป้าหมายรองที่ให้
ความสาคัญในเรื่อง การนาสมาธิไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาด้านต่างๆ ในชีวิตประจาวัน มีการนา
สมาธิไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับชีวิตประจาวันหลากหลายด้าน เช่น การพัฒนาด้านจิตใจ การ
พัฒนาด้านร่างกายและพฤติกรรม การพัฒนาด้านปัญญา การพัฒนาด้านสังคม โดยการพัฒนาที่ได้
ยกตวั อย่างน้ัน เป็นทีป่ รากฏเปน็ เชิงประจกั ษ์ตามแนวทางวทิ ยาศาสตร์เชงิ พุทธ ท่ีได้รบั การพิสูจนแ์ ล้ว
วา่ สมาธิ นามาใช้และเป็นประโยชนต์ อ่ มวลมนุษยชาติได้จรงิ

กิจจ์ศรัณย์ จันทร์โป๊48 ทาการวิจัยเร่ือง ผลของการสวดมนต์ตามแนวพุทธศาสนา และ
การทาสมาธิแบบอานาปานสตทิ ี่มตี ่อความเครียดของนิสติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ผลการวิจัยพบวา่

1. หลังการทดลองของกลุ่มสวดมนต์ และกลุ่มทาสมาธิแบบอานาปานสติ มีค่าเฉลี่ย
คะแนนความเครยี ด กอ่ นการทดลองและหลังการทดลองแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.
05

2. ค่าเฉล่ียของคล่ืนสมองอัลฟ่า และเบต้า ภายในทั้งสองกลุ่มก่อนการทดลอง ระหว่าง
การทดลองในนาทีท่ี 5, 10, 15, 20, 25, 30 และหลังการทดลอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติท่ีระดับ .05 โดยคล่ืนสมองอัลฟ่าในกลุ่มสวดมนต์เริ่มแตกต่างสูงขึ้นในนาทีท่ี 5-10 เป็นต้นไป
และคลื่นอัลฟา่ ในกลุ่มทาสมาธิเรม่ิ แตกตา่ งสูงขึ้นในนาทที ่ี 0-5 เป็นตน้ ไป

สรุปผลการวิจัย

จากผลการวิจัยสรุปได้ว่าการสวดมนต์ และการทาสมาธิแบบอานาปานสติมีผลทาให้ลด
ระดับความเครียดลงได้ โดยการสวดมนต์สามารถผ่อนคลายความเครียด(คลื่นอลั ฟ่า)ได้ตั้งแต่นาทีที่ 5
เป็นต้นไป สว่ นการทาสมาธแิ บบอานาปานสตสิ ามารถผอ่ นคลายความเครียด(คล่ืนอลั ฟ่า)ได้ต้งั แต่นาที
แรกจนถงึ นาทที ี่ 5

จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ พบว่าผู้สูงอายุท่ัวไปจะมีการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและสมรรถภาพทาให้มีผลโดยตรงต่อสภาวะจิตใจ เพราะลักษณะการ
เปลี่ยนแปลงของวัยสูงอายุจะเป็นการลดอัตราความเจริญ ลงไปสู่ความเส่ือม ซ่ึงทาให้

1. มีผลกระทบอย่างมากทั้งตัวบคุ คลและสง่ิ แวดล้อม

48 กิจจ์ศรัณย์ จันทร์โป๊ “ผลของการสวดมนต์ตามแนวพุทธศาสนา และการทาสมาธิแบบอานา
ปานสติท่ีมีต่อความเครียดของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต,
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ,2556.

53

2. มีความเส่อื มถอยของร่างกายและจิตใจ
3. ความเส่อื มท่ีเกิดจะเพิม่ ขน้ึ ตามลาดบั และ
4. การเปลี่ยนแปลงต่างๆจะบังเกิดให้ผู้สูงอายุเห็นว่าเป็นความเส่ือมถอย เร่ิมมีข้อจากัด
ท้ังตนเองและสังคม ซ่ึงผู้สูงอายุท่ีมีสุขภาพดี จะใช้การปรับตัวท่ีเป็นคุณ บางคนอาจหาทางออกด้วย
การเริ่มต้นชีวิตใหม่ งานใหม่ หรือยอมรับเง่ือนไจตามวัยของตน การปรับตัวของผู้สูงอายุต่างจากวัย
อ่นื ทั้งทีเ่ ป็นการปรับตัวเหมือนกัน
มนุษย์ทุกคนปรารถนาการมีอายุยืน ต้องการมีชีวิตให้นานท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ ความมี
อายุเป็นธรรมชาติที่ไม่อาจยับย้ังได้นอกจากโรคหรืออุบัติเหตุจะคร่าชีวิตไปก่อนวัยสมควร โดย
ธรรมชาติของชีวิตแล้วคนมีอายุยืนได้ไม่ต่ากว่า 100 ปี ปัจจัยท่ีทาให้คนเหล่าน้ันมีอายุยืนอยู่ที่การมี
สุขภาพดี และอยู่ในส่ิงแวดล้อมที่ร่ืนรมย์ มีอากาศบริสุทธิ์เป็นหลัก อย่างน้อยก็ช่วยให้ผู้สูงอายุมีชีวิต
อยไู่ ด้ปกติสขุ เช่นเดยี วกับบคุ คลวัยอื่นๆ โดยไม่ต้องพึ่งพาอาศัย หรือสร้างความลาบากให้แก่ครอบครัว
หรือสังคมที่ตนอยู่ด้วย มีกลุ่มทฤษฏีอยู่ 2 กลุ่ม ท่ีมีความคิดต่างกันแต่เป็นนัยเดียวกัน ว่าแท้จริงอายุ
ยืนอย่ทู ี่กายกับจิตท่จี ะทาให้เกดิ การ “ยนื ”

จากแนวคิดทฤษฎีดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมุ่งหวังให้ผู้สูงวัยสามารถยืนอายุได้ยาวขึ้น เพ่ือไม่
สรา้ งความลาบากใหก้ ับครอบครวั หรือสังคม ดว้ ยการนาหลกั พุทธธรรมท่ีพฒั นาจิตใหเ้ กิดความเชื่อม่ัน
ว่าผู้สงู อายุสามารถทาได้ด้วยตนเอง เกดิ ความตระหนักรับรู้เรื่องการปฏิบัติตนดา้ นการด้วยหลักธรรม
ที่เรียกว่าพละ 5 (Awareness) ต่อจากน้ันก็นาหลักธรรมอิทธิบาท 4 (Attempt) เพื่อให้เกิดความพึง
พอใจ และความพยายามที่จะก้าวข้ามอุปสรรคต่างๆ ด้วยการลงมือปฏิบัติเพ่ือพัฒนา ด้วยหลักธรรม
ภาวนา 4 (Action) ตามตารางปฏิบัติกิจวัตรประจาวันจากข้อตกลงร่วมกันของผู้สูงวัย มีลักษณะ
ยืดหยุ่น เพ่ือให้เกิดปฏกิ ิรยิ า ร่างกายหล่ังสารเอน็ โดรฟิน(สารแห่งความสุข) กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกนั ใน
ร่างกายให้ทางานดีข้ึน ช่วยชะลอความเส่ือมของเซลล์ และมี สุขภาพดี/แข็งแรง/อายุยืน
(Achievement

2.10 กรอบการวจิ ยั

กรอบในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สรุปโดยถอดองค์ความรู้และบทเรียนรูปแบบการ
ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุจากงานวิจัย จากแนวคิด ทฤษฎี และหลักพุทธธรรม นาไปบูรณาการกับวิถี
ชีวิตและบรบิ ทของชมุ ชน กาหนดรปู แบบการวิจัยเชิงทดลอง ดังแสดงในตารางภาพที่ 2.1

54

Input Treatment/process Out-put

ผู้สงู อายุ ทีม่ อี ายุ การดูแลสขุ ภาพ หลักพุทธธรรม ผู้สงู อายุ ทม่ี ีอายุ
60-69 ปี จานวน ผสู้ ูงอายุ 60-69 ปีจานวน

25 คน 25 คน

สภาวะสขุ ภาพ 1. การรบั ประทาน 1. พละ 5 สภาวะสุขภาพ
ผ้สู งู อายุ ด้าน อาหารทมี่ ปี ระโยชน์ 2 อทิ ธบิ าท 4. ผู้สงู อายุ ดที ้ังดา้ น
และเหมาะสม 3. ภาวนา 4 - รา่ งกาย
-ร่างกาย 2. ออกกาลังกาย - สังคม
- จิตใจ เหมาะสม - จติ ใจ
- สงั คม 3. ทาจิตใจใหส้ ดช่นื - ปญั ญา
- ปญั ญา เบิกบาน
4. นันทนาการและ
งานอดิเรก
5. ดแู ลสขุ ภาพชอ่ ง

ปากถูกตอ้ ง

Pre-test Post-test

บทที่ 3

วธิ ีดำเนินกำรวิจยั

3.1 รูปแบบกำรวจิ ัย

การวิจยั การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม คร้ังนี้ใช้การ
วิจัยเชิงทดลองแบบมีส่วนร่วม เพ่ือให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนารูปแบบการดูแล
สุขภาพของผู้สูงอายุ และสามารถนาความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจาวันอย่างถูกต้องได้ คณะผู้วิจัยได้
ศึกษาแนวคิด ทฤษฎเี กี่ยวกับการพัฒนารปู แบบ ทฤษฎีการมีส่วนรว่ ม วิธีการวิจยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมี
ส่วนร่วม และเอกสารงานวิจัยท่เี ก่ยี วข้อง นามาบูรณาการกับฐานข้อมูลของวิถีชีวิตชุมชนซึ่งยึดโยงกับ
หลักพุทธธรรม คณะผู้วิจยั ร่วมกบั ชุมชนสร้างรปู แบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและนาไปทดลองใช้กับ
กลุ่มผู้สูงอายุหมู่ท่ี 2 และหมู่ที่ 3 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วทา
การประเมินผลและพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม แบ่งการวิจัย
ออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้

1. ระยะเตรียมกำร มีรายละเอียด ดังน้ี
ในสัปดาห์ที่ 1 ทาการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของชุมชน ผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุข
ผู้นาชุมชน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบลเทพมงคล ตัวแทนเจ้าหน้าท่ีองค์การบริหารส่วนตาบล
เทพมงคล ตัวแทนเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล ท่ีมีความยินดีและสมัครใจ
เข้าร่วมโครงการ ต้ังแต่ต้นจนส้ินสุดการวิจยั ดาเนินการประสานงานผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุข
ผู้นาชุมชน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบลเทพมงคล ตัวแทนเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตาบล
เทพมงคล เจ้าหนา้ ท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล เพ่ือเชิญชวนเข้าร่วมโครงการศึกษา
พร้อมชแี้ จงวตั ถปุ ระสงคแ์ ละวธิ กี ารดาเนนิ งานให้ชมุ ชนยินดแี ละสมัครใจเข้าร่วมการวจิ ัย
ในสัปดาห์ที่ 2 สร้างสัมพันธภาพกับผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นาชุมชน สมาชิก
องค์การบริหารส่วนตาบลเทพมงคล ตัวแทนเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตาบลเทพมงคล ตัวแทน
เจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล เพือ่ สรา้ งความคนุ้ เคยและสร้างความร่วมมือใน
การดาเนินการวิจัยที่จะมีขึ้น โดยการเข้าไปพบปะพูดคุยและปรึกษาหารืออย่างไม่เป็นทางการเพื่อ
สร้างความคุ้นเคยเปน็ กันเอง พรอ้ มท้งั จัดเตรยี มวสั ดุ อุปกรณ์ ที่จาเป็นตอ้ งใช้ในโครงการฯให้เพียงพอ
ในสัปดาหท์ ่ี 3 ทาการศึกษาข้อมลู และวิเคราะห์สขุ ภาวะปจั จบุ ัน ดงั น้ี

(1) บนั ทึกข้อมูลใบยนิ ยอมของกลมุ่ ตวั อยา่ งในการเขา้ ร่วมโครงการวจิ ัย
(2) ทาการสมั ภาษณเ์ ก็บขอ้ มูลการคัดกรอง ADL
(3) เกบ็ ข้อมลู การประเมนิ ขอ้ เขา่ เสอ่ื ม
(4) เกบ็ ข้อมูลดา้ นการคัดกรองสุขภาพจติ ทีพ่ ึงประสงค์(TMHI – 15)
(5) เกบ็ ขอ้ มลู สว่ นบุคคลของกล่มุ ตัวอย่าง
(6) ร่วมกับแพทย์แผนปจั จุบันตรวจสุขภาวะของกล่มุ ตัวอยา่ งจานวน 9 รายการ

56

2. ระยะดำเนินกำร มรี ายละเอียด ดงั น้ี

ในสัปดาห์ที่ 4- 5 คณะผู้วิจยั ดาเนนิ การจัดประชุมกาหนดกิจกรรมโดยกระบวนการมีส่วน
ร่วม AIC ศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหา ซ่ึงผู้วิจัยได้นากระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม AIC
เพื่อสะท้อนข้อมูลสภาพปัจจุบันของผู้สูงอายุ บริบทของชุมชน สภาพปัญหา และร่วมแสวงหาแนว
ทางแก้ไข เพ่ือจะได้กาหนดกิจกรรมฝึกปฏิบัติให้ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ คือ กาย สังคม ใจ และปัญญา
ร่วมกันพัฒนารูปแบบในการพัฒนาดูแลสุขภาพ ให้ตรงกับความต้องการของผู้สูงอายุและสอดคล้อง
กบั สภาพของชมุ ชน จัดทา(ร่าง)รูปแบบการดแู ลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม นาเสนอในท่ี
ประชุมของภาคีเครือข่ายและกลุ่มตัวอย่างร่วมกันพิจารณา ในประเด็นความสอดคล้องของบริบท
ชมุ ชน ความน่าจะเป็น และความคาดหวงั ดา้ นสขุ ภาพท่ีดขี องผสู้ งู อายุ

คณะผู้วิจัยดาเนนิ การแบ่งกลมุ่ สนทนาออกเป็น 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่

1) กล่มุ ผสู้ ูงอายุ ผู้ดาเนินรายการได้นาเสนอเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ดงั นี้
(1) ปญั หาของผสู้ งู อายใุ นหมู่บา้ น
(2) ปญั หาท่ีทา่ นคิดวา่ สาคัญทสี่ ดุ เก่ยี วกบั ผ้สู งู อายุ
(3) ปัญหาผู้สูงอายุสว่ นใหญเ่ กิดจากสาเหตุใด
(4) มหี น่วยงานใดเข้ามาให้ความชว่ ยเหลือบ้าง
(5) ผู้สูงอายใุ นหมบู่ ้านเข้ามามสี ่วนรว่ มในชุมชนอย่างไรบา้ ง
(6) ปัญหาท่ผี สู้ ูงอายุไมส่ ามารถแก้ไขด้วยตนเอง ทา่ นจะมีวิธีแกไ้ ขได้อยา่ งไรบ้าง
(7) ท่านต้องการใหห้ นว่ ยงานใดเขา้ มาช่วยเหลือในเรอ่ื งใดบา้ ง
(8) ท่านคิดว่าถ้าผู้สูงวัยดูแลสุขภาพตนเองตามหลักพุทธธรรม ด้วยการพัฒนากาย

(กายภาวนา) การพัฒนาด้านสังคม(ศีลภาวนา) การพัฒนาจิต(จิตภาวนา) และการพัฒนาองค์ความรู้
(ปัญญาภาวนา) โดยบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบล ท่าน
คดิ วา่ จะเกิดประโยชน์ และทา่ นจะเข้ามามสี ่วนร่วมในกิจกรรมนไี้ ดห้ รอื ไม่อยา่ งไร

2) กลุ่มตัวแทนผู้นาชมุ ชน หมู่ที่ 2 และหมทู่ ี่ 3 ตาบลเทพมงคล
3) กลุ่มตัวแทนข้าราชการด้านสาธารณสุขและอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่ท่ี 2
และหม่ทู ่ี 3 ตาบลเทพมงคล
คณะผวู้ จิ ยั ไดน้ าเสนอการประชุมกลุม่ การวางแผนแบบมสี ่วนรว่ มในประเดน็ ต่าง ๆ ดงั นี้

(1) ท่านคดิ อยา่ งไรกบั สภาพปญั หาของผ้สู ูงอายุในหมู่บ้าน
(2) ทา่ นมแี นวทางอยา่ งไรที่จะส่งเสรมิ ใหผ้ ู้สูงอายุมีความรใู้ นการดแู ลสุขภาพตนเอง
ใหด้ ขี ึ้น
(3) ท่านคิดว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถท่ีจะช่วยเหลือตนเองได้และผู้อื่นไดอ้ ย่างไร
บคุ ลากรของโรงพยาบาล/อาสาสมคั รสาธารณะสุข จะเขา้ มาช่วยเหลือได้อยา่ งไร
(4) ท่านคิดว่า บุคลากรของโรงพยาบาล/อาสาสมัครสาธารณะสุข จะเข้ามามีส่วน
ร่วมในการสง่ เสริมผูส้ ูงอายุดแู ลสขุ ภาพตนเองดว้ ยหลักพุทธธรรมไดอ้ ยา่ งไร

57

(5) องค์การบริหารส่วนตาบล ได้จัดสรรงบประมาณในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
อย่างไร

(6) ทา่ นคดิ ว่าผสู้ ูงอายจุ ะเข้ามามีสว่ นรว่ มในการดแู ลสุขภาพตนเองอยา่ งไร
(7) ท่านจะมีแนวทางในการจัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุเข้ามาดาเนินงานดูแลสุขภาพ
ตนเองไดอ้ ยา่ งไร

ในสัปดาห์ที่ 5 คณะผู้วิจัยนาผลจากกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม มานาเสนอสุข
ภาวะในภาพรวมให้กลุ่มผู้สงอายุรับฟังเพื่อให้เกิดความตระหนัก รับรู้สุขภาวะโดยรวมของกลุ่ม
ตัวอย่าง คณะผู้วิจัยได้เรียนเชิญเจ้าหน้าท่ีสาธารณะสุขประจาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพ
มงคลมาให้ความรใู้ นการดูแลสุขภาพของผู้สงู อายุ นมิ นตพ์ ระคุณเจา้ มาให้ความรู้เร่ืองหลักพุทธธรรม
ได้แก่ พละ 5 อิทธิบาท 4 และภาวนา 4 นิมนต์พระวิปัสสนาจารย์ได้แนะนาแนวทางการฝึกปฏิบตั ิทั้ง
สมถะกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน นาเสนอภาพวีดิทัศน์ เรื่องการฝึกสมาธิบาบัด k1- k5 พร้อม
ทั้งนาเสนอ(ร่าง)รูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม เพื่อให้ที่ประชุมพิจารณา
เม่ือที่ประชุมให้ความเห็นชอบตาม(ร่าง) คณะผู้วิจัย จึงได้สร้างแบบสัมภาษณ์(เครื่องมือวิจัย) เพ่ือใช้
ในการเกบ็ ข้อมูลต่อไป

ในสัปดาห์ท่ี 6 – 7 นาแบบสัมภาษณ์ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา จาก
ผู้เช่ียวชาญ พร้อมกับรูปแบบการพัฒนาการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุไปทดลองใช้กับผู้สูงอายุท่ีไม่ใช่
กลุ่มตัวอย่างในหมู่ที่ 1 ตาบลเทพมงคล ทาการสัมภาษณ์ ทาการฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามตาราง เป็น
เวลา 2 สัปดาห์ คณะผู้วิจัย ทาการประเมินเครื่องมือด้วยการหาค่าความเชื่อมั่นของเคร่ืองมือ แล้ว
นาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ต่อไป

ในสัปดาห์ท่ี 8 นารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ไปใช้กับกลุ่ม
ตัวอยา่ งไดป้ ฏบิ ตั ิตามตารางกจิ กรรม ตั้งแต่สปั ดาหท์ ี่ 8 ถึงสปั ดาหท์ ี่ 20

3 ระยะประเมินผล มรี ายละเอียด ดงั น้ี
คณะผู้วิจัยทาการประเมินผลด้านระดับความรู้และระดับผลฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพ
ผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ครั้งท่ี 1 (ในสัปดาห์ที่ 20) ตามหลัก กายภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา
และปัญญาภาวนา โดยร่วมกับอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ทาการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างรวบรวมข้อมูล
และข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรค ดาเนินการทบทวนและปรับปรุงตารางการปฏิบัติกิจกรรมใน 4 มิติ
คือ พัฒนากาย พัฒนาศีล พัฒนาจิต และพัฒนาปัญญา แล้วทาการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพ
ผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ให้สอดคล้องกับบริบทของขุมขน สังคม ประเพณี วัฒนธรรมและ
ศกั ยภาพของผู้สูงอายุ
ในสัปดาห์ที่ 21 กลุ่มตัวอย่างลงมือปฏิบัติตามกิจกรรมตั้งแต่สัปดาห์ที่ 21 ถึงสัปดาห์ที่
33 ทาประเมินสุขภาวะ9 รายการ ด้วยแพทย์แผนปัจจุบัน(ปฏิบัติการทางชีวะเคมี เจาะเลือดที่ปลาย
นิว้ ครัง้ ที่ 1)
ในสัปดาห์ที่ 43 คณะผู้วิจัยนัดกลุ่มตัวอย่าง ทาการประเมินตามแบบประเมินระดับ
ความรู้ การประเมนิ ระดับผลฝึกปฏิบัตติ ามหลัก กายภาวนา ศลี ภาวนา จติ ภาวนา และปญั ญาภาวนา
และการประเมินสุขภาวะ 9 รายการ ด้วยแพทย์แผนปัจจุบัน (ปฏิบัติการทางชีวะเคมี เจาะเลือดที่

58

ปลายนิว้ ครั้งท่ี 2) เพ่ือทาการเปรียบเทียบผลความรู้ ผลการฝึกปฏิบตั ติ ามตารางกจิ กรรมในการดแู ลสุขภาพของ
ผูส้ งู อายดุ ้วยหลักพุทธธรรมและผลสุขภาพ

4. ระยะสรปุ ผล มรี ายละเอยี ด ดังน้ี
คณะผู้วิจัยจัดประชมุ ปิดกิจกรรมการวิจัย รายงานผลการปฏิบัติกิจกรรมตามท่ีแต่ละกลุ่ม
นาเสนอ รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ รายงานผลสุขภาวะของกลุ่มตัวอย่างใน
ภาพรวม ข้อคิดเห็นและเสนอแนะจากทุกกลุ่มท่ีร่วมเป็นภาคีจัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติใน 4 มิติ คือกาย
ภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา เพ่ือถอดเป็นบทเรียนนามาเป็นแนวทางในการ
พัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม แล้วจัดทาเป็นคู่มือการดูแลสุขภาพ
ผู้สงู อายุด้วยหลักพทุ ธธรรม ตอ่ ไป

3.2 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง

การวิจัยครั้งนี้ ทาการศึกษาในประชากรหมู่ท่ี 2 และหมู่ท่ี 3 ตาบลเทพมงคล อาเภอบาง
ซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ซึ่งมีประชากรท้ังสนิ้ จานวน 1,149 คน เป็นผู้สูงอายุ จานวน 215 คน
คดิ เป็นร้อยละ 19.1 ของประชากรทง้ั หมด มผี ู้เข้าร่วมในการวิจัยครง้ั นป้ี ระกอบไปด้วย

1) ผู้สูงอายุ ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง และอาศัยอยู่ในตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ซง่ึ มีความยินดีเข้าร่วมในการวจิ ยั จานวน 25 คน ประกอบด้วย

(1) นายวฒั นา ทรงผาสุก 8/1 หมู่ 3
(2) นางดวงจนั ทร์ วงษ์ทองดี 70 หม3ู่
(3) นายไพรสนั ต์ ศรีงาม 78 หมู่ 3
(4) นางสาเริง ศรโี สภา 77 หมู่ 3
(5) นางพเยาว์ บญุ สูตร์ 62 หมู่ 3
(6) นายอานวย วงค์ทองดี 69/2 หมู่ 3
(7) นายขวญั เมอื ง เลก็ สถิน 41/1 หมู่ 3
(8) นางอานวย ฤกษ์โหรา 44/1 หมู่ 3
(9) นางแดง สภุ า 42/1 หมู่ 3
(10) นางศรนี วล ชูตระกูล 95 หมู่ 3
(11) นางฉลวย ภอู่ ยู่ 89/7 หมู่ 2
(12) นางประมยั ร่วมรกั บญุ 86/3 หมู่ 2
(13) นางจาลอง จยุ้ ใจเหิม 157/2 หมู่ 2
(14) นายสุชาติ เลก็ สถนิ 85 / หมู่ 3
(15) นางสรุ ัตน์ โตพนั ธุ์ดี 7/3 หมู่ 3
(16) นายฉลวย แรงถ่นิ 89/7 หมู่ 2
(17) นางมะลิ นยิ มวงศ์ 76 หมู่ 3
(18) นายประพัฒน์ ศรีจาปา 10/ หมู่ 3
(19) นางสุชิน บุญสตู ร 63/1 หมู่ 3

59

(20) นายสวรรค์ วงษท์ องดี 55 หมู่ 3
(21) นางเอมอร จนั ทรอ์ อ่ น 75/6 หมู่ 2
(22) วรรณา โกฏแสง 62/1
(23) นางน่มิ จ่ันวจิ ิตร 56 หมู่ -3
(24) นายวสิ ูตร วงษว์ ิสทิ ธิ์ 53 หมู่ -3
(25) นายสมาน บุญรกั ษา 52 หมู่ -3

2) ตวั แทนแกนนาชมุ ชนท่ีมคี วามยินดเี ข้าร่วมในการวจิ ัยได้แก่ ผู้ใหญ่บ้านหรือผู้ชว่ ย
จานวน 3 คน อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมู่บา้ นหมู่ที่ 2 และหมทู่ ่ี 3 ตาบลเทพมงคล จานวน 7
คน รวมจานวน 10 คน ประกอบดว้ ย

(1) ผ้ใู หญ่สุรศักด์ิ แซ้แต้ หมู่ท่ี 3 ตาบลเทพมงคล
(2) คุณบุญมี เทยี นดี ผ้ชู ว่ ยผู้ใหญ่บ้าน หมูท่ ่ี 2 ตาบลเทพมงคล.
(3) คุณดวงเดอื น วงษ์ทองดี ผชู้ ่วยผใู้ หญ่บา้ น หม่ทู ี่ 3 ตาบลเทพมงคล.
(4) คุณมกุ ดา ชูเจรญิ รตั น์ อสม.หมู่ที่ 2 ตาบลเทพมงคล.
(5) คุณรดั ดา คาคติ อสม.หมทู่ ี่ 4 ตาบลเทพมงคล.
(6) คุณมุกดา ศรีงาม อสม.หมูท่ ่ี 3 ตาบลเทพมงคล.
(7) คุณสมนึก วาดหอม อสม.หมทู่ ี่ 1 ตาบลเทพมงคล.
(8) คุณรชั นี เจรญิ ผล อสม.หมูท่ ี่ 3 ตาบลเทพมงคล.
(9) คุณสมปอง จ่ันวจิ ิตร อสม.หมู่ท่ี 3 ตาบลเทพมงคล.
(10) คุณสุนีย์ แสงนาค อสม.หมู่ท่ี 3 ตาบลเทพมงคล.

3) ตวั แทนหน่วยงานราชการท่ีเก่ยี วข้องหรือผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ได้แก่ ตัวแทนเจ้าหน้าที่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล จานวน 1 คน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบลเทพ
มงคล จานวน 1 คน รวมจานวน 2 คน ประกอบดว้ ย

(1) นายเฉลิมพล จิตรสุทธิทรัพย์ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ รักษาการใน
ตาแหน่งผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลเทพมงคล

(2) คณุ ไพรสนั ศรงี าม สมาชิกองค์การบริหารสว่ นตาบลเทพมงคล หมทู่ ี่ 4
รวมจานวนผูเ้ ข้าร่วมในโครงการวิจยั ทง้ั ส้นิ 37 คน

เกณฑ์กำรพิจำรณำในกำรคดั เลอื กผู้เขำ้ ร่วมโครงกำรวจิ ัย (Inclusion Criteria) ตอ้ ง
มีคุณสมบตั ิ ดังนี้

1) เป็นผู้ที่อาศยั อยู่ในหมทู่ ี่ 2 และ 3 ตาบลเทพมงคลอาเภอบางซา้ ยจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
2) มสี ภาพรา่ งกายแข็งแรง ไม่พิการ สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้
3) สามารถอา่ นออก เขยี นหนังสือได้ หรือตอบคาถามได้
4) มคี วามยินดี และสมัครใจเข้าร่วมโครงการวจิ ยั ตัง้ แต่เร่ิมตน้ จนกระทัง่ สนิ้ สดุ โครงการวจิ ัย

60

เกณฑ์กำรพจิ ำรณำในกำรคดั ออกจำกโครงกำรวจิ ัย (Exclusion Criteria) ต้องขาด
คุณสมบัติ ดงั น้ี

1) ตวั แทนทเ่ี ข้าร่วมโครงการวิจัย ไมย่ ินดที จ่ี ะเขา้ ร่วมโครงการวจิ ัยตอ่ ไป
2) ยา้ ยถ่ินท่ีอยู่อาศยั ในขณะเข้ารว่ มโครงการวจิ ยั

3.3 เคร่อื งมอื กำรวจิ ัย

3.3.1 กำรสรำ้ งเคร่ืองมอื กำรวิจัย

การวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคน

ธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นการวิจัยเชิงทดลองในมนุษย์

(Action Research) โดยใชก้ ระบวนการวางแผนแบบมสี ่วนร่วม (Appreciation Influence Control

: AIC) คณะผู้วิจัยได้ประยุกต์โดยนาเครื่องมือของ วชิราวุธ ผลบุญภิรมย์1 ได้ผา่ นการตรวจสอบความ

ตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ความเชื่อมั่น ได้ 0.74 การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha

Coefficient) ได้ค่าความเช่ือม่ัน 0.81 นามาคัดเลือกประเด็นคาถามท่ีตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย

บูรณาการกับแบบสอบถามของขวัญดาว กล่ารัตน์2 ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงของเน้ือหาจาก

ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ตรวจสอบความเช่อื มนั่ ได้ 0.84 การหาค่าสัมประสิทธแ์ิ อลฟ่า (Alpha Coefficient) ได้

ค่าความเช่ือมนั่ เฉล่ยี 0.92 นามาผนวกกบั การทบทวนวรรณกรรมเอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวขอ้ งตาม

กรอบแนวคิดของการวิจัย สร้างเป็นแบบสัมภาษณ์กลุ่มผู้สงู อายุ มีจานวน 5 ชุด ทาการสัมภาษณ์โดย

ผวู้ ิจัย และผู้ช่วยวจิ ัย อาสาสมัครสาธารณะสุขท่ผี า่ นการอบรมแลว้ ประกอบดว้ ย

ชุดที่ 1 มีท้ังหมด 4 ส่วน คือ ข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความรู้ในการพัฒนารูปแบบการ

ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม แบบประเมินการฝึกปฏิบัติตัวในการพัฒนารูปแบบการ

ดแู ลสุขภาพของผู้สูงอายุดว้ ยหลกั พุทธธรรม และคาถามปลายเปิด

ชุดที่ 2 กับชุดท่ี 3 เป็นแนวทางการสนทนากลุ่ม (Group Discussion Guideline)

สาหรับผสู้ ูงอายุกอ่ น และหลงั การพัฒนารูปแบบการดแู ลสุขภาพผ้สู งู อายดุ ว้ ยหลกั พุทธธรรม

ชุดที่ 4 กับชุดท่ี 5 เป็นแนวทางการสนทนากลุ่ม (Group Discussion Guideline)

สาหรับตวั แทนผู้นาชุมชนและตัวแทนหน่วยงานราชการที่เกี่ยวขอ้ ง ก่อนและหลังการพัฒนารปู แบบการ

ดูแลสขุ ภาพผ้สู งู อายุด้วยหลักพุทธธรรม

เกณฑ์การให้คะแนนและการแปลผล แบ่งตามวธิ กี ารวัด ดงั นี้

1) การวดั ระดับความรใู้ นการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผสู้ ูงอายุด้วยหลกั

พทุ ธธรรม เปน็ ชุดคาถามแบบเลอื กตอบมเี กณฑก์ ารให้คะแนนดงั น้ี

ขอ้ คาถามเชงิ บวก ขอ้ คาถามเชิงลบ

ตอบถูก ให้ 1 คะแนน 0 คะแนน

1 วชริ าวธุ ผลบญุ ภิรมย,์ “การพฒั นาศกั ยภาพการดแู ลสขุ ภาพตนเองของผูส้ ูงอายุ : บ้านเก่างิว้ ตาบล
เก่างิว้ อาเภอพล จงั หวัดขอนแก่น”,ปรญิ ญำสำธำรณสขุ ศำสตร มหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารสาธารณสขุ
บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, 2555.

2 ขวัญดาว กลา่ รตั น,์ “ปัจจยั เชิงสาเหตุของพฤตกิ รรมสุขภาพของผสู้ ูงอายใุ นเขตภมู ภิ าคตะวนั ตกของ
ประเทศไทย”, วิทยำนพิ นธ์ดษุ ฎีบณั ฑิต บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, 2554

61

ตอบไม่ถูก ให้ 0 คะแนน 1 คะแนน

การแปลผลจัดกลุ่มระดบั คะแนนดา้ นความรู้แบบองิ เกณฑ์ของ Bloom3 ดังนี้

ความรรู้ ะดบั สงู คะแนนรอ้ ยละ 80-100

ความร้รู ะดับปานกลาง คะแนนรอ้ ยละ 60-79

ความรู้ระดับต่า คะแนนนอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60

2) การวัดดา้ นการฝกึ ปฏบิ ตั ิตัวในการพัฒนาการดแู ลสขุ ภาพของผู้สูงอายุดว้ ยหลัก

พทุ ธธรรม แบง่ การประเมนิ การฝึกปฏบิ ตั ิเป็น 4 ด้าน คือ

1) การพัฒนากาย(กายภาวนา)

2) การพฒั นาสงั คม(ศีลภาวนา)

3) การพฒั นาจิต(จิตภาวนา)

4) การพัฒนาปัญญา(ปัญญาภาวนา)

3) วิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบให้เลือกตอบ 3 ตัวเลือก วัดระดับการ

ปฏิบัติเป็นแบบประมาณค่า (Rating Scale) มีเกณฑ์การปฏิบัติ 3 ระดับ คือ ปฏิบัติเป็นประจา

ปฏบิ ัตบิ างครัง้ และไม่เคยปฏบิ ัติ มคี วามหมาย ดงั นี้

(1) การปฏิบัติตัวในด้านการพัฒนากาย/สังคม/จิต และปัญญา ท่ีมีประโยชน์และ

เหมาะสม ประกอบดว้ ย

1.1 การฝึกปฏิบัติตัวในการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสม

(กายภาวนา)

1.2 การฝกึ ปฏบิ ตั ติ ัวในการออกกาลังกายทีเ่ หมาะสม (กายภาวนา)

1.3 กาฝกึ ปฏบิ ตั ติ วั ในดา้ นพฒั นาสงั คม (ศีลภาวนา)

1.4 การปฏิบตั ติ ัวในดา้ นการพัฒนาจิต (จติ ภาวนา)

1.5 การปฏบิ ตั ิตัวในดา้ นการพัฒนาปญั ญา (ปญั ญาภาวนา)

(2) การฝึกปฏิบัติตัวเพื่อการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ให้

เลือกตอบเพยี งคาตอบเดียวท่ีตรงกบั การปฏบิ ตั ิของตนเองมากทสี่ ดุ และมีคา่ การใหค้ ะแนน ดงั นี้

ข้อคาถามเชิงบวก ขอ้ คาถามเชิงลบ

ปฏบิ ัติเป็นประจา 2 คะแนน 0 คะแนน

ปฏบิ ตั ิบางครงั้ 1 คะแนน 1 คะแนน

ไมเ่ คยปฏิบัติ 0 คะแนน 2 คะแนน

เกณฑ์การแปลผลค่าคะแนนในการฝึกปฏิบัติเพื่อการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุด้วย
หลักพทุ ธธรรม การแปลผลจัดกลมุ่ ระดบั คะแนนการปฏิบัติ ใช้แบบอิงเกณฑข์ อง Bloom4 ดังน้ี

การปฏิบัตติ ัวถูกตอ้ งระดับดี คะแนนรอ้ ยละ 80-100

การปฏิบตั ติ วั ถูกตอ้ งระดับปานกลาง คะแนนร้อยละ 60-79

การปฏิบตั ติ วั ถกู ต้องระดบั ไม่ดี คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 60

3 Bloom, B.S.,Toxonomy of Education Objective : Handbook 1: Conitive domain,New
York : Devid MCI.1968.

4 Ibid, Bloom, B.S.,Toxonomy of Education Objective.1968.

62

3.3.2. กำรตรวจสอบควำมเช่อื มัน่ ของเคร่อื งมือ (Reliability) เฉพาะแบบสมั ภาษณ์
ผู้วิจัยนาแบบสัมภาษณ์ที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วทาการทดลองใช้ (Try out) กับกลุ่ม

ผู้สูงอายุท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างในหมู่ท่ี 1 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จานวน 15 คน ซง่ึ เป็นหมู่บ้านที่มีลักษณะพื้นท่ีคล้ายคลงึ กับพ้ืนท่ีท่ีทาวจิ ยั ในคร้งั น้ี เพ่ือดูความชัดเจน
ของข้อคาถาม รูปแบบของแบบสมั ภาษณ์ ความเข้าใจของภาษาที่ใช้ การเรียงลาดับ เวลาท่ีเหมาะสม
กิจกรรมท่ีสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน ด้วยวิธีการหาสัมประสิทธิ์แอลฟา (α- coefficient) ของ
คอนบราช Conbrach’s Method)5 ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ ต้องได้ค่าความเช่ือม่ันไม่ต่ากว่า
0.7 แล้วจึงนาไปปรับปรุงแบบสอบถามให้เป็นฉบับสมบูรณ์อีกครั้งหน่ึง ก่อนนาไปใช้เก็บรวบรวม
ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทเี่ ข้าร่วมโครงการวิจัยฯ

3.3.3. กำรวิเครำะหห์ ำคุณภำพเครือ่ งมือแบ่งออกเป็น 2 ด้ำน
1) ด้านความรู้การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมรายข้อ ตรวจสอบ

คณุ ภาพเครอ่ื งมือ โดยหาคา่ ความยาก (P) ต้องได้ค่าความยากอยู่ระหว่าง 0.2 -0.8 การหาอานาจจาแนก(r)
ต้องได้ค่าอานาจ 0.2 ข้ึนไป และแบบวัดความรู้ท้ังหมด หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีการ
ของ Kuder หาค่าความเช่ือม่ัน โดยการใช้สูตร KR-20 ในกรณีเคร่ืองมือเป็นแบบให้คะแนน 0-1 คือ
ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน หาค่าที่ยอมรับหรือเชื่อถือได้ และต้องได้ค่าสัมประสิทธิ์
ตง้ั แต่ 0.7 ขนึ้ ไป

2) ด้านการฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมรายข้อ
ตรวจสอบหาคุณภาพเคร่ืองมือโดยการหาความเชื่อมั่น ด้วยวิธีการของคอนบราช (Conbrach’s
Method) ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ได้ค่าสัมประสิทธ์ิต้ังแต่ 0.7 ข้ึน
ไป6 เพื่อนาไปใช้เปน็ แบบสัมภาษณใ์ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

3.4 กำรเก็บรวบรวมข้อมลู กำรวิจยั

ผ้วู จิ ัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามหลักการเกบ็ ข้อมูลภาคสนามตามขน้ั ตอน ดังนี้

1. ขั้นตอนกำรเตรยี มกำรกอ่ นเก็บข้อมูล มีรายละเอียด ดงั น้ี
1.1 คณะผู้วิจัยทาหนังสือประสานงานถึงผู้เข้าร่วมการวิจัย เพ่ือกาหนดวัน เวลา

สถานทใ่ี นการเกบ็ ขอ้ มูลทว่ี ดั สุคนธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

5 สภุ าเพญ็ จรยิ ะเศรษฐ,์ ควำมร้พู ื้นฐำนเก่ียวกบั กำรวิจยั , สถาบันราชภัฏกาญจนบรุ ,ี 2542, หน้า
115-117.

6 บญุ ธรรม กิจปรดี าบริสทุ ธ.ิ์ , สถติ วิ ิเครำะหเ์ พือ่ กำรวิจยั . (พิมพค์ ร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ : จามจรุ ีโปรดกั ท์.
2549),หนา้ 84.

63

1.2 คณะผู้วิจัยเตรียมผู้ช่วยวิจัย อาสาสมัครสาธารณะสุขโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบลเทพมงคล โดยชี้แจ้งถึงวัตถุประสงค์ลักษณะกลุ่มตัวอย่าง เทคนิค และข้ันตอนในการ
สมั ภาษณ์ ความเข้าใจข้อคาถามและวธิ ีจดบันทกึ

1.3 สร้างสัมพันธภาพกับกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ผู้สูงอายุ ผู้นาชุมชน สมาชิก
องคก์ ารบริหารส่วนตาบล อาสาสมัครสาธารณสขุ ตัวแทนเจ้าหนา้ ที่โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล
เทพมงคล ตัวแทนเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตาบลเทพมงคล เพื่อเป็นการสร้างความคุ้นเคย และ
สร้างการรว่ มมือในการศึกษาโดยแนะนาตัวเอง ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการศึกษาให้ทราบและอธิบาย
ให้เข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถามและให้เวลาสาหรับการตัดสินใจเพ่ือให้การตัดสินใจเข้าร่วมโครงการ
เป็นไปดว้ ยความเข้าใจ โดยอาจทาแบบไมเ่ ป็นทางการกอ่ นเริม่ ทาการประชมุ

2. ขั้นตอนกำรดำเนนิ กำรเก็บข้อมูล

2.1 กำรเก็บข้อมลู เชิงปริมำณ

แหล่งข้อมูลประกอบด้วย 2แหลง่ คอื เอกสารและบุคคล มรี ายละเอยี ดของวิธกี ารเก็บดงั นี้
1) แหล่งข้อมูลเอกสาร ได้แก่ แฟ้มข้อมูลของแบบบันทึกสุขภาพประจาครอบครัว
(Family Folder) ข้อมูลท่ัวไปของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน แหล่งข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบลเทพมงคล
2) แหล่งข้อมูลจากบุคคล เป็นแหล่งข้อมูลประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์กลุ่ม
ผสู้ ูงอายุ โดยจัดเตรียมรายชื่อกลุ่มเปา้ หมายท่ีจะเก็บข้อมูลไว้ใหพ้ ร้อม ก่อนเก็บขอ้ มูลทาการติดต่อนัด
หมายล่วงหน้า ซึ่งเป็นการเก็บข้อมูลคร้ังแรกเชิงบริบทในสัปดาห์ท่ี 1ถึงสัปดาห์ที่ 3 และหลังจาก
ดาเนินการไปแล้ว 20 สปั ดาห์ทาการเก็บข้อมูลผู้สงู อายุคร้ังท่ี 1(Pre-test) สัปดาหท์ ่ี 20) ประเมินผล
สุขภาวะผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการวิจัยด้วยการตรวจเลือดโดยแพทย์แผนปัจจุบัน และสัปดาห์ที่ 43
(Post-test) ทาการเก็บข้อมูลผู้สูงอายุครั้งท่ี 2 สรุปผล/เปรียบเทียบผลการดาเนินงานโครงการดูแล
สุขภาพผสู้ ูงอายุด้วยหลักพทุ ธธรรม

2.2 กำรเก็บข้อมลู เชิงคุณภำพ

แหลง่ ขอ้ มูลที่สาคญั คือบุคคล ได้แก่ ผูส้ งู อายุ ผนู้ าชุมชน สมาชิกองค์การบรหิ ารส่วน
ตาบลเทพมงคล อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่ที่ 2 และหมู่ท่ี 3 ตาบลเทพมงคล ตัวแทน
หน่วยงานราชการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล ตัวแทนหน่วยงานราชการองค์การ
บริหารส่วนตาบลเทพมงคล ซึ่งมีวิธีเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ การสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพ่ือ
ประเมินสภาพท่ัวไปในช่วงก่อนการวางแผน การจัดประชุมตามกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนรวม
A-I-C ผู้วิจัยทาหน้าท่ีเป็นผู้ดาเนินการสนทนา มีการแนะนาตัว ชแี้ จงวัตถุประสงค์พร้อมทั้งให้สมาชิก
แนะนาตัว สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีก่อนที่จะเข้าสู่ประเด็นการสนทนา ขออนุญาตจดบันทึก และ
บันทึกภาพ กระตุ้นให้สมาชิกทุกคนได้มีโอกาสพูดคุยแสดงความคิดเห็นโดยอิสระ เลือกสถานที่
สนทนากล่มุ ทไ่ี ม่มเี สียงดังรบกวนในการสนทนากล่มุ

64

3.5 กำรวเิ ครำะห์ข้อมลู แบ่งเปน็ 3 ส่วน

1) ขอ้ มูลเชงิ ปรมิ ำณ
นาข้อมูลท้ังหมดมาตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน แล้วลงรหัสบันทึกข้อมูลเข้า

โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าหรบั วเิ คราะห์ข้อมลู ขอ้ มูลท่ตี ้องวิเคราะห์ มดี ังนี้
(1) ข้อมูลท่ัวไปของกลุ่มตัวอย่าง ใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วน

เบยี่ งเบนมาตรฐาน ค่าตา่ สดุ – ค่าสงู สดุ นาเสนอในรปู ของตาราง แจกแจงความถ่ี
(2) ข้อมูลระดับความรู้และการฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลัก

พุทธธรรม แปลผลเป็นค่าคะแนนและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลัง
การปรบั ปรงุ รูปแบบฯ ถา้ พบว่าข้อมลู ที่ได้มกี ารแจกแจงปกติใชส้ ถติ ิ Paired t-test

2). ข้อมูลเชงิ คณุ ภำพ

เป็นข้อมูลที่ได้จากการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เจาะลึกและการสังเกตพฤติกรรม
การมีส่วนรว่ ม หลังจากตรวจสอบความถกู ตอ้ งครบถ้วนของขอ้ มลู ทไี่ ดแ้ ล้ว จะนามาแยกเปน็ หมวดหมู่
ตามประเด็นปัญหา จากนั้นทาการตีความหมายของข้อมูลท่ีได้ตามการรับรู้ของผู้ให้ข้อมูล ซ่ึงทั้งหมด
เป็นการวิเคราะห์จากเน้ือหาของข้อมูล (Content Analysis) ท่ีได้จากผู้ให้ข้อมูล เพื่อสรุปเช่ือมโยง
ความสมั พนั ธแ์ ละเหตุผลในการจัดทารปู แบบการดูแลสุขภาพของผ้สู งู อายุดว้ ยหลกั พทุ ธธรรม ต่อไป

3) ข้อมูลกำรตรวจสุขภำพร่ำงกำยผู้สูงอำยุ(ปฏิบัติการชีวะเคมี การเจาะเลือดท่ีปลาย
นิว้ ) จานวน 9 รายการ

3.6 สูตรสถติ ทิ ี่ใช้ในกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู

ในการวิจัยคร้ังน้ีวิเคราะห์ด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมการวิจัยทาง
สงั คมศาสตร์ ดงั นี้

1. คา่ รอ้ ยละ (Percentage)
2. คา่ เฉล่ยี (Mean)
3. สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
4. ถ้าข้อมูลทีไ่ ดม้ ีการแจกแจงปกติจะใช้สถิติ Paired t-test

บทท่ี 4

ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

การวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ในครั้งนี้
เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และแสวงหา
รูปแบบท่ีเหมาะสมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมในหมู่ท่ี 2 และหมู่ท่ี 3 วัดสุคน-
ธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยใช้กระบวนการวางแผนแบบมี
ส่วนร่วม (Appreciation Influence Control : A.I.C) มีผู้เข้าร่วมในการวิจัยประกอบไปด้วย ผู้สูงอายุ
ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบล อาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่ท่ี 2 และหมู่ท่ี 3
ตัวแทนเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล ตัวแทนเจ้าหน้าท่ีองค์การบริหารส่วน
ตาบลเทพมงคล รวมจานวนผู้เข้ารว่ มในการวิจัยทั้งส้นิ 41 คน ผู้วจิ ัยจดั เก็บข้อมูลทง้ั ในเชิงปริมาณและ
เชิงคุณภาพระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2561-ถึง เดือนพฤศจิกายน 2561(42 สัปดาห์) เคร่ืองมือที่ใช้ใน
การวิจัยคร้ังน้ีเป็นแบบสัมภาษณ์ มีจานวน 5 ชุด ซึ่งผู้วิจัยนาเครื่องมือของ วชิราวุธ ผลบุญภิรมย์ กับ
ขวญั ดาว กลา่ รตั น์ มาบูรณาการกบั ผลการทบทวนเอกสารและผลการวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้อง ตามกรอบแนวคิด
ของการวิจัย แล้วจัดทาเป็นเครื่องมือในการวิจัย ตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (Content Validity)
ในเรื่องความรู้และการฝึกปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม โดยผู้เชี่ยวชาญ
จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเชือ่ ม่ันของเคร่ืองมือ (Reliability) ในส่วนของความรู้ในการปฏบิ ัติตวั ใน
การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ใช้การวิเคราะห์หาค่าความเชื่อม่ันด้วยวิธีของ Kuder
– Richardson โดยการใช้ สูตร KR-20 ได้ค่าความเชอ่ื ม่ันเท่ากับ0.74 ส่วนการฝึกปฏิบัติตัวในการดูแล
สุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ใช้วิธีการของคอนบราช(Conbrach’s Method) ด้วยการหาค่า
สัมประสทิ ธิแ์ อลฟา (Alpha Coefficient) ได้คา่ ความเชื่อม่ันเทา่ กับ 0.81 วิเคราะห์ข้อมูลดว้ ยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ในส่วนข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติพรรณนานาเสนอในรูปของตารางแจกแจงความถี่ ค่าร้อย
ละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่าสุดค่าสูงสุด ในส่วนข้อมูลความรู้และการฝึกปฏิบัติในการ
ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม แปลผลเป็นค่าคะแนนและเปรียบเทียบความแตกต่าง
คะแนนเฉล่ียก่อนและหลังการดาเนินการฝกึ ปฏิบัติการดแู ลสุขภาพของผู้สูงอายดุ ว้ ยหลักพทุ ธธรรม โดย
ใช้สถิติ Paired t-test ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเน้ือหา (Content Analysis) เพ่ือสรุป
ความเชอื่ มโยงของเหตแุ ละผล ในประเดน็ ท่ีศกึ ษา ประกอบดว้ ย

4.1 การศึกษาข้อมลู และการวเิ คราะห์ข้อมูลพื้นฐานของสถานทที่ ่ที าการวิจัย
4.2 ผลการจัดประชุมวางแผนโดยกระบวนการมีสว่ นรว่ ม (A–I-C) ของชุมชนในการพัฒนา
รปู แบบการดแู ลสุขภาพของผูส้ ูงอายุด้วยหลักพทุ ธธรรม

66

4.3 การดาเนินงานตามแผน/โครงการ/กิจกรรมท่ีได้จากการประชุมวางแผนแบบมีส่วน
ร่วม

4.4 สรุปผลจากกระบวนการวางแผนแบบมสี วนรว่ ม และการถอดบทเรียน
4.5 องค์ความรู้จากงานวจิ ัยเร่ือง การพัฒนารปู แบบการดแู ลสุขภาพของผสู้ ูงอายุด้วยหลัก
พุทธธรรม

4.1 การศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานของชุมชน และการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันของกลุ่ม
ตัวอย่าง

4.1.1 ประวัตคิ วามเป็นมาของหมู่ที่ 2 และหมู่ท่ี 3 (ชุมชนวัดสุคนธาราม) บ้านบึง
กระสงั (แผงลอย)

ประวัติความเป็นมา
บ้านบึงกระสัง ตั้งอยู่หมู่ท่ี 2 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นหนึง่ หมูบ่ ้านในเขตปกครองของ ตาบลเทพมงคล จากท้ังหมดจานวน 8 หมู่บา้ น
ท่ีเรียกว่า “บ้านบึงกระสัง” เพราะว่าบริเวณน้ันมีผักกระสังขึ้นเต็มไปหมด ท้ังบริเวณทุ่งนา
หนอง บ่อและบึง ลักษณะผักชนิดนี้ต้นใสสะอาด กรอบ หอม เวลาน้าท่วมก็จะตายตามฤดูกาล พอถึง
ฤดูแล้วจะขึ้นมาอกี เป็นพืชล้มลกุ ใช้รับประทานกับนา้ พรกิ

สภาพท่วั ไปของหม่บู ้าน
มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั ตาบลและอาเภอใกลเ้ คียง ดงั นี้

ทศิ เหนือ ติดตอ่ กับ หมู่ท่ี 6,7 ตาบลสาลี อาเภอบางปลามา้ จงั หวดสุพรรณบรุ ี
ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั หมู่ที่ 3,8 ตาบลเทพมงคล จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
ทิศตะวันออก ติดต่อกบั หมู่ที่ 1,4 ตาบลเทพมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกับ หม่ทู ่ี 4 ตาบลบ้านช้าง อาเภอสองพีน่ ้อง จังหวดสพุ รรณบุรี

ลักษณะภูมิประเทศ
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะสาหรับการประกอบเกษตรกรรมและปลูกพืช ผักสวน
ครัว มีพื้นที่ทั้งหมด 2,575 ไร่ เป็นพื้นทที่ างเกษตร 2,340 ไร่ พื้นท่ีอยู่อาศยั 235 ไร่.

ประเพณวี ฒั นธรรม
บา้ นบึงกระสัง ต้ังอยูใ่ นภาคกลางของไทย ประเพณีคล้ายคลึงกับจังหวัดในเขตปกครองภาค
กลางท่ัวไป แต่ท่ีจะมีอีกประเพณีหนึ่งซ่ึงเป็นของกลุ่มชาติพันธุ์ไทพวน คือประเพณี การทาบุญกาฟ้า
หรือคาฟ้า จะมจี ัดงานประเพณกี าฟา้ ในชว่ ง ขนึ้ 3 ค่า เดือน 3 ของไทย เปน็ ประจาทุกปี

ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน
มกี ลุ่มทอผา้ บา้ นบึงกระสัง เป็นการรวมกลมุ่ ของชาวบา้ นทเี่ ปน็ การสบื ทอดวัฒนธรรมและ
อนุรกั ษผ์ า้ ไทยไวใ้ ห้ลูกหลาน และเป็นการเพิ่มรายได้ให้ชุมชนและครอบครัว

67

การรวมกลุ่มของชุมชน ประกอบด้วย กลุ่มทุนหมู่บา้ น กล่มุ ออมทรัพยส์ ัจจะบ้านบึงกระสัง
กลุ่มพัฒนาศักยภาพหมู่บ้าน/ชุมชน SML การรวมกลุ่มอาชีพต่างๆ กลุ่มเยาวชน กลุ่มคณะกรรมการ
พฒั นาสตรรี ะดับหมูบ่ ้าน (กพสม.) และกลุ่มสมาชกิ กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรีกิจกรรม

จานวนประชากร

1) ประชากรทั้งหมดในหมู่บ้าน/ชุมชน ตามทะเบียนบ้าน จานวน 739 คน มีครัวเรือน
จานวน 211 ครวั เรือน แบ่งเปน็ เพศชาย จานวน 363 คน เพศหญิงหญิง จานวน 376 คน

2) ประชากรท่ีอาศัยอยู่จริงในหมู่บ้าน/ชุมชน จานวน 657 คน มีครัวเรือนจานวน 180
ครัวเรือน แบง่ เปน็ เพศชาย จานวน 341 คน จานวน เพศหญงิ หญงิ จานวน 316 คน

บา้ นแผลงลอย

ประวัตคิ วามเปน็ มา
บ้านแผงลอยต้ังอยู่หมู่ท่ี 3 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแต่
เดิมหมู่บ้านนี้ชื่อว่า บึงแขวนหม้อ ไม่มีถนน ไม่มีคลอง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2458 เริ่มมีการพัฒนาโดยการ
ขุดคลองชลประทาน เรียกว่า คลองญ่ีปุ่นเหนือ ประชาชนเดินทางด้วยเรือสาปั่น และเริ่มมีแม่ค้ามา
รวมตัวกนั ปลกู เพิงขายของและมีคนนิยมมาซือ้ จนขยายตัวมีหลายแผง ชาวบา้ นจงึ เรียกว่า บ้านแผงลอย
จนกระทง่ั ทกุ วนั นี้

ทตี่ ้ังอาณาเขต/การปกครอง
ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับหมู่ท่ี 2 ตาบลเทพมงคล จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกบั ตาบลหลกั ชยั อาเภอลาดบวั หลวง จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกับหมู่ที่ 8 ตาบลเทพมงคล จังหวดั พระนครศรีอยุธยา
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับตาบล บ้านชา้ ง อาเภอสองพีน่ ้อง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

ลกั ษณะภมู ิประเทศ
พ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่ราบลุ่ม ทาให้เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรมและปลูก
พชื ผักสวนครัว เปน็ ทุ่งโลง่ ไม่มีปา่ ไม้และภูเขา เมื่อถึงฤดูฝนจะมีฝนตกชกุ เมื่อถึงฤดูน้าหลากน้าในคลอง
จะมีระดับน้าสูง และท่วมปกคลุมพ้ืนท่ีไปท่ัวทั้งทุ่ง มีพ้ืนท่ีท้ังหมด 2,756 ไร่ อยู่ห่างจากอาเภอบางซ้าย
ประมาณ 13 กโิ ลเมตร

ประชากร/ครัวเรือน/รายได้
มคี รวั เรือนจานวน 151 ครัวเรือน มีประชากร รวม 505 คน แบง่ เป็นเพศชาย จานวน 237
คน เพศหญิง จานวน 268 คน

สภาพทางเศรษฐกจิ
อาชีพหลัก ประกอบอาชีพทาการเกษตร ทานา ทาสวน อาชีพรอง ประกอบอาชีพ รับจ้าง
ค้าขาย เลี้ยงสัตว์ รายได้ของคนในหมู่บ้านเฉล่ีย/คน/ปี 70,940 บาท มีพ้ืนท่ีเพาะปลูกเกษตรและทา
การประมง มพี ้ืนทป่ี ลูกขา้ วจานวน 2,121 ไร่

สถานภาพทางสังคม

68

ด้านการศึกษา มโี รงเรียน จานวน 1 แห่ง (โรงเรียนวดั สคุ นธาราม) มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจานวน
1 แห่ง

สถาบันทางศาสนา มวี ัดจานวน 1 แหง่ (วดั สคุ นธาราม)
การสาธารณสุข มศี ูนยส์ าธารณสขุ มลู ฐานชุมชน 1 แหง่ รา้ นขายยา 1 แห่ง
ความปลอดภัยในชีวิต และทรพั ยส์ ิน มีอาสาสมัครตารวจชุมชน อปพร. ในหม่บู ้าน
การบรกิ ารขน้ั พ้ืนฐาน
มีเส้นทางการคมนาคม 8 เส้นทาง มีแหล่งน้าเพ่ือการเกษตรจานวน 2 แห่ง (คลองญี่ปุ่น
เหนือ และ คลองบึงแขวนหม้อ) มีประปาหมู่บ้านจานวน 1 แห่ง มีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน มีส้วมท่ีถูก
สขุ ลักษณะครบทุกครัวเรอื น

กลุ่ม/องค์กร/เครือขา่ ย
มีกองทุนหมู่บ้านจานวน 1 กองทุน กลุ่มเกษตรกรทานาบ้านแผงลอย จานวน 1 กลุ่ม
กลุ่มสตรีเย็บผ้า หมู่ท่ี 3 จานวน 1 กลุ่ม กลุ่มกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี หมู่ท่ี 3 จานวน 1 กลุ่ม แหล่ง
ทอ่ งเทีย่ วในชมุ ชน/ทรัพยากรธรรมชาต/ิ ส่ิงแวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ คลองญี่ป่นุ เหนอื และคลองบงึ แขวนหม้อ

69

4.1.2.โครงสร้างประชากร หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3 (ชุมชนวัดสุคนธาราม) จาแนกตามช่วง
อายุ และเพศ

ตารางที่ 4.1 แสดงจานวนประชากร หมูท่ ่ี ๓ หญงิ รวมทงั้ สน้ิ
หมูท่ ่ี ๒ หญิง ชาย 30 63
16 33 40 85
ชว่ งอายุ (ป)ี ชาย หญงิ ชาย 20 46 50 92
0-4 23 14 10 23 32 40 95
5-9 31 20 15 14 55 43 86
10-14 27 27 15 19 42 32 62
15-19 34 26 21 17 30 42 74
20-24 21 24 21 23 32 28 70
25-29 16 15 14 13 42 37 66
30-34 15 19 17 19 29 42 77
35-39 19 15 23 24 35 38 87
40-44 17 18 12 24 49 36 76
45-49 13 20 22 8 40 40 67
50-54 24 25 14 16 27 27 41
55-59 17 28 23 14 14 61 107
60-64 11 24 16 24 46 599 1,149
65-69 8 13 6 274 550

70 ปีขน้ึ ไป 27 37 19
รวม 303 325 247

ที่มา : โปรแกรมบริการสุขภาพรายบคุ คล HOSxP. โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย
จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา 1 พฤศจิกายน 2561

จากตารางที่ 4.1.พบว่าความหนาแน่นของประชากรจะอยู่ในช่วงอายุ 16-19 ปี มีเพศหญิง
มากกว่าเพศชาย และมีกลุ่มผู้สูงอายุรวม 215 คน คิดเป็นอัตราส่วนประชากรผู้สูงอายุ : ประชากรทั้ง
สองหมูบ่ า้ น 1 : 5

4.2 ผลการจดั ประชมุ วางแผนโดยกระบวนการแบบมสี ว่ นรว่ ม (A–I-C) ของชุมชนใน
การพฒั นารปู แบบการดูแลสขุ ภาพของผสู้ งู อายุดว้ ยหลกั พุทธธรรม

การประชุมวางแผนแบบมีส่วนร่วมโดยใช้เทคนิคกระบวนการ A.I.C ได้จัดประชุมในสัปดาห์
ท่ี 4-5 สัปดาหท์ ี่ 20 และสปั ดาหท์ ่ี 43 ณ ศาลาการเปรียญวัดสคุ นธาราม เป็นสถานท่ีจดั ประชุม มุ่งหวัง
เพื่อ เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุ ตัวแทนชุมชน และตัวแทนของหน่วยงานราชการในท้องถ่ิน ได้แสดงความ
คิดเห็นเกีย่ วกับสภาพปญั หาผู้สูงอายุ ร่วมวางแผนหาแนวทางแก้ปญั หา ร่วมตัดสินใจเลือกแนวทางการ

70

ดาเนินงานเพ่ือพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมซ่ึงสอดคล้องกับวิถีชีวิต
ชองชุมชนที่สัมพันธ์กับพระพุทธศาสนามาอย่างยาวนาน กลุ่มเป้าหมายที่เข้าประชุมในคร้ังนี้
ประกอบด้วย ผู้สูงอายุ ตัวแทนผู้นาชุมชน ตัวแทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตาบลเทพมงคล
อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่ที่ 2 และหมู่ท่ี 3 และเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ ประจาโรงพยาบาลสง่ เสริม
สขุ ภาพตาบลเทพมงคล รวมท้ังส้นิ 37 คน คณะผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินกิจกรรมตามลาดบั ดังน้ี

1) จดั เตรียมวิทยากรการประชมุ วางแผนแบบมีสว่ นรว่ ม จานวน 4 รปู /คน ทาการชีแ้ จง
กระบวนการประชมุ วางแผนแบบมสี ่วนร่วมพร้อมทั้งมอบภารกิจการทาหน้าทผี่ นู้ าการประชมุ

2) ทาหนังสือจากวัดสุคนธาราม เชิญผู้สูงอายุ ตัวแทนผู้นาชุมชน ตัวแทนจากองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินตาบลเทพมงคล อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่ที่ 2 และหมู่ท่ี 3และเจ้าหน้าที่
สาธารณสุขประจาโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลเทพมงคล เพอื่ เขา้ รว่ มประชมุ

3) จัดห้องเรียนพระปรยิ ัตธิ รรมของวัดสคุ นธารามเป็นห้องประฃุม
4) จัดเตรียมเอกสารลงชื่อผู้เข้าประชุม ระเบียบวาระการประชุม อุปกรณ์การประชุมเช่น
กระดาษฟลิ๊บชา้ ท (Flip chart) ปากกาเคมี น้าด่ืม
5) คณะผ้วู จิ ัย เตรียมเครอ่ื งฉายเสนอผ่านเพาเวอร์พ้อยท์ เพ่ือช้แี จงวัตถุประสงค์ และ
ลาดบั ขั้นตอนการประชุม
คณะผู้วิจัยได้ดาเนินการแบ่งกลุ่มผู้เข้าร่วมประชุมออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุ
จานวน 25 คน กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่ท่ี 2 และหมู่ท่ี 3 รวมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ประจาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จานวน 8 คน และกลุ่มตวั แทนผู้นาชุมชน ตัวแทนจากองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นตาบลเทพมงคล จานวน 4 คน เพื่อนาสะท้อนสภาพปัจจุบันของผู้สูงอายุ สภาพ
ปัญหาและบริบทของชุมชน ในหมู่ท่ี 2 และหมู่ที่ 3 มุ่งหวังให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน
(Learning Process of Community) ท่ีนาไปสู่คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุแบบองค์รวมใน 4 ด้าน คือ
ดา้ นกาย ด้านสังคม ด้านจิตใจ และด้านปัญญาด้วยหลักพุทธธรรม เพราะหลักพุทธธรรมสามารถนามา
บูรณาการกับหลักการแพทย์ปัจจุบันในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถ
พัฒนาจิตให้มีพลังในการควบคุมพฤติกรรมทางกาย อารมณ์ ที่ตอบสนองต่อการรับรู้ได้แก่ ตาเห็นภาพ
หูไดย้ ินเสียง จมูกรับรู้กล่นิ ลิน้ รับรรู้ ส และกายรับรกู้ ารสัมผสั (อายตนะภายใน) เสริมสร้างพฤติกรรมใน
การดูแลสุขภาพท่ีถูกต้องเหมาะสม ได้แก่ 1) พละ 5 เป็นการสร้างความตระหนักรับรู้การเปลี่ยนแปลง
ของชีวิตตนเอง ไม่ท้อถอย 2) อิทธิบาท 4 เป็นการสร้างความพยายามเอาชนะความเหน่ือย ความ
เจ็บปวด เกิดความมุ่งม่ันที่จะต้องทาให้ชีวิตตนเองยืนยาว(สุขภาพเป็นสิทธิของทุกคน) และ 3) ภาวนา
4 เป็นการเน้นการลงมือปฏิบัติอย่างสม่าเสมอจนเกิดเป็นความเคยชินในการพัฒนา ซ่ึงจะทาให้เกิด
ความยั่งยืนของการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผสู้ ูงอายุ(Sustainability of Older Persons’ Quality of Life)
เม่ือสิ้นสุดการฝึกปฏิบัติจะได้รูปแบบการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุท่ีเกิดจากพื้นฐานการลงมือฝึกปฏิบัติ
ดว้ ยตนเองอยา่ งสม่าเสมอ

4.2.1 การประชมุ วางแผนแบบมีส่วนร่วมโดยใช้เทคนิคกระบวนการ A.I.C (ในสัปดาห์ท่ี
4-5 ) สรุปไดด้ งั แสดงในตารางท่ี 2-10 จาแนกเปน็ รายกล่มุ .ดังน้ี

71

ตารางท่ี 4.2 แสดงการสรุปผลการจัดประชุมแบบมีส่วนร่วม ในการนาเสนอปัญหา และระดับ
ความสาคัญของปัญหา ของกลุม่ ผูส้ งู อายุ (จานวน 25 คน)

ปัญหาด้าน ประเดน็ ปัญหา จานวนผเู้ สนอ (คน) ความถ่ีร้อยละ
60.00
1. เศรษฐกจิ / เดนิ ทางทีไ่ ม่สะดวก 15 80.00
52.00
คมนาคม ไมม่ พี าหนะหรอื รถประจาทาง 20 56.00
88.00
ขาดแคลนเงนิ 13 80.00
84.00
2. สังคม/ความรู้ อาศัยอยู่คนเดยี ว 14 80.00

ขาดการรวมกลุ่มทากจิ กรรม 22 76.00
80.00
ขาดความรูใ้ นการดูแลสขุ ภาพของตนเองทถ่ี ูกตอ้ ง 20 80.00

ขาดการสร้างสขุ ภาพที่เหมาะสมตามวัย 21 60.00
92.00
ขาดการประชุมวางแผนรวมกลมุ่ 20 84.00
76.00
ขาดผนู้ าและการประสานงานกับหนว่ ยงาน 80.00
92.00
ราชการต่างๆ 19 80.00
60.00
ขาดข้อมลู ขา่ วสารทเ่ี ป็นประโยชน์ 20
80.00
3.การรบั ประทาน ขาดการรบั ประทานอาหารเสรมิ สขุ ภาพ 20
100.00
อาหาร ลูกหลานรีบไปทางานนอกบ้านไม่มีเวลาเตรียม 96.00
96.00
อาหารใหร้ ับประทานได้เต็มท่ีเทา่ ท่คี วร 15

4.จติ ใจ ขาดการสังสรรค์กบั เพื่อนผสู้ ูงอายดุ ว้ ยกัน 23

ไม่มีอาชพี คิดถงึ ลูก-หลาน 21

ขาดการเยี่ยมบ้านจากเจ้าหน้าทขี่ าดโอกาสในการ 19

ท่องเที่ยงพกั ผ่อนหย่อนใจ 20

5.การออกกาลัง ขาดออกกาลงั กายทีส่ มา่ เสมอ 23

กาย ขาดอุปกรณ์ในการออกกาลงั กาย 20

ขาดผูน้ าการออกกาลังกาย 15

ขาดสถานที่สาหรับเป็นศูนย์กลางการออกกาลัง

กาย 20

6.สรปุ ปัญหาท่ี การขาดความรู้ด้านการดแู ลสุขภาพทีถ่ กู ตอ้ ง

สาคญั ทสี่ ุด สาคัญทสี่ ดุ 25

ขาดการออกกาลังกาย 24

ขาดการรับประทานอาหารทถี่ ูกหลกั อนามยั 24

จากตารางท่ี 4.2. พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ มีปัญหาเก่ียวกับการขาดความรู้ด้านการดูแล
สขุ ภาพตนเอง ขาดการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ขาดการรับประทานอาหารท่ีถกู หลักอนามัย ขาด
การพบปะสังสรรค์กบั เพื่อนผู้สูงอายุด้วยกนั ไมม่ พี าหนะหรอื รถประจาทาง

72

ตารางท่ี 4.3 แสดงการสรุปจากผลการจัดประชุมแบบมีส่วนร่วม แนวทางการแก้ไขปัญหา ของกลุ่ม
ผู้สูงอายุ (จานวน 25 คน)

ประเดน็ ปญั หา แนวทาง หมายเหตุ

1. ด้ าน การ อ อ ก -โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพควรเป็นศนู ยก์ ลางในการรวมกลมุ่ ผู้วจิ ัยทาการสังเคราะห์

กาลังกาย ออกกาลงั กาย ประเด็น รวมให้ เป็ น

-จดั ให้มีลานออกกาลังกายสาหรับผสู้ งู อายทุ ีเ่ หมาะสม กลุ่ม แล้วนาเสนอในที่

-จัดหาเคร่ืองมืออุปกรณ์ช่วยในการออกกาลังกายให้คา แนะนา ป ระ ชุ ม เพ่ื อ ข อ ก าร

การดูแลสุขภาพแกผ่ ้สู ูงอายุ รับรองจากท่ีประชมุ

2. ดา้ นจติ ใจผสู้ งู -ควรจัดให้มีกิจกรรมสาหรับผูส้ งู อายอุ ย่างน้อยเดือนละ 2 ครัง้

อายุ -ใหม้ กี ารพบปะกับเพื่อนผสู้ งู อายุเพื่อไม่ใหอ้ ยตู่ ามลาพังคนเดยี ว

-ผ้สู ูงอายุควรเข้าวดั ฟงั ธรรมในวนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา

-เจา้ หนา้ ที่โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลควรมเี วลาออก

แนะนาเย่ียมบา้ น

-องค์การบริหารส่วนตาบลควรจดั ใหม้ ีสวสั ดิการหรอื เบีย้ ยงั ชพี

สาหรับผู้สงู อายเุ พ่มิ ขึ้น

3. ดา้ นความรู้ -ควรมีการจดั กิจกรรมการใหค้ วามรเู้ กย่ี วกับโรคตา่ งๆ

-ควรกระจายความรู้ในการดแู ลสขุ ภาพตนเองของผู้สงู อายผุ า่ น

ทางหอกระจายข่าวประจาหมู่บา้ น

จากตารางที่ 4.3 พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ต้องการได้รับการส่งเสริมในด้านการออกกาลัง
กาย ด้านความรู้เร่อื งโภชนาการ และด้านการพฒั นาจติ ใจตนเอง

73

ตารางท่ี 4.4 แสดงถงึ ความตระหนกั รับรแู้ ละความพยายามในการแก้ไขปัญหา ของกล่มุ ผู้สงู อายุ

ความพยายาม ปญั หาทีส่ ามารถแกไ้ ขได้ ความต้องการความชว่ ยเหลือ หมายเหตุ

แก้ปญั หา

1. ดว้ ยตนเอง -การออกกาลงั กาย อยากมีความรู้ เร่ืองการออกกาลัง ผวู้ จิ ัยทาการสงั เคราะห์

-การรับประทานอาหารที่ถูก กายที่เหมาะสมกับวยั ประเดน็ รวมใหเ้ ป็น

หลักอนามัย ความรูเ้ รื่องโภชนาการ กลุ่ม แล้วนาเสนอในท่ี

-การดูแลสุขภาพ ช่องปาก ความรู้เรอื่ อนามัยชอ่ งปาก ประชมุ เพอ่ื ขอการ

และฟนั ความรู้ในการพัฒนาจติ รบั รองจากที่ประชุม

2.รว่ มมือกบั -การประชาสัมพนั ธ์ให้ -ให้ความรู้ให้กาลังใจแก่ผู้สูงอายุ

หน่วยงานอื่น ความรทู้ างหอกระจายข่าว และเป็นผู้ประสานงานกระจาย

-ให้เจา้ หน้าที่โรงพยาบาล ข่าวสาร ด้านตา่ งๆ

สง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล ต้องการใหผ้ ้ใู หญบ่ า้ น ผูน้ าชุมชน

สนบั สนุนข้อมลู ขา่ วสาร สมาชกิ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล

-ใหอ้ าสาสมคั รสาธารณสุข เทพมงคล อาสาสมัครสาธารณสุข

ประจาหมู่บา้ นและผู้นา หมู่ 2 และ หมู่ 3 เขา้ มาช่วยเหลอื

ชมุ ชนเป็นผปู้ ระชาสัมพันธ์ ด้านการจดั หางบประมาณ

ความรูเ้ กย่ี วกบั การดแู ล สนับสนนุ เงนิ บริจาคต้ังชมรม

สขุ ภาพ ผู้สูงอายใุ ช้ในกิจกรรมต่างๆ ต้ัง

กองทนุ ผสู้ ูงอายุ

สนบั สนุนบทบาทของผสู้ ูงอายตุ ่อ

การมีสว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปญั หา

การดแู ลสุขภาพตนเองของ

ผสู้ งู อายุท่ผี า่ นมา

3. ขอความร่วมมือ -การอบรมให้ความรู้ -ตอ้ งการใหอ้ งคก์ ารบรหิ ารสว่ น

จากหน่วยงานอ่นื -การแก้ไขปญั หาดา้ นรายได้ ตาบลเทพมงคลสนับสนุน

-โครงการและกิจกรรมท่ี งบประมาณอุดหนนุ ใหม้ ชี มรม

ผูส้ งู อายสุ ว่ นใหญ่อยากจะให้ ผสู้ งู อายุ

มี คือ กจิ กรรมทเ่ี ป็นการ -ตอ้ งการใหโ้ รงพยาบาลส่งเสรมิ

สรา้ งรายได้ ----การอบรมให้ สุขภาพตาบลเทพมงคลช่วยเหลือ

ความรดู้ า้ นการออกกาลงั ในด้านการจัดทาโครงการเก่ียวกับ

กาย ผู้สูงอายุ

-ให้ความรู้ด้านการดูแล -การออกเยย่ี มบา้ น

สุขภาพ

จากตารางท่ี 4.4 พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ต้องการมีความรู้ในการออกกาลังกายท่ี
เหมาะสมกับวัย การรู้จักการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ความรู้ในการพัฒนาจิต การเข้าร่วม
กิจกรรมทางสังคม และต้องการได้รับการดูแลจากองค์การบริหารส่วนตาบล โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพอนามยั และผ้นู าชุมชน

74

ตารางท่ี 4.5 แสดงการสรปุ ผลการจดั ประชมุ แบบมีสว่ นร่วม ของกลุ่มตวั แทนแกนนาชุมชนและ
ตัวแทนหนว่ ยงานราชการทเี่ ก่ียวขอ้ ง ดา้ นปญั หาของผสู้ ูงวัย (จานวน 4 คน)

ปัญหาดา้ น ประเด็นปัญหา จานวนผ้เู สนอ ความถ่ีร้อยละ
(คน)
ขาดความรู้ การอุปโภค บรโิ ภคอาหารที่ถกู ตอ้ ง 4 100
อสม. มจี านวนไมเ่ พยี งพอ
3 75.00
ลักษณะผสู้ งู วัย มจี านวนเพ่มิ มากขึ้น ป่วยตดิ เตยี งมากขน้ึ 3 75.00
ระบบการช่วยเหลอื เจา้ หนา้ ท่ีไมเ่ พียงพอ ลูกหลานทิ้งให้อย่ตู ามลาพงั 4 100
ขาดรายได้ ไม่มีงานทา.ในขณะท่วี า่ งจากการดแู ล 4 100
ระบบการดแู ล 4 100
การคมนาคม ลาบากในการเดินทางไปรกั ษาตนเอง

จากตารางที่ 4.5 พบวา่ กลุ่มผนู้ าชุมชนเห็นวา่ ปญั หาดา้ นการขาดความรู้ ระบบการ
ชว่ ยเหลือ ระบบการดูแล และการคมนาคม มปี ัญหามากท่ีสดุ

75

ตารางที่ 4.6 แสดงการสรุปผลการจัดประชุมแบบมีส่วนร่วม ของกลุ่มตัวแทนแกนนาชุมชนและ
ตวั แทนหน่วยงานราชการทีเ่ ก่ยี วข้อง ดา้ นแนวทางปัญหาของผ้สู ูงวัย (จานวน 4 คน)

ปญั หา แนวทางแกป้ ญั หา หมายเหตุ
ขาดความรู้ จัดอบรมใหผ้ สู้ งู วยั ให้มคี วามรเู้ รือ่ งสขุ ลกั ษณะและภาวะเสย่ี ง
อยา่ งถกู ตอ้ ง ผวู้ จิ ยั ทาการสงั เคราะห์
อสม. จดั หา อสม.เพิ่มข้ึนใหเ้ พยี งพอโดยเพม่ิ หมลู่ ะ 4 คน/อบต.ควร ประเดน็ รวมให้เปน็
ลกั ษณะผสู้ งู วยั จัดสรรงบประมาณสนับสนนุ การทางานของ อสม. กลมุ่ แล้วนาเสนอในท่ี
ระบบการชว่ ยเหลอื ลดอตั ราการป่วยตดิ เตียงให้เหลือตา่ สุด ประชมุ เพื่อขอการ
จดั ใหม้ โี ครงการดแู ลผปู้ ว่ ยเร้ือรัง/ผ้ปู ่วยตดิ เตยี งออกเยย่ี ม รบั รองจากท่ีประชมุ
ระบบการดูแล ผู้สูงอายุท่ไี มส่ ะดวกในการเดินทางไปรักษาตนเอง/จัดให้มกี าร
บริการทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ
การคมนาคม ส่งเสริมใหเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมในชุมชน สนับสนนุ การออกกาลงั กาย
/สนับสนนุ ใหผ้ ดู้ ูแลมงี านทาระหวา่ งเฝา้ ผู้ป่วยติดเตียง(รับงานมา
ทาที่บา้ น) ส่งเสริมการฝกึ อาชีพใหผ้ ู้สงู วัย สง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ งู อายุ
ออกกาลงั กาย เขา้ ร่วมกิจกรรมตา่ งๆ

โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลเทพมงคล ควรจดั งบประมาณ
หารถรบั ส่งผสู้ งู วยั ทไี่ มส่ ามารถชว่ ยตนเองได้

จากตารางท่ี 4.6 พบว่า ผู้นาชุมชนมีความเห็นไปในทิศทางเดียวกันในการเสนอแนว
ทางการแก้ปัญหาทุกปัญหาอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรม ได้แก่ การเพิ่มความรู้(ปัญญาภาวนา)ใน
ด้านสุขภาพ ด้านอาหาร การจัดกิจกรรมการออกกาลังกาย(กายภาวนา) กิจกรรมทางสังคม(ศีลภาวนา)
การดูแลเรื่องสขุ ภาพจิต (จิตภาวนา)

76

ตารางที่ 4.7 แสดงการสรุปผลการจดั ประชุมแบบมสี ่วนร่วม ของเจ้าหนา้ ที่โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพ
ตาบลเทพมงคล และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่ท่ี 2 และหมู่ที่ 3 (อสม.) สภาพ
ปญั หาของ กลมุ่ ผสู้ งู อายุ (จานวน 8 คน)

ปัญหาดา้ น ประเด็นปญั หา จานวนผู้เสนอ (คน) ความถร่ี อ้ ยละ
1. รา่ งกาย
ขาดการรับประทานอาหาร/การดแู ลรกั ษาความสะอาด 8 100
2. สงั คม ขาดการออกกาลงั กายทถี่ กู ต้องและเหมาะสม 7 87.50
3. จติ ใจ 8 100
ขาดนนั ทนาการและงานอดเิ รก

ขาดการออกกาลงั กาย /ขาดการฝกึ สมาธิอยา่ งต่อเนอื่ ง

4. การพัฒนาปัญญา ขาดแหล่งเรียนรู้ในชมุ ชน/ขาดห้องสมดุ 8 100
5. การเจ็บปว่ ยดว้ ยโรคเรอื้ งรัง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสงู 8 100

จากตารางท่ี 4.7 พบวา่ ปัญหาของผู้สงู อายุในหมู่บ้านสว่ นใหญ่ คือ ด้านร่างกาย ขาดการ
ออกกาลังกาย การรับประทานอาหารไม่ครบหมู่ การละเลยด้านความสะอาด ขาดการร่วมกิจกรรมทาง
สังคม เช่น การสังสรรค์ การร่วมกนั ปลูกต้นไม้ ขาดแหลง่ เรียนรใู้ นชุมชน/ขาดหอ้ งสมุด และการเจบ็ ปว่ ย
ดว้ ยโรคเรือ้ งรงั เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหติ สูง

77

ตารางที่ 4.8 แสดงการสรุปผลการจัดประชุมแบบมีส่วนร่วม ของกลุ่มเจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบลเทพมงคล และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่ที่ 2 และหมู่ท่ี 3 (อสม.)
ด้านแนวทางปญั หาของผูส้ ูงวัย (จานวน 8 คน)

ปญั หา แนวทางแกป้ ัญหา หมายเหตุ

1.การขาดความรู้การ ให้มีแหล่งเรียนรู้ในชุมชน/สนทนากับเพื่อน คนในครอบครัว/ ผ้วู จิ ยั ทาการสังเคราะห์

ดแู ลตนเอง จัดอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ/.ให้ ประเด็นรวมให้ เป็ น

คาแนะนา/เป็นแบบอย่างที่ดี/ติดตามผลการดูแลสุขภาพ กลุ่ม แล้วนาเสนอในที่

ผู้สูงอายุ/อาสาสมัครและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกไปให้ ป ระ ชุ ม เพื่ อ ข อ ก าร

คาแนะนาอย่างตอ่ เนอ่ื งอย่เู สมอ รบั รองจากที่ประชุม

2.การขาดนันทนาการ จัดกิจกรรมด้านนันทนาการและงานอดิเรก/จัดกิจกรรมออก

และงานอดิเรก กาลงั กายผู้สูงอายุ

3.การ ขาด การฝึ ก ส่งเสริมให้วัดเป็นศูนย์กลางการฝึกสมาธิ จัดกิจกรรมพัฒนา

สมาธิอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ด้านจติ ใจ/สติปัญญา

4.การขาดแหล่งเรยี นรู้ ส่งเสริมให้วัดจัดทาห้องสมุดชุมชน/พิพิธภัณฑ์ชุมชนเป็น

ใ น ชุ ม ช น / ข า ด อทุ ยานทางการศกึ ษา

ห้องสมดุ

5.การเจ็บป่วยดว้ ยโรค ให้ รพ.ส่งเสริมสขุ ภาพตาบล จดั กิจกรรมตรวจสขุ ภาพผ้สู งู อายุ

เร้อื งรงั ด้านโรคเรือ้ รัง/แจกเครื่องอุปโภค/บรโิ ภค

จากตารางที่ 4.8 พบว่า พบว่าแนวทางการแก้ปัญหา มีการนาเสนอในเชิงระบบอย่างเป็น
รูปธรรม ทัง้ 4 ด้าน คือด้านกายภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา

78

ตารางท่ี 4.9 แสดงการสรุปผลการจัดประชุมแบบมีส่วนร่วม ของกลุ่มเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบลเทพมงคล และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมูท่ ี่ 2 และหมู่ที่ 3 (อสม.) ด้าน
ความสามารถในการชว่ ยเหลอื ตนเอง และองค์กรอนื่ ๆ (จานวน 8 คน)

แ น ว ท า ง ก า ร วิธีการ จ าน วน ค ว า ม ถี่ หมายเหตุ

ชว่ ยเหลือ (คน) รอ้ ยละ

ผู้ สู ง อ า ยุ ช่ ว ย การออกกาลงั กาย การรักษาสุขภาพ 8 100 ผู้ วิ จั ย ท า ก า ร

ตนเอง ปากและฟนั สั ง เ ค ร า ะ ห์

องค์กรอ่นื ๆ อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมโดยการ 8 100 ประเด็นรวมให้เป็น
กลุ่ม แล้วนาเสนอ
ให้ความรู้
ในที่ประชุมเพื่อขอ
การแนะนาในการปฏิบัติตัวสารวจ
ก า ร รั บ ร อ ง จ า ก ที่
ผสู้ ูงอายุค้นหากลมุ่ เสี่ยงโรคความดนั โลหิต
ประชุม
สู ง โร ค เบ า ห วา น ป ร ะ ส าน งา น กั บ

หน่วยงานอื่นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

ตาบลเทพมงคลสามารถเข้ามามีส่วนร่วม

โดยการออกให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ

เชิงรุกในพ้ืนที่ชุมชน หมู่บ้าน โดยการให้

ความรู้คาแนะนาเก่ียวกับการดูแลสุขภาพ

ตนเองของผสู้ ูงอายุ

จากตารางที่ 4.9 พบว่า กลุ่มเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล และ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่ท่ี 2 และหมู่ท่ี 3 (อสม.) ทุกท่านมีความเห็นว่า ผู้สูงอายุควรช่วย
ตนเองด้วย ส่วนองคก์ รอื่น ๆกพ็ รอ้ มท่ีจะให้การช่วยเหลอื อ่างเตม็ ความสามารถ

79

สรปุ ข้อมลู จากการประชุมวางแผนโดยกระบวนการมสี ว่ นรว่ ม A-I-C มรี ายละเอียด ดังนี้
ตารางท่ี 4.10 แสดงผลการดาเนินงานตามแผนโดยกระบวนการมสี ว่ นร่วม

กลุ่มที่ 1 Appreciation : A Influence : I Control : C กิจกรรม/งาน ปญั หา/อปุ สรรค

กลมุ่ เข้ า ใ จ ส ภ า พ / ส ถ า น ก า ร ณ์ รู ป แ บ บ ก า ร สู่ ก า ร เลื อ ก รู ป แ บ บ / 1) กจิ กรรมการส่งเสริม ผู้เข้าประชุมมีความ
ผู้สงู อายุ ปัจจุบัน/ปัญหาที่เก่ียวข้อง ค ว า ม ส า เร็ จ (3 0 แนวทาง อ งค์ ค ว า ม รู้ ผู้ สู ง วั ย มุ่ ง มั่ น แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม
25 คน (20 นาที) นาที) 1) การให้ความรู้ในการ ด า เ นิ น ง า น โ ด ย สนใจในการแสดง
1) ปัญ หาการเดิน ทางไม่ 1) ด้ า น ก า ร อ อ ก รับประทานอาหาร การ ค ณ ะ ผู้ วิ จั ย แ ล ะ ความคิดเห็นถึงแนว
สะดวก ไม่มียานพาหนะ อยู่ ก า ลั ง ก า ย ดูแลสุขภาพตนเองของ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ ท า ง ก า ร พั ฒ น า
คนเดียว ขาดแคลนเงิน ไม่ โรงพยาบาลควรเป็น ผสู้ ูงอายุ อสม. สขุ ภาพผู้สงู อายุ แต่ก็
ออกกาลงั กายเป็นประจา ศูน ย์ก ลางจัดให้ มี 2) เสนอ รพ.สต.เทพ 2) รพ.สต.เทพมงคล พบอุปสรรคในการ
2 )ข า ด ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร ดู แ ล ลานออกกาลังกาย ม ง ค ล จั ด ตั้ ง ช ม ร ม รั บ ใน ห ลั ก ก า ร ใน ก า ร เขี ย น ห นั งสื อ แ ต่
สขุ ภาพตนเอง ขาดการสร้าง ให้ คาแ น ะน าก าร ผู้สูงอายุ จัดตั้งชมรมผูส้ ูงอายุ ค ณ ะ วิ ท ย า ก ร ใช้ วิ ธี
สุขภาพที่เหมาะสม ขาด ดแู ลสขุ ภาพ 3) จัดท าปฏิทิ น การ 3) คณะผู้วิจัย จัดทา ช่ ว ย เขี ย น ต า ม ที่
ข้อมลู ข่าวสารเร่อื งสุขภาพ 2) ดา้ นจิตใจ ควรจัด อ อ ก ก า ลั ง ก า ย ใ ห้ (ร่าง) ปฏิทินการดูแล ผ้สู ูงอายุนาเสนอ
3) ข าด ก ารรับ ป ระท าน ให้มีกิจกรรมสาหรับ ผู้ สู ง อ า ยุ ต น เอ ง ก า ร อ อ ก ก า ลั ง
อ า ห า ร เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ผู้สูงอายุอย่างน้อย 4) จั ด ให้ มี ก ารอ อ ก กายตามสมรรถนะ ของ
ลูกหลานรีบไปท างาน ไม่ เดื อ น ล ะ 2 ค ร้ั ง ก า ลั ง ก า ย ต า ม ผู้สงู วยั
เตรยี มอาหารไว้ให้ ส่งเสริมให้เข้าวัดฟัง สมรรถนะและความ 4) เสนอแผนติดตาม
4) ขาดการพบปะสังสรรค์ ธรรม สนใจ เช่น การทาสมาธิ ประเมินผลการปฏิบัติ
ไม่มีอาชีพ คิดถึงลูกหลาน 3) ดา้ นความรู้ ควรมี บาบัด การเดินจงกรม/ ต า ม ป ฏิ ทิ น ก า ร ดู แ ล /
ขาดโอกาสทอ่ งเท่ียว ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ใ ห้ การสวดมนต์ การออกกาลงั กาย
5) ปัญหาท่ีสาคัญที่สุดคือ ความรู้เด่ียวกับโรค 5) ก ารอ อ ก ติ ด ต าม
ข าด ค ว า ม รู้ใน ก า ร ดู แ ล ตา่ งๆ ประเมินสุขภาวะของ
สุขภาพ ขาดการออกกาลัง 4 ) ด้ า น ค ว า ม ผ้สู งู อายุเดอื นละ 1 ครง้ั
ก า ย อ ย่ า ง ส ม่ า เ ส ม อ ชว่ ยเหลือ อยากให้มี
รบั ประทานอาหารไม่ถูกหลัก การต้ังชมรมผู้สูงอายุ
อนามยั กิ จ ก ร ร ม เย่ี ย ม บ้ า น
จัดให้มกี ิจกรรมสรา้ ง
ร า ย ได้ ใ ห้ แ ก่ ผู้ ดู แ ล
ผสู้ งู อายุ

80

ตารางที่ 4.10 (ตอ่ )

กลุม่ ท่ี 2 Appreciation : A Influence : I Control : C กจิ กรรม/งาน ปญั หา/
อุปสรรค
กลุ่ม เ ข้ า ใ จ ส ภ า พ / รู ป แ บ บ ก า ร สู่ ก า ร เลื อ ก รู ป แ บ บ / 1) แนวทางทจี่ ะทาให้
เจ้ า ห น้ า ที่ สถานการณ์ปัจจุบัน/ ค ว า ม ส า เ ร็ จ แนวทาง ผู้ สู ง อ า ยุ ส า ม า ร ถ มี 1 ) ผู้ สู งอ า ยุ ใน
สาธารณสุข ปัญหาท่ีเก่ียวข้อง (20 (30นาที) 1 )ก า ร แ น ะ น า ให้ ความรู้ในก ารดูแล หมู่บ้านส่วนใหญ่
และ อสม. นาท)ี 1 ) จั ด ใ ห้ มี ก า ร ความรู้ การปฏิบัติตัว สขุ ภาพตนเองให้ดีขึ้น ขาดการออก
8 คนo 1) ผู้สูงอายุในหมู่บ้าน อ บ รม ให้ ค ว า ม รู้ ในการดูแลสุขภาพให้ คอื โดยการแนะนาให้ กาลังกาย
ส่วนใหญ่ ขาดความรู้ เ รื่ อ ง สุ ข ภ า พ ถูกต้อง ซ่ึงอาจเป็น ค ว า ม รู้ ก า ร ดู แ ล รั บ ป ร ะ ท า น
เก่ียวกับ การอุป โภ ค ผู้ สู ง อ า ยุ อ ย่ า ง คนในครอบครัวหรือ สุ ข ภ า พ ผู้ สู ง อ า ยุ แ ก่ อาหารไม่ครบหมู่
บริโภคอาหารที่ถูกต้อง ถูกต้อง 2) จัดให้มี ญาติ ให้ถือเป็นหนา้ ที่ ผู้ ดู แ ล ผู้ สู ง อ า ยุ ก า ร ล ะ เล ย ด้ า น
2) จ า น ว น ผู้ สู งอ า ยุ ก า ร บ ริ ก า ร ท่ี มี ท่ีควรปฏบิ ตั ิเสมอ อาสาสมัคร ความสะอาด ขาด
เพ่ิมขึน้ ทกุ ปี ประสิทธิภาพ ผู้นา 2)การส่งเสริมอาชีพ 2 ) เ จ้ า ห น้ า ท่ี การร่วมกิจกรรม
3).มคี วามลาบากในการ ชุมขน ผู้นาท้องถิ่น ให้ ผู้ ดู แ ล ผู้ สู ง อ า ยุ มี ส า ธ า ร ณ สุ ข ค ว ร ท างสั งคม เช่ น
เดินทางไปรักษาตนเอง อสม. ควรร่วมกัน งานทาประจาที่บ้าน ออกไปให้คาแนะนา การสังสรรค์ การ
ดูแ ล ผู้สูงอ ายุติ ด เพ่ือสร้างรายได้ และ อย่างตอ่ เนือ่ งอยู่เสมอ ร่วมกันปลูกต้นไม้
เตี ย ง อ อ ก เย่ี ย ม อ ยู่ ใ ก ล้ ชิ ด ดู แ ล 3)ส่งเสริมให้ มีการ ร า ย ไ ด้ บ า ง
ผสู้ งู อายทุ ี่ไมส่ ะดวก ผ้สู งู อายุด้วย ออกกาลังกาย การ ครอบครัวตา่
ใน ก า ร เดิ น ท า ง ไป 3) การจัดหาจัดสรร รัก ษ าสุขภ าพ ป าก 2) ปั ญ ห าเร่ือ ง
รักษาตนเอง งบประมาณอุดหนุน และฟนั การเจ็บป่วยด้วย
3) โรงพยาบาล เพ่ิมเติมให้แก่ชมรม 4 ) อ า ส า ส มั ค ร โรคเร้ืองรัง เช่น
ส่ งเส ริ ม สุ ข ภ า พ ผสู้ งู อายุ สาธารณสุขมีส่วนรว่ ม โรคเบาหวาน โรค
ตาบลเทพมงคล 4)โรงพ ย าบ าล โดย ก ารให้ ค วาม รู้ ความดันโลหิตสูง
ควรจัดงบประมาณ ส่งเสริมสุขภาพตาบล การแนะนาในการ
หารถรบั สง่ ผู้สูงวยั ที่ เทพมงคลสามารถเข้า ป ฏิ บั ติ ตั ว ส า รว จ
ไม่ ส า ม า ร ถ ช่ ว ย มามีส่วนร่วม โดยการ ผู้สูงอายุ ค้นหากลุ่ม
ต น เ อ ง ไ ด้ 4 ) ออกให้บริการสร้าง เส่ี ย งโรค ค วาม ดั น
ส่ ง เส ริ ม ก า ร ฝึ ก เสริมสุขภาพเชิงรุกใน โ ล หิ ต สู ง
อาชีพให้ผสู้ ูงวัย พ้ืนท่ีชุมชน หมู่บ้าน โรคเบาหวาน และ
5 ) ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ โดย ก ารให้ ค วาม รู้ ป ร ะ ส า น ง า น กั บ
ผู้สูงอายุออกกาลัง ค า แ น ะ น า เก่ี ย ว กั บ หนว่ ยงานอื่น
กาย และ เข้าร่วม ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ
กจิ กรรมตา่ งๆ ตนเองของผ้สู งู อายุ

81

ตารางท่ี 4.10 (ต่อ)

กลุ่มท่ี 3 Appreciation : A Influence : I Control : C กิจกรรม/งาน ปญั หา/
อปุ สรรค
ก ลุ่ ม ผู้ น า เ ข้ า ใ จ ส ภ า พ / รู ป แ บ บ ก า ร สู่ การเลือกรูป แบบ / 1) ส่งเสริมก ารฝึก
ชุ ม ช น / สถานการณ์ปัจจุบัน/ ความสาเรจ็ (30 นาท)ี แนวทาง อาชพี ให้ผสู้ ูงวยั 1) ปัญหาความ
ผู้ แ ท น ปั ญ ห าท่ี เกี่ ยวข้ อ ง 1)จั ด ใ ห้ มี ก า ร อ บ ร ม 1)ผู้นาชุมขน ผู้นา 2)ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ ยากจน
ชุ ม ช น 6 (20 นาที)ปัญหาของ ให้ความรู้เรอ่ื งสุขภาพ ท้องถิ่น อสม. ควร ออกกาลังกาย 2). พ้ืนที่ลุ่มต่าน้า
คน ผู้ สู ง อ า ยุ ใน ห มู่ บ้ า น ข อ ง ผู้ สู ง อ า ยุ อ ย่ า ง ร่วมกันดูแลผู้สูงอายุ 3) เข้าร่วมกิจกรรม ท่วมขัง นาน2-3
สว่ นใหญ่ ถกู ตอ้ ง ติดเตียง ตา่ งๆ เดอื นทกุ ปี
1 ) ข า ด ค ว า ม รู้ 2)จัดให้มีการบริการ 3) ไม่มีรถโดยสาร
เกี่ยวกับการอุปโภค ที่มปี ระสทิ ธภิ าพ วิง่ ประจาทาง
บ ริ โ ภ ค อ า ห า ร ท่ี 3)โรงพ ยาบ าล
ถูกต้อง ส่งเสริมสุขภาพตาบล
2)จาน วน ผู้สูงอ ายุ เท พ มงคล ควรจั ด
เพิ่มขึน้ ทกุ ปี งบ ป ระมาณ ห ารถ
3) ลาบากในการ รั บ ส่ งผู้ สู งวั ย ท่ี ไม่
เดิ น ท า งไป รั ก ษ า สามารถชว่ ยตนเองได้
ตนเอง

จากตารางท่ี 4.10 เปน็ การสรุปรายงานการประชมุ วางแผนโดยกระบวนการมสี ่วนรว่ ม A-I-
C พบวา่ ทีป่ ระชุมทัง้ 3 กลมุ่ เสนอให้ คณะวจิ ัยดาเนินการ ดังนี้

1. จัดให้มีการพัฒนาทางด้านกาย และการรจู้ กั เลอื กรับประทานอาหาร (กายภาวนา)
2. จดั ให้มีการจดั กิจกรรมเพือ่ พฒั นาทางสงั คม(ศีลภาวนา)
3. จัดให้มีการพฒั นาจิตใจ(จติ ภาวนา)
4. จัดใหม้ กี ารพฒั นาความรู้ความสามารถ(ปัญญาภาวนา)

82

คณะผู้วิจัยได้นาเสนอผลการคัดกรองกลุ่มผู้สูงอายุท่ีสมัครใจเข้าร่วมโครงการและเป็นกลุ่ม
ตวั อยา่ งในการวจิ ยั ดงั แสดงในตารางที่ 11-19

4.2.2 สภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ หมู่ท่ี 2 และหมู่ที่ 3 ตาบลเทพมงคล
อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

ผ้สู ูงอายุ ในหมู่ท่ี 2 และหมทู่ ี่ 3 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
ได้รบั การดูแลด้านสุขภาพในเบ้ืองต้นจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล ซ่ึงต้ังอยู่ ณ หมู่ท่ี
2 ตาบลเทพมงคล

ในปี พ.ศ.2561 ในหมู่ที่ 2 และหมู่ท่ี 3 มีผู้สูงอายุจานวน 215 คน ป่วยเป็นโรคเรื้อรังของ
ผูส้ ูงอายุ ดงั แสดงในตารางท่ี 2

ตารางท่ี 4.11. แสดงจานวนและอัตราป่วยโรคเรื้อรังของผู้สงู อายุ หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3 ตาบลเทพมงคล
เรียงตามปรมิ าณ

ลาดับที่ โรค จานวนผ้ปู ว่ ย(คน) อตั ราการป่วย : ผ้สู งู อายุ

1. ความดันโลหติ สูง 60 1:4
1:4
2 ไขมนั ในเลือดสงู 55 1:8

3. เบาหวาน 26

ท่ีมา : ทะเบียนผู้ป่วยเร้ือรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา 1 พฤศจิกายน 2561

จากตารางที่ 4.11. พบว่าผู้สูงอายุในหมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3 ป่วยเป็นโรคเร้ือรังของผู้สูงอายุ
ดา้ นความดันโลหติ สงู จานวน 60 คน คิดเป็นอัตราปว่ ย 1:4 ต่อประชากรผู้สูงอายุ 215 คน ป่วยไขมันใน
เลือดสูงคิดเปน็ อัตราปว่ ย 1 : 4 ตอ่ ประชากรผูส้ งู อายุ 215 คน ป่วยด้านเบาหวานคิดเป็นอตั ราปว่ ย 1:8
ต่อประชากรผ้สู ูงอายุ 215 คน

83

4.2.3 การศกึ ษาข้อมูลและการวเิ คราะห์สภาพการณ์ของผู้สงู อายุในปัจจบุ นั

ตารางที่ 4.12 . แสดงค่าร้อยละของข้อมูลคุณลกั ษณะส่วนบุคคลกลมุ่ ตวั อยา่ ง (n = 25)

คณุ ลกั ษณะส่วนบุคคล จานวน(คน) รอ้ ยละ

เพศ 7 28.0
ชาย 18 72.0
หญิง
1 4.0
อายุ 23 92.0
ตา่ กวา่ 60 ปี
60 – 69 ปี 1 4.0
70 ปี
4 16.0
สถานภาพสมรส 16 64.0
โสด 5 20.0
คู่
หม้าย 21 84.0
1 4.0
ระดับการศึกษา 3 12.0
ระดับประถมศึกษา
สูงกวา่ ปริญญาตรี 1 4.0
อน่ื ๆ 12 48.0
6 24.0
อาชพี หลกั
ไมไ่ ด้ประกอบอาชพี 3 12.0
เกษตรกรรม
แมบ่ า้ น 2 8.0
คา้ ขาย 1 4.0
รบั จ้าง
อื่นๆ 5 20.0
6 24.0
รายไดต้ ่อเดือน 4. 16.0
600 – 2,000 บาท 10. 40
2,001 – 3,000 บาท จานวน(คน) ร้อยละ
3,001 - 4,000 บาท
4,001 – ข้ึนไป 14 56.0

คณุ ลักษณะส่วนบุคคล
แหล่งรายได้

ตนเอง

ตารางท่ี 4.12 (ต่อ) 84
ลกู หลาน
ค่สู มรส 8 32.0
อืน่ ๆ 1 4.0
จานวนผอู้ าศัยในครอบครวั 2 8.0
1 – 3 คน
4 – 6 คน 12 48.0
7 – 10 คน 9 36.0
โรคประจาตัวของผูส้ งู อายุ 4 16.0
ไมม่ โี รคประจาตัว
มโี รคประจาตัว 6 24.0
- โรคเบาหวาน 19 76.0
- โรคความดันโลหิตสูง 6 26.0
- โรคปวดขอ้ เนอ่ื งจากข้ออักเสบ 10 37.0
โรคอน่ื ๆ (ไทรอย/มะเร็ง 7 37.0
การออกกาลังกาย 2 8.0
ไมอ่ อกกาลงั กาย
ออกกาลงั กาย 5 20.0
วธิ ีการออกกาลงั กาย 20 80.0 -

1) เดินเร็วๆ 18 72.0
2) ปนั่ จกั รยาน 2 8.0 -
ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการออกกาลังกาย
1) 10 – 15 นาที 2 8.0
2) 20 – 30 นาที 13 52.0
3) 30 นาที -40 นาที 3 12.0
4) 40 นาที – 1 ชว่ั โมง 2 8.0

การสูบบหุ รี่ 23 92.0
2 8.0
ไม่สบู -
สบู 2 8.0
โอกาสในการสูบ

สูบในทีท่ างาน

ระยะเวลาต้ังแตเ่ ร่ิมสูบ
ระยะเวลาต้ังแต่เรม่ิ สบู

85

ตารางที่ 4.12(ต่อ) 2 8.0 -

1) มากกวา่ 20 ปขี ึน้ ไป 1 4.0
ชนิดบุหร่ที ีส่ ูบ 1 4.0

1) บุหรี่ซอง 23 92.0
2) ยาเส้น 2 8.0 -

การดม่ื เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 2 8.0 -

ไมด่ ื่ม 1 4.0
ด่ืม 1 4.0 -

ชนิดเครือ่ งดื่ม 1 4.0
1 4.0
1) เบียร์
โอกาสในการดมื่
1) ดมื่ เม่ือยามว่าง
2) ด่ืมบางโอกาสตามงานบุญต่างๆ
ระยะเวลาตงั้ แตเ่ ร่มิ ดม่ื

1) น้อยกว่า 10 ปี
2) มากกว่า 10 ปี

ตารางที่ 4.12. พบว่า กลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นผู้สูงอายุ ท่ีสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมการวิจัย มี
จานวน 25 คน ส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญิง รอ้ ยละ 72.0 มีอายุ 60 – 69 ปี ร้อยละ 92. อายเุ ฉลยี่ 64.9ปี มี
อายุสูงสุด 70 ปี ต่าสุด 57 ปี มีสถานภาพสมรส(คู่) ร้อยละ 64.0 มีระดับการศึกษาระดับประถมศึกษา
ร้อยละ 84.0 มีอาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 48.0 มีรายได้ 4,001 บาท/คน/เดือน ขึ้นไป ร้อยละ 40.0
รายได้ต่อปีสูงสดุ 700,000 บาท ต่าสุด 7,200 บาท แหลง่ ท่มี าของรายได้ส่วนใหญ่ได้จากตนเองร้อยละ
14.0 จานวนผู้อาศัยอยู่ในครอบครัวเดียวกัน 1-3 คน ร้อยละ12.0 ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุมีโรคประจาตัว
ร้อยละ 76.0 โดยส่วนใหญ่เป็น โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 37.0 ส่วนใหญ่มีการออก กาลังกาย ร้อย
ละ 80.0โดยวิธีการออกกาลังกายส่วนใหญ่ คือ เดินเร็วๆ ร้อยละ 72.0 ระยะเวลาที่ใช้ในการออกกาลัง
กายส่วนใหญ่ใช้เวลา 20-30 นาที ร้อยละ 52.0 ผู้สูงอายุสูบบุหร่ี ร้อยละ 8.0 โดยเป็นการสูบได้ในที่
ทางาน ร้อยละ 8.0 มากว่า 20 ปีโดยส่วนใหญ่ระยะเวลา ต้ังแต่เร่ิมสูบบุหรี่มากกว่า 20 ปี ร้อยละ 8.0
ชนิดของบุหรี่ท่ีสูบส่วนใหญ่สูบยาเส้น/บุหรี่ซอง ร้อยละ 4.0 เท่ากัน ผู้สูงอายุมีการดื่มสุรา ร้อยละ 8.0
โดยส่วนใหญ่ดื่มบางโอกาสตามงานบุญต่างๆ และเมื่อยามว่าง ร้อยละ 4.0 เท่ากัน ชนิดเครื่องดื่ม ที่
ผู้สูงอายุด่ืมส่วนใหญ่คือเบียร์ ร้อยละ 8.0 ระยะเวลาตั้งแต่เร่ิมด่ืมน้อยกว่า 10 ปี ร้อยละ 4.0 มากกว่า
10 ปี รอ้ ยละ 4.0

86

ตารางท่ี 4.13 แสดงค่าร้อยละของผลการประเมิน ADL. การจาแนกผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพ ตาม
ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวัน (Barthel Activities of Daily Living :ADL)
จาแนกเปน็ รายข้อกอ่ นการเขา้ รว่ มกจิ กรรมฯ (n = 25)

ความสามารถในการดาเนินชีวติ ประจาวนั ปฏบิ ัตเิ องได้ ตอ้ งมคี นช่วย ปฏบิ ัตเิ องไม่ได้
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
1..Feeding (รับประทานอาหาร เมือ่ เตรียม
สารบั ไว้ให้เรียบร้อยต่อหน้า) 72.0 28.0 -

2.Grooming (ล้างหน้า หวีผม แปรงฟนั 100 --
โกนหนวดในระยะเวลา24-28 ชั่วโมง
100 --
ทผี่ ่านมา) 100 --
3.Transfer (ลกุ น่งั จากทนี่ อน หรอื
จากเตียงไปยงั เก้าอี้) 52.0 48.0 -
4.Toilet use (ใชห้ อ้ งน้า) 100 --
5.Mobility (การเคล่ือนท่ีภายใน 56.0 44.0 -
หอ้ งหรือบ้าน) 100 --
6.Dressing (การสวมใส่เสื้อผ้า)
7.Stairs (การขึ้นลงบันได 1 ช้นั ) 100 --
8.Bathing (การอาบนา้ )
9.Bowels (การกล้นั การถ่ายอจุ จาระ 100 --
ในระยะ 1 สปั ดาหท์ ผี่ ่านมา) 88.0 12.0 0.0
10.Bladder (การกลนั้ ปสั สาวะ
ในระยะ 1 สัปดาหท์ ี่ผ่านมา)

เฉลย่ี รอ้ ยละ

จากตารางท่ี 4.13 พบว่า กลุ่มตัวอย่างท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการฝกึ ปฏบิ ตั ิตัวในการดูแลสขุ ภาพ
ตนเองของผูส้ งู อายดุ ว้ ยหลักพุทธธรรมก่อนเข้าร่วมกจิ กรรมเม่อื พจิ ารณาตามความสามารถในการ
ประกอบกิจวัตรประจาวนั สามารถปฏิบัตเิ องได้มคี ่าเฉล่ยี ร้อยละ 88 ต้องมีคนช่วยมคี ่าเฉล่ียร้อยละ
12.0 แตเ่ มื่อพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ กิจวตั รท่ปี ฏิบัติได้ด้วยตนเองมากท่สี ุดไดแ้ ก่ การล้างหนา้ หวีผม
แปรงฟนั โกนหนวดในระยะเวลา การลกุ น่ังจากที่นอน หรือจากเตียงไปยงั เก้าอี้ ใชห้ อ้ งน้า การอาบน้า
การกลั้นการถ่ายอจุ จาระและการกลนั้ ปสั สาวะ ในระยะ 1 สปั ดาหท์ ีผ่ า่ นมา คิดเปน็ ร้อยละ 100
ตามลาดบั กิจกรรมท่ีต้องมีคนชว่ ยแก่ การขึน้ ลงบันได 1 ชน้ั การเคลอ่ื นที่ภายในหอ้ งหรือบา้ น คดิ เปน็
ร้อยละ 56.0 และ 52.0 ตามลาดับ


Click to View FlipBook Version