The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-13 10:41:22

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

237

ภาพกิจกรรม (ตอ่ )

ภาพท่ี 9 ผเู้ ขา้ รว่ มวิจยั แบง่ กลมุ่ เปน็ 3 กลมุ่ ภาพท่ี 10 ผทู้ าํ วจิ ัยสรปุ การเกบ็
แสดงความคิดเหน็ รวบรวมข้อมลู วิจัย

ภาพท่ี 11 คณะผู้วจิ ัยและผ้เู ข้าร่วมการวจิ ัยเร่ือง การพฒั นารูปแบบการดูแลสุขภาพ
ของผ้สู ูงอายดุ ้วยหลกั พุทธธรรม

ประมวลภาพการทาวิจัย(รอบที่ 2 )

238

ประมวลภาพการทาวิจยั (รอบท่ี 2)

เรื่อง การพฒั นารปู แบบการดูแลสุขภาพของผู้สงู อายุด้วยหลกั พุทธธรรม
ณ วัดสคุ นธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

สปั ดาห์ที่ 20 (30 มิถนุ ายน พ.ศ.2561)

ภาพท่ี 1 ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยรบั ฟังการ ภาพที่ 2 คณะทําวิจัยผ้สู อบถามปญั หา
บรรยายวิทยากรจากวทิ ยากร
สุขภาพจากกลมุ่ ผูเ้ ข้ารว่ มวิจัย

ภาพที่ 3 คณะผูจ้ ดั ทําวจิ ยั บรรยายการพัฒนารปู แบบ ภาพท่ี 4 ผูเ้ ขา้ โครงการวิจัยรบั ฟังการ

การดูแลสขุ ภาพของผู้สูงอายุดว้ ยหลักพทุ ธธรรม บรรยายจากวิทยากร

ภาพที่ 5 กลมุ่ ผเู้ ข้าร่วมการวิจยั รว่ มกัน ภาพท่ี 6 พระวิทยากรสาธติ การบําบดั ดว้ ย
ทาํ กจิ กรรมตามท่วี ิทยากรรมสาธติ การนง่ั สมาธิ

239

ภาพที่ 7 วทิ ยากรผ้ดู ําเนินโครงการวิจยั คณาจารยว์ ิทยาลัยสงฆส์ ุพรรณบรุ ีศรสี ุวรรณภมู ิ
บรรยายขนั้ ตอนการทําวิจยั มจร. สุพรรณบุร(ี ประชุมผ้รู ับผดิ ชอบงานวิจัย)

ภาพท่ี 8 คณะพระนสิ ติ มหาวทิ ยาลยั มหา ภาพที่ 9 พระวทิ ยากรสาธิตการทาํ สมาธิและดูแล
จฬุ าลงกรณราชวิทยาลัยผูร้ ว่ มทํา สขุ ภาพของผสู้ ูงอายุดว้ ยหลักพทุ ธธรรม
โครงการวิจยั

240

ประมวลภาพการทาวิจยั (รอบท่ี 3)

เร่อื ง การพฒั นารปู แบบการดูแลสขุ ภาพของผูส้ งู อายดุ ้วยหลกั พุทธธรรม
ณ วัดสุคนธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

สัปดาห์ 43(29 ธนั วาคม พ.ศ.2561

ภาพท่ี 1 หวั หน้าโครงการวจิ ยั วางแผน ภาพที่ 2 รองหวั หน้าโครงการวจิ ยั กลา่ ว
งาน วัตถปุ ระสงค์ของโครงการข้นั ตอนการทาํ วจิ ยั

ภาพที่ 3 ผู้เขา้ ร่วมวิจัยรบั การซกั ถามประวตั ิ ภาพที่ 4 คณะแพทย์บรรยายและตอบ
สขุ ภาพ คําถามเร่ืองปญั หาสขุ ภาพ

241

ภาพกจิ กรรม(ตอ่ )

หวั หน้าโครงการเซ็นต์ช่ือตรวจ ภาพท่ี 5 ผ้เู ข้าร่วมวจิ ยั รับฟังการบรรยายจากวทิ ยากร
เยย่ี มโครงการ

ภาพที่ 6 วทิ ยากรบรรยายเร่ืองการดแู ลสขุ ภาพด้วย ภาพที่ 7 วิทยากรบรรยายเร่ืองการดแู ล
หลกั พทุ ธธรรม(ผ้ชู านาญการทางวชิ าการ) สขุ ภาพด้วยหลกั พทุ ธธรรม

242

ภาพที่ 8 ผ้ทู าวจิ ยั กลา่ วสรุปการทาวจิ ยั และปิดการ ภาพที่ 9 นานสิ ติ มจร สพุ รรณบรุ ี.มาร่วม
บรรยายโครงการวจิ ยั กิจกรรมเสริมในโครงการวจิ ยั

ภาพท่ี 10 ผ้เู ข้าร่วมโครงการวิจยั รับฟังสรุปงานวจิ ยั ภาพที่ 11 คณะผูท้ ําวจิ ยั และผ้รู ว่ มโครงการวจิ ยั

243

ภาคผนวก ฉ

แบบสรุปโครงการวิจัย

244

แบบสรปุ โครงการวจิ ยั

สถาบนั วจิ ยั พทุ ธศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย

สญั ญาเลขท่ี MCU RS 610761310

ช่อื โครงการ การพฒั นารปู แบบการดแู ลสขุ ภาพของผสู้ งู อายุด้วยหลัก

พุทธธรรม: วดั สุคนธาราม อําเภอบางซ้าย

จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

หวั หน้าโครงการ พระครูโสภณวีรานวุ ตั ร,ดร., พระมหานพรกั ษ์ ขนฺตโิ สภโณ,ดร.

พระครสู ุวรรณจันทนิวิฐ, เอกมงคล เพช็ รวงษ์,

วิภาดา พรมขนุ ทด

ความเปน็ มาและความสาคัญ

ประเทศไทยจําเป็นตอ้ งเตรียมตัวรบั มือกับสถานการณ์ประชากรสูงวัยอย่างรวดเร็ว การมี
สดั ส่วนของประชากรผู้สูงอายุมากขึ้นจะเป็นการเพ่ิมภาระของรัฐ สังคม ชุมชน และครอบครัวที่ต้อง
คอยดูแลสุขภาพ ค่าใช้จ่ายในการยังชีพ รวมทั้งสถานที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมกับผู้สูงวัย สุขภาพ
ผู้สูงอายุของไทยมีแนวโน้มเสื่อมถอยหลายด้านพร้อม ๆ กัน ส่วนหนึ่งอาจเกิดจากความจํากัดในการ
เข้าถึงบริการสุขภาพโดยเฉพาะอย่างย่ิงครัวเรือนท่ีผู้สูงอายุอาศัยโดยลําพัง และ/หรือประสบความ
ยากลําบากในการเดินทาง ความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลําพัง
เพ่ิมสูงขึ้น และเข้าถึงบริการได้น้อยกว่าผู้สูงอายุในครัวเรือนที่มีญาติหรือผู้ดูแลอยู่ด้วย รวมท้ังการ
เข้าถึงบรกิ ารขนส่งโดยสารสาธารณะที่ต้องมีค่าใช้จ่ายเพ่ิมสูงข้ึน บริบทชุมชนวัดสุคนธาราม ในหมู่ที่
2 และหมู่ที่ 3 มีลักษณะการอยู่อาศัยตามลําพังคนเดียวมีอัตราส่วนเพ่ิมมากข้ึน มีรายได้หลักจาก
การเกษตร มีรายได้ตํ่ากว่าเส้นความยากจน แหล่งรายได้หลักจากบุตรลดลงอย่างต่อเนื่อง และส่วน
ใหญ่ผู้สูงอายุยังทํางานอยู่ การขาดแคลนการบริการรถโดยสารในพื้นที่แห่งน้ีซึ่งมีความรุนแรง
มากกว่าในเขตอื่นๆ จึงร่วมกับองค์กรทุกภาคส่วนวางแผนการดูแลผู้สูงอายุ (Healthy aging) แบบ
บูรณาการทั้งในด้านสุขภาพ กาย จิตใจ สังคม สามารถพ่ึงตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตท่ีดีตามศักยภาพ
และมีการปรับตัวจากวัยหน่ึงสู่วัยหนึ่งอย่างราบร่ืน จึงทําการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมข้ึน
โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การดูแลสุขภาพ และแนวทางการพัฒนารูปแบบท่ี
เหมาะสมในการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม โดยกําหนดพื้นที่ในการวิจัยในหมู่ที่
2 และหมู่ท่ี 3 วัดสุคนธาราม ตาํ บลเทพมงคล อําเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และทําการ
ทดลองกับกล่มุ ตวั อย่างทส่ี มัครใจเข้ารว่ มโครงการวิจยั

วัตถปุ ระสงค์โครงการวจิ ัย
1. เพ่ือวเิ คราะห์สถานการณ์ผสู้ ูงอายุ และสภาพการดูแลสุขภาพของผ้สู งู อายขุ องชมุ ชน

วัดสุคนธาราม ตําบลเทพมงคล อําเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
2. เพือ่ ประเมินรปู แบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมของวัดสคุ น

ธาราม ตาํ บลเทพมงคล อาํ เภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

245

3. เพ่ือพัฒนารูปแบบการดแู ลสุขภาพของผ้สู งู อายดุ ว้ ยหลักพทุ ธธรรมของวดั สุคนธาราม
ตาํ บลเทพมงคล อําเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

ผลการวิจยั พบวา่

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุเฉล่ีย 64.9 ปี มีสถานภาพ
สมรส(คู่) สําเร็จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา มีอาชีพหลักทางการเกษตร มีรายได้ด้วยตนเอง
ตั้งแต่ 4,001 บาทขึ้นไป มีผู้อยู่อาศัยร่วมในครอบครัว 1-3 คน ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง มีการ
ออกกําลังกายด้วยการเดินเร็ว ใช้เวลา 20 – 30 นาที และส่วนใหญ่ไม่สูบบุหร่ี ไม่ด่ืมเครื่องด่ืม
แอลกอฮอล์ สภาพการณ์สุขภาพของผู้สงู อายุ พบว่า ป่วยเป็นโรคเร้ือรังด้านความดันโลหิตสูงร้อยละ
27.91 ป่วยไขมันในเลือดสูงคิดร้อยละ 25.58 ป่วยด้านเบาหวานร้อยละ 12.09 ส่วนใหญ่มี
ความสามารถในการประกอบกิจวตั รประจาํ วันสามารถปฏิบตั ิด้วยตนเองได้ มีอาการปวดข้อเล็กน้อย
ขณะยืนลงน้ําหนัก และมีสุขภาพจิตเท่ากับคนทั่วไป ปัญหา อุปสรรค พบว่า มีปัญหาด้านการ
คมนาคม ขาดความรู้และข้อมูลข่าวสาร ขาดการรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ ขาดการออก
กาํ ลังกายที่เหมาะสม ขาดการร่วมกิจกรรมทางสังคม ขาดการเยี่ยมบ้านจากเจ้าหน้าท่ี ขาดโอกาสใน
การท่องเทย่ี งพักผ่อนหย่อนใจ หลังจากการเข้าร่วมกจิ กรรมการพฒั นารูปแบบ เมื่อเปรียบเทียบด้าน
ความรู้ พบว่า หลังการพัฒนารูปแบบมีความรู้มากกวา่ ก่อนการพัฒนารูปแบบร้อยละ 9.70 ด้านการ
ปฏิบัติ พบว่า หลังการพัฒนารูปแบบมีการปฏิบัติตนเองมากกว่าก่อนการพัฒนารูปแบบร้อยละ
14.20 ซ่งึ มีระดับความรแู้ ตกต่างกนั อย่างมีนยั สําคัญทางสถติ ิทีร่ ะดับ .05 ยกเว้นการดูแลอนามัยส่วน
บคุ คล และการป้องกันโรค “ไม่แตกต่างกัน” p – value > .05 และระดับการฝกึ ปฏบิ ัติ แตกต่างกัน
ทุกด้าน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และผลการตรวจเลือด(ชีวะเคมี) โดยรวมมีสุขภาวะดี
ข้นึ

จะเห็นได้ว่า รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุท่ีนําหลักพุทธธรรมมาบูรณาการให้
สอดคล้องกับวิถีชุมชน ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีความรู้ และมีการปฏิบัติกิจกรรมการดูแลสุขภาพของ
ตนเอง ร้จู ักวธิ กี ารป้องกนั โรคไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง ซึ่งสง่ ผลใหผ้ ู้สูงอายมุ ีสุขภาพและคุณภาพชีวติ ทดี่ ขี นึ้

สรปุ ผลกระบวนการวางแผนแบบมีสว่ นร่วมและการถอดบทเรยี น

ผลจากการจัดกิจกรรมการพัฒนารปู แบบการดูแลสขุ ภาพ จากท้งั 3 กลุ่ม สรุป ได้ดังนี้
1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่เข้าใจแนวทางการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของ
ตนเอง บนหลักการ “ตนแลเป็นท่ีพ่ึงแห่งตน” การจะมีสุขภาพยืนยาวและอยู่ได้โดยไม่เป็นภาระแก่
ผู้อื่น คือการออกกําลังกาย รับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัย มีจิตเมตตา กรุณา ไม่อิจฉา ไม่
เบียดเบียนตนเองและเพ่ือนบ้าน พักผ่อนให้เหมาะสมกับวัย ดูหนัง ฟังเพลง ฟังข่าวสารบ้านเมือง
เพอ่ื เพ่มิ เตมิ ความรูใ้ ห้เทา่ ทนั กบั บา้ นเมืองเรา
2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่เข้าใจแนวคิดเก่ียวกับสุขภาพ แนวคิดพลังขับเคล่ือนจาก
ภายในตนเอง แนวคิดการทํางานแบบมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างแท้จริง เพราะเป็นกระบวนการที่
สาํ คัญในการเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งใหก้ ับชมุ ชน เกิดการพฒั นาสุขภาพจากความต้องการของตนเอง
3) ส่งิ ท่ผี สู้ งู อายุภาคภมู ิใจเมื่อเข้ารว่ มกิจกรรมในคร้งั นี้ คือ การได้เรียนรูว้ ธิ กี ารบําบดั

246

ต่างๆ การใช้หลกั ธรรมคําสอนในพระพุทธศาสนามาสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดความพยายาม และลง
มือปฏิบตั ิ ตามพุทธศาสนสุภาษิตทว่ี ่า “ตนแลเป็นท่พี ึ่งแห่งตน คนอ่ืนใครเลา่ จะเปน็ ทพี่ ่งึ แกต่ นเอง
ได”้ ในการฝึกนัง่ สมาธทิ าํ ใหจ้ ิตใจสงบ ไม่ฟุง้ ซา่ น การสวดมนตก์ ็ได้แผ่ส่วนกศุ ลใหเ้ จ้ากรรมนายเวรทุก
วนั ทําใหร้ สู้ กึ มคี วามสุขมาก

4) ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมคร้ังนี้ ได้แก่ การฝึกสมาธิ การทําสมาธิ
บําบัด การเดินจงกรม การสวดมนต์ ได้รับความรู้ด้านการดูแลสุขภาพที่สามารถนําไปปรับใช้ใน
ชีวิตประจาํ วันได้ ชว่ ยคลายเครยี ด

5) ความประทับใจท่ีได้เข้าร่วมกิจกรรม ได้เรียนรู้การออกกําลังกายง่ายๆ ท่ีไม่ต้องเสีย
ค่าใช้จา่ ยซื้ออุปกรณ์ออกกาํ ลงั กาย เช่นการทาํ สมาธบิ าํ บดั การเดนิ จงกรม การน่ังสมาธิ การสวดมนต์
เม่ือได้ปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง ผลท่ีเกิดกับร่างกายและสภาพจิตใจทําให้เกิดความสุข นอนหลับสบาย
หายเครียด ไม่ต้องกินยา ขบั ถ่ายได้เปน็ ปกติ ไดพ้ บปะแลกเปลี่ยนกบั เพื่อนวยั เดียวกันอย่างมีความสุข

6) ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ การเดินทางมาประชุมเพ่ือ
ประเมนิ ผลการฝึกปฏิบัติทว่ี ดั เพราะไมม่ ีรถโดยสารประจําทาง

สรุป องค์ความรู้การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม

ประกอบดว้ ย
1 ข้อมูลพืน้ ฐานของชมุ ชนวัดสุคนธาราม ตาํ บลเทพมงคล อาํ เภอบางซา้ ย ส่วนใหญจ่ บ

การศึกษาระดบั ประถมศึกษา มีอาชพี ทําการเกษตร มีวถิ ีชีวิตยึดโยงกับพระพุทธศาสนา มีรายได้
เฉลีย่ 4,000 บาทขน้ึ ไป ไม่ดม่ื แอลกอฮอล์ ไม่สบู บุหรี่

2 สภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในหมู่ท่ี 2 และหมู่ท่ี 3 ตําบลเทพมงคล อําเภอบางซ้าย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนใหญ่ป่วยเป็นโรคเร้ือรังด้านความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และ
ป่วยด้านเบาหวาน

3 สภาพการณ์ของผู้สูงอายุในหมู่ท่ี 2 และหมู่ที่ 3 ตําบลเทพมงคล อําเภอบางซ้าย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนใหญ่มีปัญหาเร่ืองการเดินทาง ขาดแคลนเงิน ไม่ออกกําลังกาย ขาด
ความรู้และข้อมูลข่าวสาร ขาดการรับประทานอาหารท่ีเป็นประโยชน์ ขาดการออกกําลังกายท่ี
เหมาะสม ขาดการร่วมกิจกรรมทางสังคม ขาดการเย่ียมบ้านจากเจ้าหน้าที่ ขาดโอกาสในการท่อง
เที่ยงพกั ผอ่ นหย่อนใจ

ผลการทดลองรูปแบบการดแู ลสขุ ภาพผสู้ ูงอายุด้วยหลักพทุ ธธรรม
1 ด้านความรู้ มีระดับความรู้สูงข้ึน ก่อนปรับปรุงรูปแบบ มีระดับความรู้ร้อยละ

79.40 หลงั การปรบั ปรงุ รปู แบบมรี ะดบั ความรูส้ งู ขนึ้ ร้อยละ 89.10 เพม่ิ ขนึ้ ร้อยละ 9.70
2 ด้านการปฏิบัติ มีระดับการปฏิบัติประจํา ก่อนปรับปรุงรูปแบบ มีระดับการ

ปฏิบัติประจํา ร้อยละ 61.20 หลังการปรับปรงุ รูปแบบมีระดบั การปฏิบัติประจํา สูงขึ้นร้อยละ 75.40
เพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 14.20

3 ผลการตรวจสุขภาพร่างกาย(ปฏิบัติการทางชีวะเคมี)ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีการ
เปลี่ยนแปลงสขุ ภาพไปในทิศทางความเปน็ ปกติและมีสุขภาพดีข้นึ

247

การถอดบทเรยี น
ผลจากการวิจัยในคร้ังนี้สามารถนาไปสูร่ ูปแบบการพัฒนาสุขภาพผูส้ ูงอายดุ ้วยหลกั

พุทธธรรม ไดด้ ังน้ี

1) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ โดยอาศัยกลุ่มที่เป็น
ทางการช่วยขับเคลื่อน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นําชุมชนและวัดร่วมกันจัดกิจกรรามเฉพาะ
ผู้สูงอายุ เช่นกิจกรรมวันสําคัญต่างๆ กิจกรรมออกกําลังกาย กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา บทบาท
ของชุมชนในการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม เช่น การให้ข้อมูลข่าวสารด้านการ
ส่งเสริมสุขภาพด้วยการประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสาย การให้คําปรึกษาหารือ จัดกิจกรรม
ประชาคม จัดเวทีสาธารณะอยา่ งสมาํ่ เสมอเพอ่ื เพิ่มโอกาสให้ผสู้ ูงอายุไดร้ ว่ มกิจกรรม

2) การจัดบรกิ ารส่งเสริมสุขภาพและการคัดกรอง ชุมชนต้องการปรับพฤติกรรมเพ่ือ
ลดโอกาสก่อโรคซ้าซ้อน และป้องกันการเกิดโรคในระยะท่ี 1 กิจกรรมที่ปฏิบัติได้เชิงรูปธรรม เช่น
การศึกษาความต้องการด้านการส่งเสริมสุขภาพอย่างครบถ้วนทุกมิติของสุขภาวะอย่างเป็นระบบ
การให้ความรู้เพือ่ เสริมพลัง จดั อบรมเพอ่ื เพม่ิ ทักษะให้กับกลมุ่ แกนนํา และอาสาสาธารณสุข

3) การจัดการความรเู้ พอื่ การส่งเสรมิ สขุ ภาพในชมุ ชน ซึ่งเป็นความรทู้ ี่ตอบสนองความ
ต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ และสร้างโอกาสให้ผู้สูงอายุเข้าถึงองค์ความรู้ที่สนับสนุนการ
ตัดสินใจด้านสุขภาพด้วยตนเองอย่างเหมาะสม เพ่ือนําไปสู่การปรับมโนทัศน์ในการดูแลสุขภาพ
ตนเอง

4) การดแู ลสขุ ภาพผู้สงู อายดุ ว้ ยหลักพทุ ธธรรม

ปัจจุบันปัญหาโรคไร้เชื้อกําลังเป็นปัญหาของประเทศไทย ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก
พฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป การจะปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพให้กับประชาชนเอให้เกิด
สุขภาพท่ีดีโดยเฉพาะผู้สูงอายุท่ีมีการสะสมพฤติกรรมการใช้ชีวิตมายาวนาน คุ้นชินกับความเป็นอยู่
การจะปรับเปล่ียนจําเป็นต้องปรับแนวคิดว่า “ส่ิงทั้งหลายท้ังปวงเป็นธรรมชาติท่ีมีการเปลี่ยนแปลง
ไปตามธรรมดา” ผู้สูงอายุก็เป็นวัยแห่งความเส่ือมถอย ท้ังด้านร่างกายและด้านจิตใจ การสร้างความ
ตระหนักให้เกิดการยอมรับ เกิดการเรยี นรู้ เกดิ ความพอดี หรือเกดิ ความสมดุลของชวี ิต ซงึ่ ได้นําหลัก
พุทธธรรมมาบรู ณาการ ดงั นี้

(1) ใช้หลกั พละ 5

ตามแนวคิดของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้กล่าวไว้ว่า “...ในการเข้าถึง
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา จะต้องปฏิบัติหลักธรรมย่อยๆ หลายอย่าง หลักธรรมหรือข้อปฏิบัติ
เหล่าน้ี จะต้องกลมกลืนพอดีกันได้แก่ อินทรีย์ 5 ผู้ปฏิบัติธรรมจะมีการเน้นคําว่า สมตา คือมีความ

248

สมดุลกันทั้ง ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา การปฏิบัติจะต้องพอดีกัน ระหว่างวิริยะกับสมาธิ
และความพอดีระหว่างศรัทธากับปญั ญา โดยมีสตเิ ป็นเคร่อื งควบคุม...”25

(2) ใช้หลกั อิทธบิ าท 4

- ฉันทะ คือ ความพอใจ รักใคร่ เต็มใจ และฝักใฝ่ในงานอยู่เสมอ ทุ่มเท
ความสามารถ และปรารถนาเพือ่ ที่จะทํางานน้นั ให้ดที ี่สดุ

- วริ ยิ ะคือ ความเพียรพยายาม ความอตุ สาหะและมานะบากบ่นั ท่ีจะทํางานหรือ
ทําสงิ่ หนึ่งสิ่งใดใหด้ ีทีส่ ุด ไม่ท้อถอยเมื่อเกิดอุปสรรค และความยากลําบากตา่ งๆ ด้วยการมองปญั หา
หรอื อปุ สรรคท่ีขัดขวางตอ่ การทาํ สง่ิ น้นั เป็นสงิ่ ทที่ ้าทาย และตอ้ งเอาชนะใหส้ ําเร็จ

- จิตตะ การเอาใจใส่ และให้ใจจดจ่ออยู่กับอยกู่ บั สง่ิ ท่ีทํา มสี มาธิม่นั คงอยู่กับงาน
ไมป่ ลอ่ ยปละละเลยในงานท่ที ํา และทาํ งานด้วยความตั้งใจทจี่ ะใหง้ านนั้นสําเร็จ

- วิมังสา คือ การสอบสวน ไตร่ตรอง พิจารณาตรวจสอบในส่ิงที่กําลังทํานั้นๆ
รวมถงึ การรจู้ ักคน้ คว้า ทดลอง คิดค้น และรูจ้ ักคดิ แก้ไขปรบั ปรงุ งาน ใหก้ า้ วหน้าอยเู่ สมอ26

(3) ใช้หลักภาวนา 4

ภาวนา 4 เปน็ แนวพฒั นาให้ผสู้ ูงอายุนาํ ไปฝึกปฏบิ ัติตามตารางกจิ กรรมประจําวัน
หลกั พละ 5 สรา้ งความตระหนัก หลักอทิ ธิบาท 4 สร้างความพยายาม ในการดูแลสขุ ภาพตนเอง
เพอื่ ให้เกิดการพฒั นาสุขภาพในองค์รวม 4 ด้าน ได้แก่

- การพัฒนากาย คือ การพฒั นาร่างกายดว้ ยการออกกาํ ลงั กาย เชน่ การเดนิ การวิ่ง
เหยาะๆ การเดินจงกรม การทาํ สมาธิบาํ บดั การอยู่กับสง่ิ แวดลอ้ มทีเ่ กื้อกูลกัน การบริโภคปจั จยั ส่ีตรง
ตามคณุ คา่ ท่ีแทจ้ ริง

- การพฒั นาศลี คือ การพัฒนาดา้ นกายและวาจา มคี วามสัมพนั ธ์ทางสงั คมกบั ผู้
อืนอยา่ งเหมาะสม เกื้อกูล สร้างสรรค์ สง่ เสริมสันตสิ ขุ

- การพฒั นาจติ คือ การพฒั นาจติ ตนเองให้มีความสมบรู ณท์ ั้งคุณภาพ สมรรถภาพ
และสุขภาพจติ ทีด่ ีดูแลสภาวะจติ ใจตนเอง

- การพัฒนาปัญญา คือ การพัฒนาตนเองให้รู้จักคิด พิจารณา วินิจฉัย แก้ปัญหา
และดาํ เนนิ การต่าง ๆ ด้วยปญั ญา คิดพิจารณาทุกสง่ิ อยา่ งรอบคอบ

การนาผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์
1) มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย สามารถนํารูปแบบการดูแลสุขภาพ

ผสู้ ูงอายดุ ว้ ยหลกั พุทธธรรมไปแนะนําให้วัดต่างๆไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดูแลสขุ ภาพผสู้ ูงอายุใหม้ ี
สุขภาพท่ีสมบรู ณ์ได้

2) วัดท่ีเป็นศูนย์การดูแลผู้ผู้สูงอายุประเภทติดเตียง สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการ
ดูแลสุขภาพผสู้ งู อายุให้มีสขุ ภาพที่สมบรู ณ์ ให้มอี ายุยนื นานได้

25 สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต, 2558,หน้า 11-12.
26สขุ ภาพจติ /ศาสนา, [ออนไลน์] จาก thaiheal thlife.com ›เข้าถึงเมือ่ 11 เมษายน 2561.

249

3) กลุ่มผู้สูงอายุประเภทติดสังคมสามารถนําไปปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพตนเองได้
อย่างถกู ต้องเหมาะสมเพิม่ มากข้ึน

4) ตัวแทนแกนนําชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุประเภทติดบ้าน
สามารถนาํ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดแู ลสุขภาพผ้สู งู อายใุ ห้มีสขุ ภาพที่สมบูรณ์ ให้มีอายุยืนนานได้

5) ตัวแทนหน่วยงานราชการที่เก่ียวข้องมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ และ
สามารถนาํ กระบวนการวางแผนแบบมสี ่วนร่วมไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานได้
การประชาสมั พันธ์

1) การประชาสมั พนั ธผ์ ลงานวจิ ัยทางอนิ เตอรเ์ น็ต
http://www.mcu.ac.th/site/major/ major_index.php

2) การเสนอรายงานการวจิ ัยในรูปบทความทางวิชาการผ่านวารสารของสถาบันตา่ งๆทม่ี ี
การเผยแผร่ ะดับกลมุ่ 1 หรือ ที่เรยี กวา่ TCI ฐาน 1

250

ประวตั ผิ ูว้ ิจัย

251

ประวตั นิ ักวจิ ัย

๑) หัวหน้าโครงการวจิ ัย
๑. ช่ือ
๑.๑ ชอื่ ภาษาไทย พระครโู สภณวรี านวุ ัตร (นคิ ม เกตคุ ง)
๑.๒ ช่ือภาษาองั กฤษ Phrakhrusophonweeranuwat,Dr.
๑.๓ หมายเลขบตั รประจําตัวประชาชน ๓๗๑๑๐๐๐๒๖๒๕๙๔
๑.๔ ท่ีอยู่ ๒๔๙ วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร ตําบลรั้วใหญ่ อําเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัด

สุพรรณบรุ ี e-mail : ๒๕๕๕[email protected] โทร. .๐๙๒-๕๙๐๙๕๙๕
๒.คณุ วุฒ:ิ พธ.บ. สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั พธ.ม.
พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการจดั การเชิงพุทธ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ ราชวทิ ยาลัย

รป.ม. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
รป.ด. รฐั ประศาสนศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขารฐั ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี
๓. ตาแหน่งปัจจบุ ัน

นักวิจัย และอาจารย์ประจําหลักสูตร / รองผู้อํานวยการฝ่ายบริหารวิทยาลัยสงฆ์
สพุ รรณบุรศี รีสวุ รรณภูมิ

ผู้ชว่ ยเจ้าอาวาสอารามหลวงวดั ปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร จังหวัดสุพรรณบุรี

๔. ประวัติการศกึ ษา ชื่อสถาบัน, ประเทศ ปี
ระดับ ช่อื ปริญญา (สาขาวชิ า) พ.ศ. ที่จบ
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช ๒๕๕๗
ปรญิ ญาตรี พุทธศาสตรบณั ฑติ วทิ ยาลยั
ปรญิ ญาโท สาขาวิชาการจดั การเชงิ พุทธ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช ๒๕๕๘
ปรญิ ญาโท วิทยาลยั
พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต วทิ ยาลยั นครราชสีมา ๒๕๖๒
สาขาวชิ าการจดั การเชิงพุทธ

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขารัฐประศาสนศาสตร์

ปริญญาเอก รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ปทุมธานี ๒๕๖๑
สาขารฐั ประศาสนศาสตร์

๕. ผลงานวจิ ัย ผลงานทางวิชาการ และสง่ิ ตพี มิ พ์
๕.๑ ผลงานวจิ ยั / วิทยานพิ นธ์
(ผลงานวิจยั )

252

(๒๕๖๑. ชื่อโครงการวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลัก
พุทธธรรม:วัดสุคนธาราม อําเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา The Development of Model
Health Care of The Elderly With Principles in Buddhists: Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

(๒๕๖๑). ชื่อโครงการวิจัย เร่ืองการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์เมืองอู่ทอง : ศกึ ษา กรณีการเผย
แผ่พระพุทธศาสนาAN ANALYTICAL OF U-THONG HISTORY :A CASE STUDY OF BUDDHISM
PROPAGATION

๕.๒ ส่ิงตพี ิมพ/์ บทความทางวิชาการ
บทความวชิ าการ
(๒๕๖๐) ภาวะผู้นาท่ีพึงประสงค์ตามหลักพุทธธรรม ปีท่ีพิมพ์ ๒๕๖๐ แหล่งท่ีตีพิมพ์
วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ช่ือวารสาร พุทธบูรณาการกับ
ศาสตร์สมัยใหม่เพื่อพัฒนาจติ ใจและสังคมยุคไทยแลนด์ ๔.๐
(๒๕๖๑) บทบาทของพระสังฆาธิการ: การขับเคล่ือน ไทยแลนด์ ๔.๐ The Roles of
Sangha Administrators : Operational to Thailand ๔ .๐ ”ว า ร ส า ร วิ ช าก า ร Veridian E –
Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีท่ี
๑๑ ฉบับท่ี ๒ เดือนพฤษภาคม –สงิ หาคมพ.ศ. ๒๕๖๑ หนา้ ๙๓๘-๙๕๖
(๒๕๖๑) ภาวะผู้นาการจัดการเชิงพุทธที่มีต่อสังคมในยุคไทยแลนด์ ๔.๐”
Leadership in Buddhist Management skills in the Workplace Sociology and Religion in
Thailand ๔.๐ วารสารวิชาการVeridian E –Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย
สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ ๑๑ ฉบับท่ี ๒ เดือนพฤษภาคม –สิงหาคมพ.ศ.
๒๕๖๑ หน้า ๙๒๖-๙๓๗
(๒๕๖๑) The Roles of Sangha Administrators: Operational to Thailand
๔.๐”วารสารวิชาการ Veridian E-Journal บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรวารสารวิชาการ
Veridian E-Journal, Silpakorn University
(๒๕๖๑) บทความงานวิจัยภาษาอังกฤษ เรื่อง “A Study to Observance of Five
Precepts Behavior of the Buddhists in Suphanburi Province” วารสารวิชาการ Veridian E-
Journal ฉบับ International Humanities, Social Sciences and artsVolume ๑๑ Number ๕
July-December ๒๐๑๘, p.๗๙-๙๓.
(๒๕๖๒) ประวัติศาสตร์และคุณค่าทางอารยธรรมสมัยทวารดี (Historical Ecology
And Dvaravati Civilization) Humanities, Social Sciences and artsVolume ๑๒ Number ๔
July –August ๒๐๑๙ หนา้ ๖๐๖-๖๒๓
(๒๕๖๒) (๒๕๖๒) สติ-สัมปชัญญะSolving Social Consciousness” Humanities,
Social Sciences and artsVolume ๑๒ Number ๔ July –August ๒๐๑๙ หนา้ ๖๐๖-๖๒๓
๕.๓ ผลงานทางวิชาการดา้ นอืน่ ๆ

การนาเสนอผลงานวจิ ยั ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

253

๕.๓.๑ เข้าร่วมเสนอผลงาน เร่ือง พุทธศิลป์ แดนดินสุพรรณบุรี ปีที่พิมพ์ ๒๕๕๙
แหล่งท่ีตีพิมพ์ มจร วิทยาเขตขอนแก่น วารสาร การประชุมวิชาการระดับชาติ คร้ังท่ี ๓ และระดับ
นานาชาติ ครั้งท่ี เรือ่ ง “พทุ ธบูรณาการกับการวิจยั เพ่อื พัฒนาสังคมให้ยง่ั ยืน”

๖. ทนุ และรางวลั ท่ไี ด้รบั
๖.๑ ได้รางวัลบุคคลท่ีทําประโยชน์ต่อสังคมดีเด่น เช่น มอบทุนการศึกษาแก่นิสิตทั้ง

สาขาการจัดการเชิงพุทธและรัฐประศาสนศาสตร์ มีทั้งพระและคฤหัสถ์ ปีละ ๔ ทุนการศึกษาๆ ละ
๖๐๐๐ บาท เริ่มตง้ั ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๒

๖.๒ มอบทุนในการทํากิจกรรมทางวิชาการทุกๆ ด้าน ทั้ง ๒ หลักสูตร ของวิทยาลัยสงฆ์
สพุ รรณบรุ ีศรสี วุ รรณภมู ิ รวม ๖๐๐,๐๐๐ บาท (เรมิ่ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๙-๒๕๖๒)

๗. ความเชี่ยวชาญ
๗.๑ เปน็ ผู้ชว่ ยเจ้าอาวาสบริหารงานคณะสงฆ์
๗.๒ เป็นอาจารย์ผปู้ รกึ ษาทัง้ ๒ หลกั สูตร
๗.๓ เป็นผ้จู ัดกจิ กรรมทางศาสนา ถนัดทงั้ ฝ่ายคดโี ลกคดธี รรม
๗.๔ นกั เผยแผธ่ รรมทางวิทยุกระจายเสียง รนุ่ ที่ ๔ จากมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราช

วิทยาลยั ปี ๒๕๔๓
๗.๕ ได้ผา่ นการประชุมอบรมครสู อนพระปรยิ ัตธิ รรมแผนกบาลีของคณะสงฆภ์ าค ๑๔
๗.๖ ไดเ้ ข้ารว่ มการสมั มนาวชิ าการ ระดบั บัณฑิตและมหาบัณฑติ สาขารฐั ประศาสนศาสตร์
คณะนิตศิ าสตร์ ระหว่างวนั ท่ี ๑-๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
๗.๗ ไดผ้ ่านการอบรมในโครงการพฒั นาบุคคลกรเกี่ยวกับการให้ความรใู้ นการอนุรักษ์

เอกสารโบราณ ๔ ภาค ครง้ั ท่ี ๒ ประจาํ ปี พ.ศ. ๒๕๔๘

๘. ประสบการณด์ ้านการวิจัย
๘.๑ ประธานโครงการวิจัย(๒๕๖๑) เร่ืองการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ

ด้วยหลักพุทธธรรม: วัดสุคนธาราม อําเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาTHE DEVELOPMENT
OF MODEL HEALTH CARE OF THE ELDERLY WITH PRINCIPLES IN BUDDHISTS:WAT
SUKHONTHARAM BANGSAI DISTRIC PRANAKHORNSRIAYUTHAYA PROVINCE

๘.๒.ประธานโครงการวิจัย (๒๕๖๑). ชื่อโครงการวิจัย เรอ่ื งการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์เมือง
อู่ทอง : ศึกษา กรณีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาAN ANALYTICAL OF U-THONG HISTORY :A CASE
STUDY OF BUDDHISM PROPAGATION

๘.๓ ร่วมโครงการวิจัย (๒๕๕๙)รายงานการวิจัยโครงการย่อยที่ ๔ (วช.) เรื่อง การบริหาร
อํานาจตามแนวพุทธในระบบการปกครองแบบธรรมรัฐ Buddhist administrative powers in A state
fair ภายใตโ้ ครงการวิจัย เร่อื งพุทธรัฐศาสตร์ การบรู ณาการเพื่อการบรรลุ ความสุข แห่งรัฐ
๙. ประสบการณ์ดา้ นการเปน็ วิทยากรอบรม

๙.๑ วิทยากรฝึกอบรม บรรยายในหลักสูตรผู้บริหาร วิชา หลักการบริหารโดยหลัก
พระพทุ ธศาสนา ณ.สถาบันพัฒนาผู้บรหิ ารการศึกษา ทั่วประเทศ ต้ังแตป่ ี ๒๕๕๐-ปจั จุบนั

254

1) ผู้รว่ มวิจยั
1.ช่อื

1.1 ชอื่ ภาษาไทย พระครวู ิบูลเจตยิ านรุ ักษ์
1.2 ชื่อภาษาองั กฤษ Phrakhru wiboonjetiyanurak
1.3 หมายเลขบัตรประจาํ ตัวประชาชน 3-7206-00336-202
2. คณุ วุฒิ :
พธ.บ. สาขาวชิ า พระพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั (วิทยาลยั

สงฆพ์ ทุ ธปัญญาทวารวดี (ไร่ขิง)นครปฐม
ค.ม. ครศุ าสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎ

เทพสตรี จังหวัดลพบรุ ี
ปร.ด. ปรัชญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศรปี ทุม

กรงุ เทพมหานคร
3. ตาแหนง่ ปัจจบุ นั

นักวิจัย /ผู้บริหาร(ผู้อํานวยการวิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ)/อาจารย์ประจํา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรี
ศรีสุวรรณภูมิ

4. ประวตั ิการศกึ ษา ชอื่ สถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ.
ระดับ ชอ่ื ปริญญา (สาขาวชิ า) ทจ่ี บ
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราช 2554
ปริญญาตรี พุทธศาสตรบณั ฑติ (พธ.บ.) วิทยาลัย
ปริญญาโท สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวทิ ยาลัยราชภฎั เทพสตรี 2558
จงั หวดั ลพบุรี
ครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน

ปรญิ ญาเอก ปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑิต (ปร.ด.) มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม กรุงเทพมหานคร 2562
สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา

5. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และส่ิงตพี มิ พ์
5.1 ผลงานวิจัย / วทิ ยานิพนธ์
(ผลงานวิจยั )

255

พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์, ดร. (2559)รายงานการวิจัยโครงการย่อยที่ 4 (วช.) เร่ือง การ
บริหารอํานาจตามแนวพุทธในระบบการปกครองแบบธรรมรัฐ Buddhist administrative powers in A
state fair ภายใต้โครงการวิจัย เร่ืองพุทธรฐั ศาสตร์ การบูรณาการเพ่ือการบรรลุ ความสุข แห่งรัฐ

พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์, ดร. (2562) การศึกษาวิเคราะห์เมืองอู่ทองในฐานะ
ประวัติศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา An Analytical Study of U-THONG City as a
History of Buddhist Propagation

5.2 สิ่งตีพมิ พ/์ บทความทางวิชาการ
บทความวิชาการ
(2559) วิชาการวิจัย เรื่อง “A Study to Observance of Five Precepts
Behavior of the Buddhists in Suphanburi Province วารสารวิชาการ Veridian E-Journal
บัณ ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn
University
(2561)บทความงานฉบับภาษาอังกฤษ บทความ รหัสที่ 121224 “เร่ือง The Roles
of Sangha Administrators:Operational to Thailand 4.0” ฉบับ International Humanities,
Social Sciences and arts ( July-December 2018 ) eridian E-Journal, Silpakorn
University International (Humanities, Social Sciences and Arts) to make2 copies /
year, article No. 11 as follows: January –June (p.105-122) ค ณ ะ ผู้ เขี ย น , Phrakhru
wiboonjetiyanurak, สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ได้รับการประเมินและผ่านการ
รับรองคณุ ภาพจากศนู ย์ดัชนกี ารอ้างองิ วารสารไทย (TCI) ให้อยใู่ น กลุม่ ที่ 1เปน็
(2561) บทความงานวิจัยภาษาอังกฤษ เร่ือง “A Study to Observance of Five
Precepts Behavior of the Buddhists in Suphanburi Province” วารสารวิชาการ Veridian E-
Journal ฉบับ International Humanities, Social Sciences and artsVolume 11 Number 5
July-December 2018, p.79-93.
(2562) ประวตั ิศาสตร์และคุณค่าทางอารยธรรมสมัยทวารดี (Historical Ecology And
Dvaravati Civilization) Humanities, Social Sciences and artsVolume 12 Number 4 July
–August 2019 หน้า 606-623
5.3 ผลงานทางวชิ าการดา้ นอื่นๆ

การนาเสนอผลงานวจิ ยั ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ

5.3.2 เขา้ ร่วมนาํ เสนอผลงานวิจัยในการประชุมวชิ าการและการนําเสนอผลงานวิจัย
(International Conference on Educational Research (ICER2011): Learning Community
for Sustainable Development) ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระหวา่ งวนั ท่ี 9 – 10 กนั ยายน 2554
6. ทนุ และรางวัลที่ได้รับ

6.1 ได้รางวลั เสมาธรรมจกั ร
6.2 เป็นผู้นาํ ดีเดน่
6.3 เปน็ นกั บรรยายธรรมดเี ด่น

256

7. ความเชีย่ วชาญ
7.1 การปฏิบัติการในช้ันเรียน (Classroom Action Research)ในด้านกิจกรรมทาง

ศาสนา
7.2 เครือข่ายการเขียนบทความวิชาการปฏิบัติการในชั้นเรียนในด้านพระพุทธศาสนา

(Classroom Action Research Network)
7.3 การออกแบบบทความวิจัยในสาขาวชิ าต่างๆ

8. ประสบการณ์ด้านการวจิ ัย
8.2 (2561) งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธ

ธรรม: วัดสุคนธาราม อําเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาTHE DEVELOPMENT OF MODEL
HEALTH CARE OF THE ELDERLY WITH PRINCIPLES IN BUDDHISTS:WAT SUKHONTHARAM
BANGSAI DISTRIC PRANAKHORNSRIAYUTHAYA PROVINCE
9. ประสบการณ์ดา้ นการเป็นวิทยากรอบรม

9.1 เป็นวทิ ยากรรบั เชิญจากสถาบันตา่ งๆ ทว่ั ประเทศ ต้งั แต่ปี 2550-ปัจจบุ ัน
……………………………………………………………………………………

2. ผ้รู ่วมโครงการ : พระมหานพรักษ์ ขนตฺ โิ สภโณ,ดร.
ชอื่ เจ้าอาวาสวัดสุคนธาราม, ครูสอนพระปรยิ ตั ิธรรม,
ตาแหน่งปจั จุบัน ครสู อนศีลธรรมในโรงเรยี น,
อาจารยป์ ระจาํ หลักสตู รสาขาวิชาการจดั การเชิงพทุ ธ ประจําหนว่ ย
วุฒกิ ารศกึ ษา วิทยบริการคณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช
แผนกธรรม-บาลี วิทยาลยั ณ วดั ป่าเลไลยก์วรวหิ าร อาํ เภอเมือง จังหวัดสุพรรณบรุ ี
แผนกสามญั
นักธรรมช้ันเอก/เปรยี ญธรรม 5 ประโยค
ทีอ่ ยปู่ ัจจบุ ัน : อภธิ รรมมหาโท
พุทธศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต (ปริญญาเอก) สาขาการจดั การเชิงพทุ ธ
ผลงานทางวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทความวชิ าการ พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาการจดั การเชิงพทุ ธ (ปรญิ ญาโท)
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
พทุ ธศาสตรบัณฑติ สาขาการจัดการเชงิ พุทธ (เกยี รตินยิ มอันดบั 1)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ร่นุ ที่ 56
วัดสุคนธาราม ตําบลเทพมงคล อาํ เภอบางซ้าย จงั หวดั
พระนครศรีอยธุ ยา 13270 โทร. 06 – 2528 – 9951

การจดั การกิจการพระพุทธศาสนาในยคุ โลกาภิวัฒน์
พระพทุ ธศาสนากบั การพฒั นาในสงั คมไทยในยุคไทยแลนด์ 40

257

งานวิจัย พฤติกรรมการรกั ษาศลี 5 ของพุทธศาสนกิ ชน จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
การพฒั นารปู แบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุดว้ ยหลกั พุทธธรรม
3. ผู้รว่ มโครงการ : วดั สคุ นธาราม อําเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
ชอ่ื การส่งเสริมการพฒั นาแหล่งอารยธรรมสมัยทวาราวดี ชมุ ชนหมบู่ ้าน
สวุ รรณภูมิ

: พระครสู วุ รรณจนั ทนิวิฐ

ตาแหน่งปจั จบุ ัน เจา้ อาวาสวัดองค์พระ/ เจา้ คณะตําบลองค์พระ/ พระอุปัชฌาย์/
ประธาน หน่วยอบรมประชาชน ต. องคพ์ ระ อ. ดา่ นช้าง จ.
วุฒทิ างการศึกษา สุพรรณบรุ ี/ประธานศนู ย์ปฏบิ ตั ิธรรมแหง่ ที่ 30 จ.สพุ รรณบรุ ี
แผนกธรรมบาลี พระธรรมทตู /ครสู อนวชิ าพระพทุ ธศาสนาประจงั หวดั สุพรรณบุรี
แผนกสามัญ : ครสู อนศลี ธรรมในโรงเรียน/ พระวิทยากรวปิ สั สนา/อาจารย์สอน
พเิ ศษ หนว่ ยวิทยบรกิ ารคณะสงั คมศาสตร์ วดั ป่าเลไลยก์วรวหิ าร
ความรพู้ ิเศษ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
ผลงานวชิ าการ มดี ังนี้
งานวจิ ัย นักธรรมช้ันเอก/ประกาศนยี บัตรมชั ฌมิ อาภิธรรมิกะเอก
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั อภิธรรมโชตกิ ะวิทยาลยั
พทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ . สาขาการจดั การเชงิ พุทธ มหาวทิ ยาลัยมหา
จฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
พทุ ธศาสตรบัณฑิต. สาขาการจดั การเชิงพทุ ธ มหาวิทยาลยั มหา
จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
ประกาศนียบัตรวิชาศกึ ษาทั่วไป มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
: งานดา้ นศิลปะ วาดรปู จติ รกรรมฝาผนัง ป้ันลวดลายนูนสงู นนู ต่าํ
แกะลวดลายไทย/ งานด้านระบายสี แตง่ ประดบั ดอกไม้ ผูกผา้

1) เรื่อง การศกึ ษาวิเคราะหเ์ มืองอู่ทองในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา
2)- การพฒั นารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลกั พุทธธรรม:
วดั สุคนธาราม อาํ เภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

บทความวิชาการ

1) บทความวิชาการเร่ือง “ ภาวะผู้นาการจัดการเชิงพุทธท่ีมีต่อสังคม
ใน ยุ ค ไท ย แ ล น ด์ 4.0” Leadership in Buddhist Management skills in the Workplace

258

Sociology and Religion in Thailand 4.0 พิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ Veridian
วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn

2)บทความวิชาการงานวิจัย เร่ือง บทความฉบับภาษาอังกฤษ “เรื่อง
The Roles of Sangha Administrators:Operational to Thailand 4.0”วารสารวิชาการ
Veridian E-Journal บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร วารสารวิชาการ Veridian E-
Journal, Silpakorn University

3)บทความเร่ือง ภาวะผูน้ ําการจดั การเชิงพุทธ ตพี ิมพท์ ม่ี จรน่าน
หนงั สือ/ตารา

1.) เอกสารการสอน เรื่อง ภาวะผู้นาํ การจดั การเชิงพทุ ธ
2.) ตํารา เรื่อง การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์

4. ผูป้ ระสานงานโครงการ

ช่ือ - นามสกลุ นายเอกมงคล เพ็ชรวงษ์

ตาแหนง่ ปจั จุบัน อาจารย์ประจาํ สาขาการจัดการเชงิ พุทธ หนว่ ยวทิ ยบริการวัดปา่ เล
ไลยกว์ รวิหาร มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
วฒุ กิ ารศึกษา จังหวดั สุพรรณบุรี
แผนกธรรม-บาลี
แผนกสามัญ นกั ธรรมชัน้ เอก, เปรยี ญธรรม 5 ประโยค
ปรญิ ญาเอก กาํ ลงั ศกึ ษาอยู่ที่มจร.สาขารัฐประศาสนศาสตร์
ประสบการณก์ ารทางาน ปรญิ ญาโทคณะสงั คมศาสตร์ สาขา วิชาศาสนาเปรยี บเทียบ
มหาวทิ ยาลยั มหิดล
ปริญญาตรี คณะพุทธศาสตร์ (ศาสนา)
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงราชวทิ ยาลัย
อาจารย์สอนประจําวิชาพระพทุ ธศาสนา ทง้ั 3 ระดับ
มัธยมศึกษาปที 3่ี ,4, 5 , (ร.ร.วัดไร่ขิงวทิ ยา)นครปฐม
บรรยายหลกั การบริหารตามหลักพทุ ธธรรม กับผบู้ รหิ ารทั่วประเทศ
ทเ่ี ตรียมพร้อมในการเป็นผบู้ ริหาร ณ.สถาบนั พฒั นาผู้บริหาร
การศกึ ษา(วดั ไรข่ งิ )จังหวดั นครปฐม
-บรรยายประจาํ หลักสูตรวชิ า อารยธรรมตะวันออก-ตก ใน
มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย กทม.,
อาจารย์ประจําหลกั สตู ร หนว่ ยวทิ ยบริการวัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั จงั หวัดสุพรรณบุรี
-เปน็ กรรมการและเลขานุการฝา่ ยประกันคุณภาพของนวบ.วดั ป่าเล

259

ไลยกว์ รวิหาร สุพรรณบุรี

ผลงานวิชาการ
งานวจิ ัย

๑)-เรอ่ื งพฤติกรรมการรกั ษาศีล ๕ ของพทุ ธศาสนกิ ชน จังหวัดสุพรรณบุรี
๒) เร่อื ง การศึกษาวเิ คราะห์เมืองอทู่ องในการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา
๓)- การพฒั นารปู แบบการดแู ลสขุ ภาพของผู้สงู อายดุ ว้ ยหลักพทุ ธธรรม:
วดั สุคนธาราม อาํ เภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

บทความวิชาการ

1) บทความวิชาการเร่ือง “เรื่องบทบาทของพระสังฆาธิการ: การ
ขับเคล่ือน ไทยแลนด์ ๔.๐ The Roles of Sangha Administrators : Operational to Thailand
๔.๐”พิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ Veridianวารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn
University

2) บทความวิชาการเร่ือง เร่ือง “ ภาวะผู้นาการจัดการเชิงพุทธที่มีต่อ
สังคมในยุคไทยแลนด์ 4.0” Leadership in Buddhist Management skills in the Workplace
Sociology and Religion in Thailand 4.0 พิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ Veridian
วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal, Silpakorn

5) บทความวิชาการงานวิจัย เรื่อง บทความฉบับภาษาอังกฤษ “เรื่อง
The Roles of Sangha Administrators:Operational to Thailand ๔.๐”วารสารวิชาการ
Veridian E-Journal บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร วารสารวิชาการ Veridian E-
Journal, Silpakorn University
หนังสือ/ตารา

๑.)เอกสารการสอน เร่ือง ทฤษฏีองค์การและการจัดการ): 2560,. ISBN
: 978-616-478-758-2

๒.) ตํารา เรื่อง ภาวะผู้นําการจัดการเชิงพุทธ ISBN : 978-616-478-
764-3


Click to View FlipBook Version