The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-13 10:41:22

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

187

188

189

ลงนาม……….……………..ผ้วู จิ ยั /ผ้ทู ่ไี ด้รับมอบหมาย
(พระครูโสภณวีรานวุ ตั ร,ดร.)

วนั ที่……..เดือน…………….พ.ศ. ………

190

191

192

193

194

195

196

197

198

199

200

201

202

203

รายงานผลการประเมนิ คุณภาพโดยผูเ้ ชีย่ วชาญท่ีมตี ่อแบบสอบถามเพอ่ื การวิจัย เรื่อง
การพฒั นารูปแบบการดูแลสขุ ภาพผสู้ ูงอายดุ ว้ ยหลกั พุทธธรรม
กําหนดเกณฑ์การพจิ ารณา ดงั นี้

+1 หมายถึง แนใ่ จวา่ แบบสอบถามวดั ได้ตรงกบั วัตถุประสงค์
0 หมายถึง ไมแ่ นใ่ จวา่ แบบสอบถามวัดไดต้ รงกับวัตถปุ ระสงค์
-1 หมายถึง แนใ่ จวา่ แบบสอบถามไมส่ อดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ทจี่ ะวัด
คาช้ีแจง : กําหนดสัญลักษณ์แทนผเู้ ชย่ี วชาญ ดังน้ี
หมายเลข 1 :
หมายเลข 2 :
หมายเลข 3 :.
ตอนท่ี 2 แบบประเมนิ ระดับความรูใ้ นการดูแลสขุ ภาพตนเองของผ้สู ูงอายุ จาํ นวน 44 ข้อ

ประเด็นคาํ ถาม(กายภาวนา) ผลการประเมิน
ของผู้เชี่ยวชาญ รวม เฉลี่ย

1 23

1. ทา่ นควรด่ืมนํา้ สะอาดอยา่ งน้อยวันละ 6-8 แก้วซ่งึ จะชว่ ยในการขบั ถา่ ย 1 1 1 3 1.00
สะดวกและระบายของเสยี ออกจากรา่ งกาย

2. อาหารท่เี หมาะกับท่านควรเปน็ อาหารอ่อน หรอื อาหารทมี่ กี ากและรสชาติไม่ 1 1 1 3 1.00

จัด

3. ทา่ นจําเปน็ ตอ้ งรบั ประทานอาหารจําพวกผกั ผลไมท้ ุกวนั เพราะจะชว่ ยปอ้ งกนั 1 1 1 3 1.00

โรคท้องผูก

4. ทา่ นจําเปน็ ตอ้ งรบั ประทานอาหารใหเ้ พียงพอตอ่ ความต้องการของร่างกาย 1 0 1 2 0.66

โดยเฉพาะอาหารประเภท ขา้ ว เนอื้ สัตว์ นม ผักและผลไม้

5. หากทา่ นรบั ประทานอาหารที่มไี ขมนั สูง เชน่ เนื้อสตั ว์ติดมนั หรอื กะทหิ รอื 1 1 1 3 1.00

น้าํ ตาล จะทาํ ใหม้ ไี ขมนั ในเลอื ดสูง ทําให้เสย่ี งต่อการเกดิ โรคหวั ใจขาดเลอื ด

6. การรบั ประทานอาหารประเภทปลาเล็กปลานอ้ ย ผักผลไมแ้ ละการด่ืมนม 1 1 1 3 1.00

ช่วยใหร้ ่างกายของทา่ นสามารถปอ้ งกนั โรคกระดกู ผไุ ด้

7. ถ้าทา่ นรับประทานอาหารประเภท เมลด็ พชื ทง้ั เมล็ด ถว่ั ข้าวกลอ้ ง 1 102 0.66

ผักต่างๆ เป็นประจาํ จะทาํ ใหล้ ดอาการท้องอดื ทอ้ งผูก และขบั ถา่ ยสะดวกมาก

ข้ึน

8. การออกกําลังกายอย่างสมา่ํ เสมอจะช่วยลด และควบคมุ นาํ้ หนกั ตัว ระดบั 1 1 1 3 1.00

น้ําตาลและไขมนั ในเลือดของทา่ นได้

9.การปนั่ จกั รยานเบาๆ การเดนิ อย่างเรว็ การวง่ิ เหยาะ ๆ การทาํ กายบรหิ าร 0 1 1 2 0.66

ด้วยทา่ ทางต่างๆ ถือวา่ เปน็ การออกกําลังกายที่เหมาะสมกบั ท่าน

10. ทา่ นไมค่ วรออกกําลงั กายถา้ รสู้ ึกเหนื่อย หรือไมส่ บาย 1 1 1 3 1.00

204

ผลการประเมนิ

ประเดน็ คําถาม(ศลี ภาวนา) ของผเู้ ชยี่ วชาญ รวม เฉล่ยี

1 23

11 ถ้าทา่ นปลอ่ ยให้เกดิ ความวติ กกังวลอยเู่ สมอจะทําให้เกดิ โรคความดันโลหิต 1 1 1 3 1.00

สงู ได้

12 ท่านชอบถอื ศีลหรือสวดมนต/์ นง่ั สมาธิเป็นประจาํ 1 1 1 3 1.00

13 ทา่ นไปทาํ บญุ ที่วัดในวนั พระหรอื วนั สาํ คญั ทางศาสนา 1 1 1 3 1.00

14 ท่านฟังเทศนฟ์ ังธรรมในวันพระหรือวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา 1 0 1 2 0.66

15 ท่านมีความสุขเม่ือได้ตดิ ตอ่ กับเพอื่ นฝงู อยเู่ สมอ หรือการทําบญุ การเข้ารว่ ม 1 1 1 3 1.00

กจิ กรรมงานประเพณตี า่ งๆ ในชมุ ชน เป็นตน้

16 ทา่ นเขา้ ร่วมกิจกรรมทีว่ ดั จดั ขนึ้ เช่นไปช่วยงานวัด ทอดกฐินอยเู่ สมอๆ 1 1 1 3 1.00

17 ทา่ นชว่ ยดแู ลรกั ษาส่ิงแวดล้อมและสมบัตสิ าธารณะของหมู่บา้ น 1 1 0 2 0.66

18 ทา่ นช่วยกจิ กรรมพัฒนาหม่บู า้ น เช่น ทําความสะอาด ปลูกต้นไม้ เมื่อมี 1 1 1 3 1.00
โอกาส

19 ท่านเข้าร่วมในการทาํ ประชาคมหมบู่ ้าน 0 1 1 2 0.66

20 ท่านเปน็ ทป่ี รกึ ษาใหก้ บั บคุ คลหรือองคก์ รเมอื่ มโี อกาส 1 1 1 3 1.00

รวมเฉลย่ี 0.79

ผลการประเมิน

ประเด็นคาํ ถาม(จติ ภาวนา) ของผูเ้ ชยี่ วชาญ รวม เฉลย่ี

1 23

21 ถา้ ทา่ นมอี ารมณ์โกรธบ่อยๆ จะทําใหเ้ กิดความเครยี ด 1 1 1 3 1.00

22 เมอ่ื ทา่ นทําส่ิงทีท่ ําให้มคี วามสขุ จะช่วยทาํ ใหจ้ ติ ใจทา่ นสดช่ืน และมีชวี ิตชวี า 1 1 1 3 1.00

รสู้ ึกผอ่ นคลาย หายเครยี ด เชน่ นง่ั สมาธ/ิ สวดมนต์

23 สงิ่ ท่ีทาํ แล้วมีความสุขของแตล่ ะคนอาจเหมือนหรือแตกต่างกันไป แตต่ ้อง 1 1 1 3 1.00

เกิดประโยชนต์ อ่ ตวั เอง สังคม และไมเ่ บยี ดเบยี นผู้อื่น

24 ทา่ นควรเลอื กทาํ ในส่ิงทีช่ อบ และมคี วามสนุกสนาน เหมาะกบั ความรู้ 1 0 1 2 0.66
ประสบการณ์เกา่ ๆทม่ี ีอยูแ่ ล้ว

25 ท่านมีงานอดเิ รกทําในชวี ิตประจําวัน เชน่ อา่ นหนงั สือ/ปลูกตน้ ไมห้ รอื สงิ่ อน่ื 1 1 1 3 1.00

ทีท่ ่านอยากทาํ

26 บุคคลในครอบครัวชน่ื ชมเม่ือทา่ นสุขภาพดี 1 1 1 3 1.00

27 เมือ่ ทา่ นเจบ็ ปว่ ยรสู้ ึกไมส่ บาย บุคคลในครอบครัวถามถึงอาการเจบ็ ป่วยของ 1 1 0 2 0.66

ทา่ นด้วยความเปน็ หว่ ง

28 แมจ้ ะมคี วามขดั แย้งเกิดขึ้นในครอบครัวของท่าน บุคคลในครอบครัวกย็ งั พดู 1 1 1 3 1.00

กบั ท่านดว้ ยเหตผุ ล และใสใ่ จในความเปน็ อยู่ของทา่ น

29 บุคคลในครอบครัวคอยใหก้ าํ ลงั ใจ เม่อื ทา่ นร้สู กึ ท้อแทจ้ ากปัญหาสว่ นตัว 0 1 1 2 0.66

และการเจบ็ ปว่ ย

30 ทา่ นทาํ กจิ กรรมในยามว่าง เชน่ ไปงานบญุ อยู่เสมอเมื่อมีโอกาส 1 1 1 3 1.00

205

ประเดน็ คาํ ถาม(ปญั ญาภาวนา) ผลการประเมิน
ของผเู้ ชี่ยวชาญ รวม เฉลย่ี

1 23

31 ท่านสามารถไปศึกษาหาความรูต้ า่ งๆ ที่ห้องสมดุ ได้ 1 1 13 1.00
1.00
32 ทา่ นสามารถไปหาความรเู้ กี่ยวกับการดูแลสุขภาพทสี่ ถานีอนามยั หรือสถาน 1 1 1 3
บริการสาธารณสุขได้ 1.00
0.66
33 ท่านสามารถไปหาความรู้ท่วี ดั ใกลๆ้ บ้านได้ 1 113
1.00
34 ท่านสามารถไปสนทนาธรรมหาความรู้หรือแลกเปลีย่ นความรตู้ า่ งๆ กบั พระ 1 0 1 2
ได้ 1.00

35 ทา่ นสามารถไปขอรบั เอกสารความร้ตู ่างๆ ท่ีสนใจจากศูนยก์ ารเรยี นรู้ใน 1 1 1 3 0.66
ชมุ ชนได้ 1.00

36 ทา่ นสามารถเข้าร่วมประชมุ เพอ่ื รับรขู้ า่ วสารตา่ งๆ ท่ีกลมุ่ องค์กรในชมุ ชน 1 1 1 3
จัดขึน้ ได้

37 ท่านมีความเชอ่ื มน่ั (ศรทั ธา) ในหลกั พทุ ธธรรมคาํ สอนของพระพทุ ธเจา้ 1 1 0 2

38 ทา่ นเช่อื วา่ การรับรู้หลกั พทุ ธธรรม แลว้ นาํ ไปปฏบิ ัตอิ ย่างสมํ่าเสมอจะกอ่ 1 1 1 3
เกดิ ประโยชนส์ ขุ ตอ่ ตนเอง

รวมเฉลี่ย 0.91

ประเด็นคําถาม(ดา้ นอนามัยส่วนบคุ คล) ผลการประเมนิ
ของผ้เู ช่ยี วชาญ รวม เฉล่ยี
39 ทา่ นแปรงฟนั ด้านหนา้ ด้านหลังฟนั เพ่ือใหเ้ ศษอาหารออกจากซอกฟนั ให้
หมด 1 23
40 ท่านควรแปรงฟันอยา่ งน้อยวนั ละ2 คร้งั ถา้ เปน็ ไปไดค้ วรแปรงฟนั หลงั อาหาร 1 1 1 3 1.00
ทุกมอื้
41 ท่านควรลา้ งมือก่อนรบั ประทานอาหารและหลังขบั ถ่าย 1 1 1 3 1.00
42 หลังอาบน้ําท่านไมค่ วรสวมเสอื้ ผ้าชุดเดมิ ควรเปลีย่ นใหมท่ กุ ครง้ั
รวมเฉลี่ย 0.92 1 1 1 3 1.00
1 0 1 2 0.66

ประเด็นคําถาม(ดา้ นการป้องกัน) ผลการประเมิน
ของผู้เชี่ยวชาญ รวม เฉลี่ย
43 ทา่ นควรนอนในห้องทีป่ ิดหน้าต่างมิดชิดเพ่อื ปอ้ งกนั ฝนุ่ ละอองและเชอื้ โรค
ต่างๆ 1 23
44.ท่านควรตรวจสขุ ภาพอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 1 1 1 3 1.00
รวมเฉลี่ย 1.00
1 1 1 3 1.00

206

ตอนที่ 3 แบบประเมินระดับการฝึกปฏบิ ัตติ นเองในการดูแลสุขภาพของผสู้ ูงอายุ จานวน 49 ข้อ

ผลการประเมนิ

การฝึกปฏิบตั ิตนเองในด้านการรบั ประทานอาหารทมี่ ปี ระโยชนแ์ ละเหมาะสม ของผเู้ ช่ยี วชาญ รวม เฉลี่ย

1 23

1. ทา่ นด่มื นํา้ สะอาดเพียงพอกับความต้องการของรา่ งกาย อย่างน้อย 6-8 แกว้ 1 1 1 3 1.00
ตอ่ วัน

2. ทา่ นไดร้ ับประทานอาหารประเภทผกั และผลไมต้ า่ งๆ อยา่ งเพียงพอ 1 1 1 3 1.00

3. ทา่ นรบั ประทานอาหารท่มี ไี ขมนั สูง 1 1 1 3 1.00

4. ทา่ นรบั ประทานอาหารรสจดั 1 0 1 2 0.66

5. ท่านไดด้ ืม่ เครอ่ื งดื่มบาํ รงุ ร่างกายเป็นประจํา 1 1 1 3 1.00

6. ทา่ นรับประทานอาหารประเภท ข้าว เนื้อ นม ไข่ ผักผลไม้ 1 1 1 3 1.00

7. ท่านรบั ประทานอาหารจาํ พวกขนมหวาน 1 1 0 2 0.66

8. ทา่ นแปรงฟนั โดยแปรงฟันด้านหนา้ และด้านหลงั ฟนั โดยแปรงเปน็ วง 1 1 1 3 1.00

9. ท่านแปรงฟันอย่างนอ้ ยวนั ละ2 คร้งั หรอื แปรงฟนั หลังอาหารทกุ มือ้ 0 1 1 2 0.66

10. ท่านใช้แปรงสีฟนั ทีม่ ีขนแปรงขนาดออ่ นนุม่ ไม่แขง็ มาก 1 1 1 3 1.00

11. ทา่ นล้างปาก หรือบ้วนปากบอ่ ยๆ 1 1 1 3 1.00

12. ท่านไดต้ รวจสุขภาพฟนั โดยทนั ตแพทยอ์ ย่างนอ้ ยปีละ 1 ครง้ั 1 1 1 3 1.00

รวมเฉลย่ี 0.91

207

การฝกึ ปฏบิ ัตติ นเองในดา้ นการออกกาลงั กายทีเ่ หมาะสม ผลการประเมนิ รวม เฉล่ยี
ของผู้เชีย่ วชาญ

1 23

13. ท่านมกี ารออกกาํ ลงั กายอย่สู ม่าํ เสมออย่างน้อยคร้งั ละประมาณ 20 นาที 1 1 1 3 1.00

14. ทา่ นออกกําลังกายอย่างนอ้ ย 3 วัน /สัปดาห์ 1 1 1 3 1.00

15. ทา่ นเรม่ิ ตน้ ออกกาํ ลงั กายด้วยการอบอนุ่ รา่ งกายกอ่ น 5-10 นาที แล้วจงึ เรมิ่ 1 1 1 3 1.00

เข้ากจิ กรรมทเี่ ลือก 15-20 นาที และลดระดบั ลงจนสภาวะปกติ 5-10นาที

16. ทา่ นใชล้ านออกกาํ ลังกายประจําหมบู่ า้ น 1 0 1 2 0.66

17. ทา่ นใช้ลานวัดออกกาํ ลงั กาย 1 1 1 3 1.00

18. ทา่ นใชส้ นามกีฬาภายในโรงเรยี นออกกาํ ลังกาย 1 1 1 3 1.00

19. ท่านใชส้ วนสาธารณะออกกําลงั กาย 1 1 0 2 0.66

20. ทา่ นใชบ้ รเิ วณบา้ นของตนเองออกกําลงั กาย 1 1 1 3 1.00

21.. วธิ ีหรอื รูปแบบที่ทา่ นออกกําลังกายคอื การเดนิ เรว็ 0 1 1 2 0.66

22.. วธิ ีหรือรูปแบบทที่ ่านออกกาํ ลังกายคือการวง่ิ เหยาะๆ 1 1 1 3 1.00

23.. วธิ ีหรอื รูปแบบทท่ี า่ นออกกาํ ลงั กายคอื การทาํ สมาธบิ าํ บดั /เดินจงกรม 1 1 1 3 1.00

24..วธิ ีหรอื รปู แบบทที่ า่ นออกกาํ ลงั กายคือการบรหิ ารแขน มือ คอ เอว ฯลฯ 1 1 1 3 1.00

25. อ่นื ๆ (ระบุ)................................ 0 1 1 2 0.66

รวมเฉลย่ี 0.88

การฝึกปฏิบตั ติ นเองในด้านสังคม(ศลี ภาวนา) ผลการประเมนิ
ของผ้เู ชย่ี วชาญ รวม เฉลี่ย
26.ท่านสมาทานศลี รกั ษาศลี ทกุ วนั พระ
27.ทา่ นมีความปรารถนาดี มีเมตตา กรุณาตอ่ เพอ่ื นบ้าน 1 23
28.ท่านมีอาชีพสจุ รติ มีความเอ้อื เฟอ้ื เผอ่ื แผ่
29.ทา่ นมคี วามสํารวมในกาม ควบคุมตนเองให้ต้งั อยคู่ วามไมเ่ บียดเบียน 1 0 1 2 0.66
30.ท่านพดู แต่สง่ิ ท่เี ป็นจริง และสรา้ งสรรค์ 1 1 1 3 1.00
31.ทา่ นมีการสาํ รวมระวังกาย วาจาใจ ไมใ่ หต้ กเป็นทาสของสารเสพตดิ 1 1 1 3 1.00
รวมเฉลี่ย 0.82 1 1 0 2 0.66
1 1 1 3 1.00
0 1 1 2 0.66

208

การฝึกปฏบิ ตั ติ นเองในดา้ นจิต(จติ ภาวนา) ผลการประเมิน
ของผเู้ ชย่ี วชาญ รวม เฉลีย่

32. ทา่ นออกกาํ ลังกาย และเลน่ กฬี า เพื่อคลายเครยี ด 1 23 1.00
33. ทา่ นนงั่ สมาธิทุกครัง้ เพอ่ื ควบคมุ จติ ให้คลายความฟงุ้ ซ่าน 1.00
34.ทา่ นสวดมนตท์ กุ ครัง้ เพื่อให้เกดิ บุญและแผส่ ่วนบญุ ใหส้ รรพสัตวท์ ง้ั หลาย 1 1 13 1.00
35. ท่านเหน็ ผอู้ ่ืนประสบทกุ ข์ ก็คดิ จะช่วยเหลอื ให้พน้ ทกุ ข์ 1 113 0.66
36. ท่านรสู้ ึกทอ้ แทต้ ่อชวี ติ ก็คิดทบทวนหาเหตนุ ัน้ ๆ 1 113 1.00
37. ทา่ นระงบั ความโกรธได้ เพราะความรักตอ่ สิ่งนัน้ ๆ 1 012 1.00
38. ทา่ นเดินจงกรมเพราะได้ออกกําลังกาย จติ เป็นสมาธิ 1 113 0.66
39. ทา่ นทําสมาธิบาํ บดั เพราะชว่ ยลดความเจบ็ ปวดขอ้ เข่า การปวดเมือ่ ยตาม 1 113 1.00
ตวั บา่ ไหล่ 1 102
40.การเลยี งชีพในทางทีช่ อบ ทําใหท้ า่ นมสี มาธิ ไม่โกรธงา่ ย ใหอ้ ภยั 1 113
41.ทา่ นฝกึ จติ ใหร้ ้จู กั ควบคมุ ฝกึ หดั กายและวาจา เป็นการฝกึ ฝนพัฒนาจติ ใจ
พร้อมกนั ไปด้วย. 0 1 1 2 0.66
1 1 1 3 1.00
การฝึกปฏิบัตติ นเองในด้านการพัฒนาปัญญา
ผลการประเมิน
ของผูเ้ ชย่ี วชาญ รวม เฉล่ีย

1 23

42.ทา่ นสามารถหาความรเู้ กีย่ วกบั การดแู ลสุขภาพได้ทสี่ ถานอี นามยั หรอื สถาน 1 1 1 3 1.00
บรกิ ารสาธารณสขุ ได้ 1.00

43.ทา่ นฟงั เทศน์เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรเู้ ทา่ ทันชวี ิตตนตามความเป็นจรงิ 1 113

44.ทา่ นรักษาศลี เพือ่ ใหเ้ กดิ สมาธิ ลดความโลภ ความโกรธ ความหลง และ 1 113 1.00
ความเครยี ด ลงได้บ้าง
012 0.66
45.ทา่ นไปสนทนาธรรมเพอื่ หาความรูเ้ ทา่ ทันเหตุปจั จยั นั้น 1 113 1.00

46.ทา่ นปรกึ ษาเพ่ือน/คนในครอบครวั เพ่ือรับร้ปู ระสบการณใ์ หต้ รงกบั ความเปน็ 1 113 1.00
จริง 102 0.66

47.ท่านอ่านหนังสอื ท่วั ไปเพื่อให้รู้เทา่ ทันทุกเหตุการณ์ 1 113 1.00

48.ท่านดูโทรทศั น์เพือ่ ใหเ้ กดิ ความเพลดิ เพลินและมคี วามรทู้ ันเหตกุ ารณ์ 1

ปัจจบุ นั

49.อ่ืนๆ(ระบ)ุ 1

รวมเฉลย่ี 0.81

รวมเฉลย่ี ทงั้ ฉบับเท่ากบั 0.88

209

คู่มือผู้สูงอายุ

คู่มอื การดแู ลสุขภาพของผูส้ งู อายดุ ้วยหลักพุทธธรรม

ทฤษฎีการสงู อายุ
ความหมาย
ผสู้ ูงอายุตามคําจํากัดความของมติสมัชชาใหญ่ของโลกผู้สูงอายุที่กรุงเวียนนา พ.ศ. 2525

หมายถึง ผู้ท่ีมีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป โดยที่ประชุมองค์การอนามัยโลกท่ีเมือง KIEV ประเทศรัสเซีย ปี
ค.ศ. 1963 ไดจ้ ัดประเภทการเป็นผู้สูงอายุ โดยยดึ เอาความยนื ยาวของชวี ิต ตามปปี ฏทิ นิ ดังนี้ คือ

1. วยั สูงอายุ อายุระหว่าง 60 -74 ปี เป็นผู้สูงอายุวยั ต้น (Young Old) ยังสามารถ
ทํากิจกรรมได้

2. วยั ชรา มีอายุ 75 ปีขนึ้ ไป (Old-Old) ถอื วา่ เป็นผู้สูงวยั อย่างแทจ้ ริง
ผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2546 หมายถึง บุคคลท่ีมีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์และมี
สญั ชาตไิ ทย15
บรรลุ ศิริพานิช ได้กล่าว่า ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปโดยนับอายุตามปี
ปฏิทิน ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่องค์การระหว่างประเทศได้ตกลงกันเป็นมาตรฐานสากลในการ กําหนดอายุ
เริม่ ต้นของชราภาพ16
จากความหมายดงั กลา่ วผูส้ ูงอายหุ มายถงึ ผู้ทีม่ ีอายุ 60 ปีขึ้นไป มกี ารเปลย่ี นแปลงไปตาม
วยั ทงั้ รา่ งกาย จิตใจ ปญั ญาและสังคม
เกณฑก์ ารแบ่งช่วงอายุผ้สู ูงอายุ
บรรลุ ศริ พิ านชิ ได้จําแนกผสู้ ูงอายตุ ามอายุและภาวะสุขภาพออกเปน็ 3 กลมุ่ ดังน้ี

1. กลุ่มผู้สูงอายุระดับต้น (The Young Old) เป็นผู้มีอายุ 60-70 ปีมีการ
เปลี่ยนแปลง สภาวะทางกายภาพและสรีระวิทยาเปล่ียนแปลงไปไม่มาก สามารถช่วยตนเองได้เป็น
ส่วนใหญ่ และเพิ่งผ่านวัยที่มีประสบการณ์มาก จึงควรนําผู้สูงอายุกลุ่มนี้ไปช่วยงานสร้างสรรค์ต่อ
วิชาการ และดูแลผ้สู ูงอายวุ ยั อน่ื

2. ผู้สูงอายุระดับกลาง (The Middle Old) เป็นผู้มีอายุ 71-80 ปี มีการ
เปล่ียนแปลงสภาวะทางกายภาพและสรีระวิทยาไปแล้วเป็นส่วนใหญ่ มีความพร่องในการดูแลตนเอง
เรมิ่ มี ความจาํ เป็นหรือตอ้ งการดูแลจากบุคคลอืน่ ในสว่ นที่พรอ่ งไป

3. กลุ่มผู้สูงอายุระดับปลาย (The Old Old) เป็นผู้สูงอายุ 81 ปีข้ึนไป มีการ
เปล่ียนแปลงสภาวะทางกายภาพและสรีระวิทยาไปอย่างเห็นชัดเจน มีความพร่องในการดูแลตนเอง
จําเปน็ ต้องการการดแู ลจากบุคคลอนื่ ในสว่ นท่ีพรอ่ งไป17

15 กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข, การออกกาลังกายทั่วไปและเฉพาะโรคผู้สูงอายุ.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย, 2548),หน้า 1..

16บรรลุ ศิรพิ านิช เวชศาสตรผ์ ูส้ งู อาย.ุ (กรุงเทพมหานคร : กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ , 2532).
หน้า 42

17 บรรลุ ศริ ิพานิช, เร่อื งเดยี วกนั หนา้ 42

210

องค์การอนามัยโลกได้ยึดความยาวของชีวิตตามปีปฏิทินเป็นเกณฑ์เบ้ืองตน้ ได้กําหนดวัย
สูงอายุมีอายุในช่วง 60-74 ปี วัยชราจะเป็นกลุ่มอายุ 75 ปีข้ึนไป แต่ในการประชุมสมัชชาโลก
กําหนดให้ผ้สู งู อายุเปน็ ผูท้ ่มี อี ายุต้งั แต่ 60 ปีขึน้ ไป และเปน็ มาตรฐานเดยี วกันท่ัวโลก

การเปล่ียนแปลงของผู้สงู อายุ
ลักษณะการเปล่ียนแปลงตามสภาพอายุ มีผลกระทบอย่างมากต่อตัวผู้สูงอายุ การ

ทาํ งาน บุคคล ส่ิงแวดล้อมและสังคม เหตเุ กิดจากความเส่ือมถอยของร่างกายที่เพ่ิมขึ้นตามลําดับอายุ
แต่การเส่ือมถอยนี้มิได้หมายถึงความเจ็บปวด ไม่ใช่การเป็นโรค ผู้ท่ีอายุมากขึ้นสามารถบํารุงรักษา
ตนเองให้คงสภาพอยู่ได้ สามารถใช้ชีวิตได้อย่างกระฉับกระเฉง คล่องตัวเหมือนเดิมหากเข้าใจการ
เปลีย่ นแปลงตามอายุ ผวู้ ิจัยได้ทําการศกึ ษาไว้ 4 หวั ข้อ ดังน้ี

1. การเปล่ียนแปลงทางร่างกาย
กุลยา ตันติวาอาชีวะ18ได้กล่าวว่า ปรากฏการณ์ของความมีอายุน้ัน จะดําเนินไป

อย่างช้าๆเมื่อเลยวัยกลางคนไปแล้วร่างกายจะเร่ิมมีการเปล่ียนแปลงของโครงสร้างและหน้าท่ีของ
เซลล์เนื้อเยื่อ ความเต่งตึงลดลง กล้ามเน้ือลดความแข็งแรงขาดความกระฉับกระเฉง ขาดความไวใน
การตอบสนองต่อสิ่งเร้า ความสามารถในการทํางานประสมประสานกันของระบบประสาทและ
กล้ามเนื้อถดถอย ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงนี้เกิดข้ึนกับทุกระบบของร่างกาย แต่ในอัตราและระยะเวลาที่

ต่างกนั ดงั น้ี
1) ผิวหนัง เมื่อมีอายุมากข้ึน ผิวหนังและเน้ือเยื่อผิวหนังจะขาดความเต่งตึง ไม่

ยืดหยุ่น มีลักษณะแห้งและเหี่ยวย่น โดยเฉพาะใบหน้าเป็นตําแหน่งท่ีเห็นรอยย่นได้ชัดเจนที่สุด เมื่อ
เร่ิมมีอายุผิวหนังส่วนหางตาจะย่นยับเป็นตีนกาข้ึน ซึ่งบางคนอาจยับน้อย แต่กลับไปมีรอยย่นที่หนัง
ตาด้านล่างแทนหรือหนังตาช้ันลา่ งแทนหรือหนังตาชั้นล่างห้อยเป็นถุงใหญ่ข้ึนตามความมีอายบุ างคน
หน้าผากย่นเป็นรอย นอกจากนี้เมื่ออายุมากข้ึนอีกบางคนจะมีผิวตกกระหรือมีหูด คนแก่เป็นติ่งเน้ือ
งอกเป็นเม็ดเล็กๆ สีเหลือง สีนํ้าตาลหรือดําออกมาตามตัวแขนขาหรือใบหน้า เป็นจุดเล็กๆสังเกตเห็น
ไดแ้ ตไ่ มม่ ีอันตราย

2) ตา ความมีอายุทําให้เลนส์ตาเสื่อม ความสามรถในการปรับระยะภาพลดลง
สายตาของคนเร่ิมมีอายจุ ะเปล่ียนเปน็ สายตายาว พบได้เมอ่ื อายุ 40 ปขี ึ้นไป แตบ่ างคนอาจเร็วกว่าได้
ทําให้อ่านหนังสือต้องใช้แว่นสายตาช่วย การเปลี่ยนแปลงของตาอีกประการหนึ่งที่พบมากคือ มีวง
แหวนขุ่นขาวเกิดข้ึนท่ีรอบๆ ตาดํา (senilis) สาเหตุเนื่องจากบริเวณขอบตาดํามีสารไขมันมาเกาะจับ
เน้ือเยื่อโดยรอบ การเปล่ียนแปลงนี้ไม่เป็นอันตรายต่อตาและการมองเห็นยังเป็นปกติ เพียงแต่ดูหน้า
แลว้ เหน็ ตาจะรู้ว่ามอี ายุทันที

3) หู เป็นอวยั วะสําคญั ของการส่ือสารเช่นเดยี วกับตา ลักษณะความเสอื่ มของหเู ป็น
เช่นเดียวกับตา กล่าวคือเมื่อมีอายุความสามารถในการได้ยินจะลดลง เนื่องจากความเสื่อมของระบบ
การไดย้ ินเสียง ซง่ึ ประกอบด้วย อวยั วะสําคัญ 4 สว่ นคือ

18 กุลยา ตันติวาอาชีวะ, คู่มือผู้สูงอายุสุขภาพสูงวัย ดูแลได้ด้วยตัวเอง,(กรุงเทพมหานคร : เพชร

ประกาย, 2560), หน้า 18-41,2560

211

(1) หูชั้นกลางทําหน้าที่ตอบสนองต่อการนาํ เสียง
(2) หูชน้ั ในทําหน้าท่ีวิเคราะหก์ ลไกความถแี ละการถา่ ยโยงส่งิ เร้า
(3) เส้นประสาท สําหรบั นําเสยี งและเลือกเฟน้ การไดย้ ินไดฟ้ งั และ
(4) ศนู ย์รบั เสยี งสว่ นกลาง ทัง้ 4 ส่วนน้ีจะทําหน้าท่ีประสมประสานและแปล
เสียง สาเหตุของความเสื่อมของหูมักเกิดจากอวัยวะการรับเสียงดังกล่าวเส่ือม ซ่ึงพบมากใน
ผู้สูงอายเุ ลย 70 ปไี ปแล้ว เพราะฉะนั้นไม่ต้องกลวั อาจพบไดก้ ับในคนอายนุ อ้ ยกว่า 70 ปี แต่
เปน็ บางคนเทา่ น้นั
4) กล้ามเนื้อ คนจะมีกล้ามเน้ือท่ีแข็งแรงและเจริญเต็มที่ เมื่ออายุประมาณ 25-30
ปหี ลงั จากนัน้ ก็จะเส่ือมถอยกาํ ลังลง แต่ผู้ทีใ่ ช้กาํ ลังกลา้ มเน้อื อย่างสมาํ่ เสมอ เช่น นกั กีฬา ผู้ใช้แรงงาน
ความแข็งแรงของกลา้ มเน้อื จะคงตัวไดน้ านถึงอายุ 60 ปี จากนนั้ ก็เสือ่ มสภาพลงเชน่ กัน ความแขง็ แรง
ของกล้ามเน้ือจะเสื่อมช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับวิถีการดํารงชีวิตของคนๆน้ัน สัดส่วนกล้ามเน้ือแขนขา
ลําตัวที่ลดขนาดลงจะถูกแทนท่ีด้วยเน้ือเย่ือไขมัน ทําให้เกิดการหย่อนยาน ลุ่น เช่น ที่หน้าท้อง ต้น
แขนและผนงั หน้าทอ้ ง ถ้าอว้ นมากไขมนั จะเพ่ิมมากเกดิ เป็นตน้ แขนห้อย เหนยี งคอยาน
5) กระดูก วัยสงู อายุเป็นวยั ทกี่ ระดูกมีความเปราะบางและหกั ง่าย โดยเฉพาะผู้หญิง
หลังหมดประจําเดือน เน้ือกระดูกจะสูญเสยี แคลเซียมซึ่งเปน็ ส่วนประกอบสาํ คัญไดง้ ่าย ทําให้เป็นโรค
กระดูกพรุนคือเมื่อหกล้มกระดูกจะหักโดยเฉพาะกระดูกข้อมือ หรือหัวของกระดูกต้นขาตรงข้อต่อท่ี
สะโพก นอกจากกระดูกพรุนแล้ว ในวัยสูงอายุอาจพบหมอนรองกระดูกสันหลังเส่ือม ทําให้มีอาการ
ปวดหลัง คนท่ีอ้วนมาก หรือคนท่ีทํางานหนักต้องใช้แรงงานจะมีกระดูกข้อต่อเสื่อมมากกว่าคนท่ัวไป
ความเส่ือมของกระดูกมีผลต่อโครงสร้างของร่างกายของผู้สูงอายุบางคน ทําให้มีลักษณะไหล่คุ้มและ
หลงั โกง่ เมอ่ื แก่ตัว
6) ระบบภายในร่างกาย ในขณะท่ีร่างกายภายนอกมีการเปล่ียนแปลงไปตามอายุ

ซ่ึงสามารถสังเกตเห็นได้ สภาพภายในร่างกายก็มีการเปล่ียนแปลงไปอย่างช้าๆตามอายุด้วย

โดยเฉพาะการยอ่ ย และการขบั ถ่าย ระบบภายในรา่ งกายทีเ่ ปลีย่ นแปลงปรากฏ ดังนี้

(1) ประสิทธิภาพการดูดซึมอาหารลดลง ปัญหาของผู้สูงอายุในการรับประทาน

อาหารท่ีสาํ คัญคือเรอื่ งของฟนั มีผู้สูงอายนุ ้อยคนท่ีจะดาํ รงฟันแท้ของตนไว้ตลอดอายุขัย ส่วนใหญ่มัก

พบว่าต้องอาศัยฟันปลอมทําให้การบดเค้ียวอาหารไม่ละเอียด กระบวนการย่อยในปากขาดคุณภาพ

เม่อื อายุมากการทาํ งานของกระเพาะและลําไสจ้ ะลดลงตามไปด้วย กระเพาะอาหารจะหล่ังเอมไซม์ทริ

พซิน และเปปซินในปริมาณลดลงกว่า 20% ทําให้อาหารที่รับประทานเข้าไปย่อยไม่สมบูรณ์ร่างกาย

ดูดซึมได้น้อย อีกทั้งอาหารบางอย่างร่างกายก็ดูดซึมได้น้อยลงไปด้วย เช่น แคลเซียมและเหล็ก ด้วย

ภาวการณ์เปล่ียนแปลงนี้อาจเป็นเหตุผลใหผ้ สู้ งู อายเุ ป็นโรคขาดสารอาหาร

(2) อัตราการเผาผลาญอาหารต่ํา การเผาผลาญอาหารสัมพันธ์กับการหายใจ เมื่อมี
อายุการทํางานของระบบการหายใจเสื่อมประสิทธิภาพ สาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงของกระดูก
ซี่โครงทําให้การขยายตัวของช่องอกจํากัดประกอบกับเมื่อมีอายุเน้ือเย่ือปอดจะแข็งตัว ขาดความ
ยืดหยุ่นเป็นเหตุให้การทํางานของปอดไม่เต็มที่ สมรรถภาพการหายใจลดลง การรับและกระจาย
ออกซิเจนในร่างกายไปสู่เนือ้ เย่ือจึงต่ํา ซ่ึงทําใหอ้ ัตราการเผาผลาญอาหารในร่างกายลดลงไปด้วย ทาง

212

แก้คือการออกกําลังกายหรือมีกิจกรรมทําอย่างสมํ่าเสมอ จะช่วยรักษาสมรรถภาพการทํางานของ
ระบบการหายใจใหค้ งอยไู่ ดน้ านขน้ึ ซง่ึ ช่วยใหอ้ ตั ราการเผาผลาญอาหารดขี ึ้น

(3) การไหลเวียนของโลหิตไม่ดี เมื่อมีอายุหลอดเลือดมักแข็งตัว ขาดความยืดหยุ่น
จุดนี้เป็นสาเหตุสําคัญทําให้ผู้สูงอายุมีอาการหน้ามืดเป็นลมง่าย เพราะเลือดไปเล้ียงสมองไม่ทันการ
ออกกําลังกายท่ีพอเหมาะจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตให้คงตวั ได้ และเพ่ิมประสิทธิภาพการ
ทํางานของหวั ใจ

ดงั น้นั เมือ่ เข้าวัยสูงอายุ เพือ่ คงไวซ้ ่ึงสภาพการไหลเวยี นของโลหิตที่ดี
- ต้องฝึกหายใจเข้าออกยาวๆลึกๆ
- ต้องออกกําลังกายไมอ่ ยู่น่งิ
- อยูใ่ นท่ที อี่ ากาศถ่ายเทได้ดี
- อย่าลืม เดิน ว่ิง เต้นแอโรบิค เต้นรํา หรือทําอะไรก็ได้ ที่ทําให้ร่างกายเคลื่อนไหว
อย่าอยู่นง่ิ ร่างกายจะเสื่อมไว
(4) การขับถ่าย ผู้สูงอายุมักถ่ายปัสสาวะบ่อย ท้ังนี้เพราะความจุของกระเพาะ
ปัสสาวะลดลงประมาณ 50% ของวัยรุ่นหนุ่มสาว บางรายอาจถ่ายขัดโดยเฉพาะผู้สูงอายุชาย สาเหตุ
ทพ่ี บมากมักเนือ่ งมาจากต่อมลูกหมากโต อีกอย่างในผู้ใหญ่อาจกลั้นปสั สาวะไมอ่ ยู่ เพราะกล้ามเน้ืออุ้ง
เชิงกรานหย่อน โดยเฉพาะหญิงท่ีคลอดบุตรมาแล้วหลายคน ปัญหาการขับถ่ายอุจจาระของผู้สูงอายุ
เป็นอีกปัญหาหน่งึ ทส่ี าํ คญั โดยเฉพาะท้องผูก ท้ังนีเ้ น่ืองจากระบบการย่อยอาหารไม่ปกติ และรา่ งกาย
มีกิจกรรมตา่ งๆ ลดลง ลําไส้ไม่เคลื่อนไหว การขับถ่ายไม่คล่องตัว เกิดการกกั เก็บของก้อนอุจจาระทํา
ใหผ้ สู้ งู อายมุ ักมปี ญั หาท้องผกู ประจํา
การเปลี่ยนแปลงของรา่ งกายแมจ้ ะเป็นไปตามธรรมชาติของสังขารและอายกุ ็ตาม ก็มคิ วร
ละเลย หากปล่อยไปตามธรรมชาติไม่ปรับตัว โอกาสการเกิดโรคหรือเป็นโรคง่าย มีหลายโรคใน
ผู้สูงอายุท่ีสามารถป้องกันได้ หากเจ้าของกายใส่ใจตนเอง ส่ิงที่ต้องจําไว้คือ เมื่อผู้สูงอายุเป็นโรคแล้ว
มักต้องใชเ้ วลาในการรักษานานกว่าวยั อื่นๆ แม้จะเปน็ โรคอย่างเดียวกัน ดังนัน้ การป้องกันและการใส่
ใจดูแลสุขภาพจงึ เป็นสิง่ สําคญั ทส่ี ุดสําหรับผ้มู ีอายุ
การเปลย่ี นทางสมรรถภาพ
สมรรถภาพ คือ ความสามรถในการปฏิบัติงานของร่างกาย จิตใจ และสมอง หลายคน
มองเห็นว่าความมอี ายุทําให้สมรรถภาพด้านต่างๆของคนลดลงโดยอตั โนมัติ ซึ่งตามขอ้ เทจ็ จรงิ แลว้ ไม่
เป็นเช่นนั้นเสมอไป ความเสื่อมถอยทางสมรรถภาพในผู้สูงอายุเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุอาจ
เน่ืองจากความจํากัดทางร่างกาย การขาดสิ่งจูงใจ หรือปัญหาทางสุขภาพก็ได้ ความเส่ือมถอยทาง
สมรรถภาพท่ีเกิดขึ้นจะเป็นในแง่ความรวดเร็วในการตอบสนองสิ่งเร้าที่ช้ากว่าวัยรุ่นหนุ่มสาวเท่านั้น
แตถ่ ้าพิจารณาในแงค่ ุณภาพของสมรรถภาพแลว้ ยงั คงเดมิ เปน็ ส่วนใหญ่ การตัดสนิ สมรรถภาพของคน
มักจะไปมองในแง่ประสิทธิภาพซึ่งเป็นไปไม่ได้ท่ีผู้สูงอายุจะคงความสามารถเช่นน้ัน ต้องมีการ
เปลีย่ นแปลงบ้าง ปัจจัยทีม่ ีผลต่อสมรรถภาพของผูใ้ หญ่ มดี ังน้ี
1. การมองรปู ลักษณต์ นเอง
ผู้สูงอายุจะมีมโนทัศน์และการมองรูปลักษณ์ของตน (Self-image) ท่ีแตกต่างกัน บางคน
มองเห็นคุณค่า และความสามารถของตน บางคนมองตนอย่างไร้ความหมาย นั่งรอวันตายใช้ชีวิตให้

213

หมดไปวันหน่ึงๆ โดยไม่มีความหมาย ซึ่งการมองตนเองเช่นน้ีข้ึนอยู่กับประสบการณ์ในอดีตและ
พัฒนาการของชีวิตว่าประสบผลสําเร็จมากน้อยเพียงใด ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ผู้ตั้งทฤษฏีจิต
วิเคราะห์กล่าวว่า การที่บุคคลยึดมั่นถือม่ันอยู่กับส่ิงใดสิ่งหน่ึงของตนน้ัน เน่ืองจากมีความขัดแย้งใน
จิตใจท่ีเกิดข้ึนระยะใดระยะหนึ่งของการพัฒนาการตามวัยของชีวิต แล้วไม่สามารถแก้ปัญหาได้ จึง
ถ่ายทอดความคับข้องใจน้ีไปเป็นการยึดความคิดตนเป็นสรณะ มองความสามารถ รูปลักษณ์ และมี
มโนทัศน์ต่อตนเองไปในลักษณะท่ีตนคิดว่าควรจะเป็น ซ่ึงบางครั้งทําให้การใช้ความสามารถในการ
ปฏิบัติงานไม่ตรงกับความสามารถแท้จริงของตน ทําให้ดเู หมอื นวา่ มีอายุแลว้ สมรรถภาพลดลง

2. บุคลกิ ภาพ
บุคลิกภาพเป็นผลท่ีมาจากกรรมพันธุ์ ส่ิงแวดล้อม การรับรู้ และการคิด ความเข้าใจก่อตัวเข้า
เป็นบุคลิกภาพของคนๆนัน้ ซึ่งลกั ษณะบุคลิกภาพและอปุ นิสยั ในวัยสูงอายุจะเป็นแบบใดนัน้ จึงขึ้นอยู่
กับการพัฒนามาตั้งแต่วัยเด็ก ทางด้านร่างกาย อารมณ์ เชาวน์ปัญญาและการปรับตัวในสังคม
ลักษณะของบุคลกิ ภาพของแต่ละคนจะบ่งบอกนิสัยการแสดงออกพฤติกรรม ท่าที และจิตใจของคนๆ
นนั้ ดังนั้น ผู้สงู อายทุ ี่มีบคุ ลิกภาพอ่อนมาต้ังแต่สมัยเด็ก ก็ย่อมจะมีลกั ษณะและความสามารถไปอย่าง
น้ันด้วย เมื่อมีข้อจํากัดทางกายตามอายุจะเสริมให้บุคลิกสงบมากขึ้น แต่ผู้สูงอายุที่แกร่งกล้ามาก่อน
พอมีอายุกย็ ังคงบคุ ลิกแกรง่ กล้าน้ันได้
3. ความสนใจ

คนเมื่อมีอายุจะมีลักษณะไม่ชอบการเปล่ียนแปลงเป็นพื้นฐาน ไม่สนใจงานท้าทาย ไม่
ชอบงานใหม่ๆ ท่ีต้องใช้การตัดสินใจและความสามารถสูง เพราะความจํากัดของร่างกาย ทําให้
ผู้สูงอายุไม่ม่ันใจและวิตกกังวลกับความสําเร็จ ไม่กล้าเส่ียงทํา เพราะถ้าผิดพลาดกลัวอายเด็ก อีก
ประการหน่ึงผู้สูงอายุจะมองว่าชีวิตของตนกําลังสิ้นสุด อนาคตและผลลัพธ์ ความหวังในชีวิต
ความสําเร็จ เกียรติยศ ไม่มีความหมายต่อไปอีกแล้ว ทําให้ผู้สงู อายุไม่อยากไดส้ ่ิงใหม่ สิ่งท่ีผู้สูงอายุจะ
หนั ไปสนใจมากข้ึนกค็ อื งานในลักษณะแบบเดิมท่ีตนคนุ้ เคยมามากกวา่ การทาํ งานใหม่ๆ

4. ความทรงจํา
ความทรงจําของคนเรามีอยู่ 3 ลักษณะ คือ 1) ความจําในอดีต (remote memory)
จําเรื่องราวเก่าๆที่ผ่านมาได้ 2) ความจําในเร่ืองปัจจุบัน (recent memory) เป็นความจําใน
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เรื่องราว ประสบการณ์ หรือ ข้อมูลที่ได้รับในรอบ 24 ช่ัวโมง และ 3) ความจํา
เฉพาะหน้า (immediate memory) เป็นการจดจําเรื่องท่ีเกิดข้ึนในทันทีช่ัวระยะเวลาอันส้ัน ผู้สูงอายุ
จะมีปญั หาความจําในลักษณะที่ 3 มาก ประเภทได้หน้าลืมหลงั
ปกติแล้วคนเราจะมีความจําดีมากเมื่ออายุ 5-25 ปี แต่เมื่ออายุมากขึ้นความสามารถใน
การจาํ จะลดลงตามลาํ ดบั ยกเว้น ความจําเร่ืองในอดีตจะยังคงดีอยู่และชัดเจน ผู้สูงอายจุ งึ มักชอบเล่า
เร่ืองในอดีตท่ีตนจดจําได้มากกว่าเหตุการณ์ในปัจจุบัน ซึ่งแท้จริงแล้วผู้สูงอายุอาจจะจําเรื่องใน
ปัจจุบันได้ดีเช่นกัน แต่ต้องให้เวลาในการคิดและจดจํา แต่ความหลากหลายของงานและความกังวล
เปน็ เหตใุ ห้ผสู้ ูงอายจุ ําไม่ไดม้ ากขนึ้
5. ความเสื่อมของวยั
เม่ืออายุมากข้ึนความสามารถและความฉับไวลดลง มีความเส่ือมถอยทางจิตใจเจ็บป่วยได้
ง่าย ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ยาก ประกอบกับความสามารถในการตอบสนองของระบบประสาท

214

ส่วนกลางช้า มีความเส่ือมของสมองส่วนคอร์เทกซ์ การประสมประสานความคิดอ่าน การเรียนรขู้ าด
ความว่องไว การรับสัมผสั เสอ่ื มลง

องคป์ ระกอบดงั กล่าวทง้ั 5 ประการ มีผลต่อสมรรถภาพของผสู้ งู อายุด้านตา่ ง ๆ ดังน้ี
1. สมรรถภาพทางร่างกาย ผู้สูงอายุจะมีการแสดงออกของพฤติกรรมทางกายช้าลง
ความสามารถทางทักษะกล้ามเนื้อ และพลังงานลดลง การทํางานประสานกันของระบบประสาทและ
กล้ามเน้ือขาดประสิทธิภาพ กล้ามเนื้อขาดความตึงตัว ลกั ษณะการปฏิบัติงานจะเปรียบเทยี บไม่ได้กับ
วัยหน่มุ สาว
2. สมรรถภาพในการเรียนรู้ การศึกษาหาความรู้และสร้างทักษะเป็นกระบวนการสําคัญ
ของชีวิต ผู้สูงอายุจะยังคงสามารถเรียนรู้ได้ แต่อัตราความเร็วในการเรียนรู้จะลดลง ซึ่งมิได้
หมายความว่า จะไม่เกิดการเรียนรู้ หรือขาดสมรรถภาพในการเรียนรู้ เพียงแต่ต้องใช้เวลาในการ
เรียนรู้มากขึน้ กว่าเดมิ ผสู้ ูงอายุกจ็ ะสามารถเรียนรู้วิชาการไดเ้ ช่นเดียวกับคนวัยอนื่ แต่การเรยี นรู้ในเชิง
ทักษะปฏิบัติ (learning performance) อันเป็นการเรียนรู้ท่ีมีกระบวนการและขั้นตอนท่ีซับซ้อน
ต้องใช้ความจําเพาะหน้าประกอบในการท่จี ะเรียนรู้น้ัน
3. ต่อต้านการนํานวัตกรรม ซ่ึงหมายถึงเทคนิค วิธีการหรือเคร่ืองมือใหม่ๆมาใช้ในการ
แกป้ ญั หาหรือการทาํ งาน
- มจี ิตคาํ นึงถงึ แต่ตนเอง ขี้อาย ช่างคิดแตร่ อบคอบ
- ระมดั ระวังมากข้นึ ใจนอ้ ย ทําอะไรตอ้ งคงที่สมาํ่ เสมอ
- มีปัญหามากในสง่ิ ทย่ี งั ไม่เรียนรู้ ยอมรบั ความผดิ พลาดหรอื ข้อบกพรอ่ งไดย้ าก
4. ความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เชาวน์ปัญญาเป็นความสามารถของบุคคลที่มีต่อ
สิ่งแวดล้อมในการแสดงออก การกระทํา การคิดอย่างมีเหตุผล โดยบูรณาการความสามารถในการ
รับรู้และความรู้เข้าด้วยกัน การแสดงออกทางเชาวน์ปัญญาจะสัมพันธ์กับการเรียนรู้ ความจําการ
แก้ปัญหา เหตุผล ความคิด และความสามารถในการสื่อภาษาและท่าทางให้คนอื่นรับรู้ ต่อเม่ืออายุ
ความสามารถทางเชาวนป์ ญั ญาดังกล่าวจะลดลง เนื่องจากความเส่ือมของสมองความจําเปน็ ของสมอง
ความจําและอาจมปี ัญหาสขุ ภาพร่วมด้วย
5. สมรรถภาพทางเพศ จําแนกออกได้เปน็ 2 ประการ
ประการแรกคือความสามารถในการสืบพันธุ์ ผู้หญิงจะหมดความสามารถในการสืบพันธุ์
ทนั ทีท่ีหมดประจําเดือน แต่ความสามารถทางเพศยังคงอยู่ ส่วนผู้ชายคงความสามารถในการสืบพันธ์ุ
มีไดต้ ลอดอายุขยั ไม่วา่ ผชู้ ายจะแตง่ งานเมื่ออายุมากเท่าใดกต็ าม ก็สามารถมบี ุตรไดเ้ สมอ
ประการที่สอง สมรรถภาพทางเพศในแงเ่ พศสัมพันธ์ท้ังหญิงและชายจะจาํ กัดลง ซ่ึงมิได้มี
สาเหตุมาจากอายแุ ตส่ าเหตสุ ําคญั มักมาจากความรสู้ กึ ต่อการมเี พศสมั พนั ธม์ ากกวา่
องคป์ ระกอบร่วมทสี่ าํ คญั
1. ความกลัว ที่กลัวมากคือกลัวไม่ประสบความสําเร็จ หรือกลัวตาย ทําให้ไม่มั่นใจและ
ขาดความสขุ ในเพศสมั พนั ธ์
2. วัฒนธรรมและค่านิยม สังคมบางแห่งเห็นว่าผู้สูงอายุเป็นวัยท่ีควรจะงดเว้นด้าน
กามารมณ์ ซึ่งแมแ้ ต่ผู้สูงอายเุ องก็มีความรสู้ ึกว่าตนเองไม่ควรมีเพศสัมพันธอ์ ย่างเชน่ วัยหนุ่มสาว หรือ
ถา้ มตี ้องไม่มากเกินไป ควรจาํ กดั ลงบา้ ง

215

3. ความเสื่อมของสุขภาพโดยเฉพาะที่มีผลเกี่ยวข้องกับเพศสัมพันธ์ เป็นกิจกรรม
ธรรมชาติที่เป็นความตอ้ งการจําเป็นอย่างหนง่ึ ของคน การมเี พศสมั พนั ธ์จึงเป็นเรอื่ งธรรมดาของชีวิตท่ี
ผู้สงู อายุก็สามารถหาความสขุ ได้ เวน้ เสยี แต่วา่ มีปัญหาความเสื่อมของสุขภาพทางรา่ งกาย

4. ความสามารถในการแกป้ ัญหา การแก้ปัญหาข้ึนอยกู่ ับองค์ประกอบสาํ คัญ คือ ความจํา
การเรียนรู้ที่สามารถจะนํามาใช้ประสมประสานในการแก้ปัญหา และ สติปัญญาซึ่งจะใช้ทั้ง
กระบวนการเชน่ เหตผุ ล มโนทัศน์ และผลผลิตของสติปัญญา

สมรรถนะทางกายอาจเปลี่ยนแปลงไปในทางลดลง แต่มิใช่ถดถอย ผู้สูงอายุต้องยอมรับ
การเปล่ียนแปลงน้ี แล้วปรับตัวใหเ้ ข้ากับความจริงจะทําใหภ้ าวการณ์ทาํ งานจะยงั คงอยู่ตลอดไป

การเปล่ยี นแปลงทางดา้ นจติ ใจ
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย และสมรรถภาพมีผลโดยตรงต่อสภาพจิตใจของผู้สูงอายุ
มองรูปลักษณ์ของตนเอง และมโนทัศน์ต่อตนเองเปล่ียนไป แต่ผู้สูงอายุสามารถปรบั สภาวะทางจิตใจ
และอารมณ์ไปตามการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและสมรรถภาพได้โดยอัตโนมัติ มีการเรียนรู้
ประสบการณ์ทางจิตใจอย่างต่อเนือ่ ง ซง่ึ ทาํ ให้ผู้สูงอายุสามารถปรบั และยอมรับตนเองไดม้ ีความม่ันคง
มากข้ึน
ข้อดีอย่างหน่ึง ผู้สูงอายุสามารถปรับและพัฒนาโครงสร้างขององค์ประกอบทางจิตใจไป
ในทางทีดีงามได้มากขึ้น และสามารถควบคุมจิตใจได้ดีกว่าวัยหนุ่มสาว เราจึงพบว่าเม่ือคนมีอายุมาก
ข้ึน มักมีความสุขุมมากขึ้นด้วย ผู้สูงอายุจะพัฒนาลักษณะของโครงสร้างทางจิตใจเฉพาะความเป็น
ตนเอง ซึ่งเป็นฐานะของการแสดงออกตามวัยของบุคคล โดยลักษณะการแสดงออกขึ้นอยู่กับ
บุคลิกภาพ การศึกษา ประสบการณ์ สภาพสังคมในวัยเด็กและผู้ใหญ่ของคนๆนั้น บางคนมีเมตตา
บางคนมีการวางท่าทางเป็นคุณท้าว บางคนก็สงบชีวิตปลีกวิเวกไปอยูว่ ัด บุคลิกภาพตามวัยและจติ ใจ
ของผู้สูงอายเุ กิดข้ึนตามความมีอายสุ ่วนหน่งึ แต่อีกสว่ นหน่งึ มาจากประสบการณ์ท่ีไดร้ บั ทําให้เกิดการ
กําหนดสภาพทางจิตใจและการแสดงออกของผสู้ งู อายตุ ่างกนั ไปดังนี้
1. การรับรู้ ผู้สูงอายุมักจะยึดมั่นกับความคิดและเหตุผลของตนเองทําให้ยากต่อการรับรู้
ต่อส่ิงใหม่ อีกท้ังความสามารถและประสิทธิภาพของอวัยวะรับความรู้สึกและการสื่อสาร เส่ือม
สมรรถภาพลง ทําให้การทําความเข้าใจ การส่ือข้อมูลด้วยคําพูด กิริยาท่าทาง หรือการส่ือในรูปแบบ
อน่ื ๆเป็นไปอย่างช้าๆ และไม่สู้สมบูรณ์ สง่ ผลให้การแปลความหรือตีความมีโอกาสผิดพลาดง่าย ดงั น้ัน
ผู้สูงอายุจึงมกั ใช้ประสบการณท์ ่เี คยผา่ นมาเปน็ เครอื่ งมอื ประกอบการตดั สนิ การรบั ร้ขู องตนเอง
2. การแสดงออกทางอารมณ์ การเปล่ียนแปลงทางอารมณ์ของผู้สูงอายุเป็นกลไก
เก่ียวเนื่องกับการสนองความต้องการของจิตใจ สืบเน่ืองจากการเปล่ียนแปลงของร่างกายและ
สมรรถนะ ผู้สูงอายุจะมีความรู้สึกของตนเองในแง่ต่างๆ ส่วนใหญ่จะเป็นความท้อแท้และน้อยใจ โดย
รู้สึกว่าสังคมมิให้ความสําคญั แก่ตนเอง อย่างท่ีท่ีเคยเป็นมาก่อน บางคร้ังผู้สงู อายุเองก็ลืมไปว่า ตนได้
ถึงวาระแห่งการเปลี่ยนแปลงแล้ว กลายเป็นความโลภทําให้ผู้สูงอายุมีอารมณ์ไม่มั่นคง เม่ือถูก
กระทบกระเทอื นจิตใจเพยี งเล็กน้อยส่งผลให้ผ้สู ูงอายุเสียใจ หงุดหงดิ หรือโกรธได้งา่ ย
3. การสร้างวิถีชีวิตของตนเอง ความมีอายุเป็นการเดินทางใกล้แห่งความส้ินสุด ผู้สูงอายุ
เร่ิมนับเวลาท่ีเหลือจากปีไปเป็นเดือนและเป็นชั่วโมง เริ่มเตรียมเข้าสู่สภาวะสุดท้ายของชีวิต ผู้สูงอายุ
หลายคนปรับตัว บางคนเดนิ ทางไปสู่งานใหมเ่ พ่ือกระตนุ้ เร้าใจให้ใจสุข แต่ผู้สูงอายุบางคนกลบั สนใจท่ี

216

จะทํางานทบ่ี ้านอยู่แบบผสู้ ูงอายุท่พี อเพียง และมีไม่น้อยที่หาความสงบทางจิตใจทางศาสนา การเลอื ก
วถิ ดี ําเนนิ ชวี ิตให้กบั ตนเองเป็นโลกใหม่ของวัยสงู อายุ ซงึ่ มีลกั ษณะแตกต่างกันไปตามเหตผุ ลและความ
พึงพอใจของแต่ละบุคคล บางคนมุ่งสร้างความดี บางคนมุ่งชีวิตสงบเข้าวัดถือศีล กินมังสวิรัติ บางคน
ชอบเลี้ยงหลาน และบางคนก็ชอบอยู่คนเดียว เพราทําให้รู้สึกอิสระและได้ใช้ชีวิตอย่างท่ีตนชอบ
ในชว่ งสดุ ท้ายของชวี ติ

4. ความสนใจส่ิงแวดล้อม ผู้สูงอายุจะสนใจส่ิงแวดล้อม เฉพาะท่ีทําให้เกิดความพึงพอใจ
และตรงกับความสนใจของตนเองเท่านั้น โดยมีอารมณ์เป็นพื้นฐาน ความสนใจส่วนใหญ่จะมุ่งไปท่ี
ตัวเอง เพราะมีเวลาท่ีจะคิดถึงตัวเอง เน่ืองจากว่างจากภารกิจการงาน และสังคม แต่จะชอบหรือ
สนใจในสิ่งท่ีตนคุ้นเคยเท่านั้น งานแปลกใหม่อื่นๆ จะไม่ชอบหรือชอบน้อยกว่า ความสนใจ
สิ่งแวดล้อมอื่นๆ อาจมีอยู่บ้าง แต่ลดถอยไปมาก ชอบชีวิตเรียบง่าย ความมุ่งหวังหรือใฝ่ฝันในชีวิต
ลดลงหรือไม่มีมีเลย ชอบที่จะเป็นผู้ตามมากกว่าผู้นํา ยกเว้นบางคนที่ยงั คงความสามารถอยู่แต่มีน้อย
คนมาก

สรุป การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและสมรรถภาพมีผลโดยตรงต่อสภาวะจิตใจ
เพราะลักษณะการเปล่ียนแปลงของวัยสูงอายุจะเป็นการลดอัตราความเจริญลงไปสู่ความเส่ือม ซ่ึงทํา
ให้

1. มผี ลกระทบอย่างมากทงั้ ตวั บุคคลและสง่ิ แวดล้อม
2. มีความเสอ่ื มถอยของรา่ งกายและจิตใจ
3. ความเส่ือมที่เกดิ จะเพมิ่ ข้นึ ตามลําดบั
4. การเปลี่ยนแปลงต่างๆจะบังเกิดให้ผู้สูงอายุเห็นว่าเป็นความเสื่อมถอย เร่ิมมี
ข้อจํากัดท้ังตนเองและสังคม ซ่ึงผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี จะใช้การปรับตัวที่เป็นคุณ บางคนอาจหาทาง
ออกด้วยการเร่ิมต้นชีวิตใหม่ งานใหม่ หรือยอมรับเงือ่ นไจตามวัยของตน การปรับตัวของผ้สู ูงอายตุ ่าง
จากวยั อ่นื ทัง้ ที่เป็นการปรับตัวเหมือนกัน
การเปล่ยี นแปลงทางสงั คม
เม่ือมีอายุแล้วร่างกายมีข้อจํากัด ทําให้ขาดความกระฉับกระเฉง จากวัยทํางานที่รุ่งโรจน์
เป็นเจ้าคนนายคน กิจการรุ่งเรือง มีหน้าท่ีการงานก้าวหน้าตามวัยของคนทํางาน แต่เมื่อพ้นปีที่ 60
ของอายุแล้ว ภาระหน้าที่และบทบาททางสังคมกลับลดลงตามวัย ต้องห่างเหินจากสังคม ย่ิงถ้า
ผู้สูงอายุนั้นต้องเกษียณจากงานประจํา ขาดอํานาจหน้าที่การยอมรับนับถือ คนที่เคยพูดพบหน้าก็
เลี่ยงหลบ ตรงน้ีคือการเปลี่ยนแปลง การยอมรับในสังคมของวัยสูงอายุมักเป็นไปในทางลบ สังคมมัก
ประเมินความสามารถของคนในแง่การปฏิบัติ ถึงแม้ว่าจะมีผู้สูงอายุบางคนจะแสดงให้เห็นว่าความมี
อายมุ ิได้เป็นอปุ สรรคต่อการดําเนนิ บทบาท ยังทําหนา้ ที่ได้ตามปกติ สามารถทํางานในหน้าท่ไี ด้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพเหมือนคนวัยทาํ งานก็ตาม แต่ด้วยอาํ นาจหน้าที่ทีต่ ้องหายไปตามอายุ 60 ปี ซ่ึงเป็นอายุ
การเดินทางออกจากสังคมที่ทําเป็นประจํา ซ่ึงการออกจากสังคมนี้มี 2 กรณี คือ หนึ่ง เป็นข้อกําหนด
ของสังคมให้ต้องออกจากบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบด้วยการปลดเกษียณ เมื่อครบกําหนดเวลา
ตามอายุปีปฏิทินคือ 55-65 ปี และ สอง ออกจากสังคมด้วยสถานการณ์เปล่ียนแปลงตามวัยด้วยการ
ละจากบทบาทการเป็นผู้นําครอบครัว มาเป็นสมาชิกท่ีปรึกษาของครอบครัว ซึ่งการเปล่ียนแปลง

217

บทบาทที่สองน้ีมักเป็นความพึงพอใจและยอมรับสภาพตามวัยของผู้สูงอายุเอง การออกจากสังคมไม่
ว่ากรณใี ด มีผลต่อความรสู้ ึกภายในของผ้สู ูงอายุ

การแสดงออกของผู้สูงอายุจะต่างกัน จาํ แนกเปน็ 4 ประเภท ดงั น้ี
ประเภทท่ี 1 ผู้สูงอายุท่ียอมรับสภาพความมีอายุ จะมีการปรับตัวแบบยอมรับ ผู้สูงอายุ
ประเภทนี้ยังคงคามเป็นตัวเอง และคงความสามารถของตนเองได้ดี มีความพึงพอใจและเห็นคุณค่า
ของชีวิต มีการประพฤตปิ ฏบิ ัติโดยสอดคลอ้ งตามวัยของตนด้วยความพอใจ ไม่เป็นภาวะต่อครอบครัว
หรือผเู้ กย่ี วข้อง จําแนกออกไดเ้ ป็น 3 กลมุ่ คือ
1. กลุ่มทม่ี ีความเปน็ อยู่อยา่ งสงบ สามารถอยู่ได้อย่างอสิ ระ ไม่เป็นภาระครอบครวั มี
ความสขุ กบั ชวี ิตบั้นปลายดว้ ยตนเอง เช่น ทําสวน ไปวดั ปฏิบัตธิ รรม
2. กลุ่มท่ีมีความสนใจกิจกรรม เป็นกลุ่มที่เข้าสังคมและเลือกเข้ากิจกรรมท่ีตนสนใจมาก
โดยถอื ว่าเป็นสว่ นหนงึ่ ของกิจวัตรประจําวนั อาจไปทาํ งานใหม่ เปน็ วทิ ยากร
3. กลุ่มที่มุ่งทําตนเป็นประโยชน์ให้แก้สังคม ตามที่จะพึงกระทําได้ คนกลุ่มน้ีจะชอบ
กิจกรรมท่ีมีส่วนร่วม เช่น กิจกรรมสังคมสงเคราะห์ อาสาสมัคร หรือจัดบริการสังคมตาม
ความสามารถ เปน็ ต้น
ประเภทที่ 2 ผู้สูงอายุที่ชอบต่อสู้และมีพลังใจสูง ผู้สูงอายุนี้จะมีความกระฉับกระเฉง
คล่องตัว ใจสู้ไม่ยอมแพ้กับชีวิตและวยั แต่กลับมคี วามคิดริเริ่มสร้างสรรค์ใหม่ๆข้ึน มองเห็นประโยชน์
ท่ีพึงให้แก่สังคมและอนาคต สามารถทํางานได้ประสบความสําเร็จดังที่คิด ผู้ที่มีลักษณะเช่นนี้ได้แก่
นกั คิด นกั ประดษิ ฐ์ และผ้นู าํ ดา้ นตา่ งๆ เปน็ ตน้
ประเภทท่ี 3 ผู้สูงอายุท่ีต้องพ่ึงผู้อื่น เป็นกลุ่มผู้สูงอายุท่ีมีพฤติกรรมถดทอยไม่ยอม
ช่วยเหลือตัวเอง ไม่ชอบเข้าร่วมกิจกรรม สิ้นหวังและท้อแท้ต่อชีวิต ต้องการความใส่ใจและเอาใจใส่
จากครอบครัวมากกว่าปกติ เป็นลักษณะท่ีคิดว่าแก่แล้วทําอะไรไม่ได้ ลูกหลานต้องดูแลผู้สูงอายุ
ประเภทน้ีจะพบไดใ้ นคน 4 จําพวก คือ
1. ร่ํารวยมาก ลูกหลานเอาใจใส่ประคบประหงมจนเคยตวั
2. ผู้ท่ีเคยทํางานหนักมาก่อน เมื่อลูกหลานมีฐานะดีก็ให้ความค้ําจุนดูแล และคอย
สนองตอบอย่างสมา่ํ เสมอทําให้เกดิ ความสําคญั ตวั เองมากกวา่ ปกติ
3. พวกเครง่ ธรรมเนียมและวฒั นธรรม โดยถือว่าผู้สูงอายคุ ือคนทล่ี ูกหลานต้องใหก้ ารดแู ล
รบั ผิดชอบ ผ้สู ูงอายกุ ลุ่มนี้ตะแก่ไวเพราะหวังให้ดแู ล
4. พวกสนิ้ หวงั ในชีวิตทํางานหนักแตไ่ ม่ได้ผล เมื่อเรม่ิ มีอายุก็หยุดทาํ งานหวังพง่ึ ลกู หลาน
ประเภทที่ 4 ผู้สูงอายุท่ีส้ินหวังในชีวิต พฤติกรรมน้ีจะพบในผู้สูงอายุท่ีมีปัญหาสุขภาพ
มีความเส่ือมของร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมรับสภาพความเป็นจริง พยายามหลีกหนีชีวิต เกิดการ
เจ็บปวดทางจิตใจ บางรายคอื ท้อแทม้ ากถงึ ทําอตั วนิ บิ าตกรรมเมื่อสูงอายุ
การมอี ายุยนื
มนุษย์ทุกคนปรารถนาการมีอายุยืน ต้องการมีชีวิตให้นานท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นได้ บางคนมี
หวัง พ่อแม่ พ่ีน้องเปน็ คนมอี ายยุ ืน ตนเองคงจะมีอายุยนื ไปด้วย จากการศึกษาพบว่ากรรมพันธ์ุมีส่วน
สัมพันธ์กับการมีอายุยืนน้อยมาก แม้แต่คู่แฝดไข่ใบเดียวกัน อายุยังยืนยาวแตกต่างกันมาก
องค์ประกอบของความมีอายุยืนจึงมิใช่มาจากกรรมพันธุ์เป็นปัจจัยสําคัญแต่จากการศึกษาข้อเขียน

218

เกี่ยวกับผมู้ ีอายุยืนกว่า 100 ปีหลายเล่ม พบว่าปัจจัยที่ทําให้คนเหล่าน้ันมีอายุยืนอยทู่ ่ีการมีสุขภาพดี
และอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่รื่นรมย์ มีอากาศบริสุทธิ์เป็นหลัก ฉะนั้นการดูแลรักษาสุขภาพจึงน่าจะเป็น
แกนสําคัญของการมีอายุยืนมากกว่าปัจจัยอื่นๆ อย่างน้อยก็ช่วยให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่ได้ปกติสุข
เช่นเดียวกับบุคคลวัยอ่ืนๆ โดยไม่ต้องพ่ึงพาอาศัย หรือสร้างความลําบากให้แก่ครอบครัวหรือสังคมที่
ตนอยดู่ ้วย

ความมีอายเุ ป็นธรรมชาติที่ไม่อาจยับยงั้ ได้นอกจากโรคหรืออุบตั ิเหตุจะคร่าชีวิตไปกอ่ นวัย
สมควร โดยธรรมชาติของชีวิตแล้วคนมีอายุยืนได้ไม่ตํ่ากว่า 100 ปี การมีอายุยืนคืออะไร ทําไมจึง
เรยี กอายุยนื มีกลุ่มทฤษฏีอยู่ 2 กลุม่ ท่มี ีความคิดต่างกันแต่เป็นนยั เดียวกนั ว่าแท้จริงอายยุ ืนอยู่ท่กี าย
กับจิตที่จะทําให้เกิดการ “ยนื ”

ทฤษฏีกลุ่มที่ 1 กลุ่มทฤษฏีทางชีวภาพ มุ่งอธิบายถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงทาง
สรีรวทิ ยา ทฤษฎีกลุ่มนี้จะมองความมีอายุในด้านของความเส่ือม และความดบั ของสภาวะความมชี ีวิต
ของร่างกายหลังจากการเจริญเติบโตเต็มท่ีแล้วตามกาลเวลา ซึ่งเป็นท้ังหญิงและชายเพียงแต่ชาย
ปรากฏความเส่ือมช้ากว่าหญิง แต่มิไดห้ มายความว่าชายอายุยืนกว่าหญิง เพราะจากสถิตพิ บวา่ ผหู้ ญิง
อายุเกนิ 100 ปมี ากกวา่ ชาย

ทฤษฎีกลุม่ ท่ี 2 กลุ่มทฤษฎที างสังคม หรอื ทฤษฎบี ุคลิกภาพไดม้ องความมีอายใุ นลักษณะ
ของสภาวะการปรับตัวทางสังคมและบุคลิกภาพ เพื่อความอยู่รอดได้ในสังคม ทฤษฎีน้ีจะเน้นความมี
อายุตามกฎแหง่ สังคม จากนั้นจะมีช่วงแห่งการปรับตัวซ่งึ เป็นความสามารถของบุคคล อายุจะยืนยาว
มากนอ้ ยจงึ ขึน้ อยู่กบั แตล่ ะคน

จากการศึกษาพบว่าเซลล์ร่างกายสามารถแบ่งตัวและคงชีวิตได้นานกว่า 100 ปี ฉะน้ันคน
จะมีอายุ 100 ปี จึงเป็นไปได้ แต่ส่วนใหญ่คนมักไม่ไปถึงโอกาสนั้น เน่ืองจากการเป็นโรคและความ
เจ็บป่วยมาทําให้ชีวิตสิ้นสุดไปก่อนธรรมชาติกําหนด ดังนั้นการดูแลและส่งเสริมสุขภาพจึงน่าจะเป็น
วธิ ีหนึง่ ทสี่ ามารถทาํ ใหช้ วี ติ ดํารงอย่ไู ด้นานที่สดุ เท่าทีจ่ ะเป็นได้โดยธรรมชาติ

การมีอายุยืนต้องประกอบด้วยการมีสุขภาพท่ีดี ร่างกายมีความคล่องตัว อยู่ในสภาวะ
สังคมปกติได้ ไม่เป็นปัญหาสังคม จึงเรียกว่าอายุยืนแท้ สิ่งที่คนไม่พยายามศึกษาเลยว่าการมีอายุยืน
นั้นไมไ่ ด้อยทู่ ี่การกิน อยทู่ ่นี อน แตม่ หี ลายๆอยา่ งประกอบกัน

ประการแรก คือ เพศ ผู้หญิงอายุยนื กว่าผู้ชาย ทเ่ี ปน็ เชน่ นี้เพราะ
1. ผูห้ ญงิ ใชก้ าํ ลังกายในการทาํ งานนอ้ ยกว่าผชู้ าย
2. ผู้หญิงมีความเครียดของร่างกายและจิตใจน้อยกว่า เพราะผู้หญิงสามารถระบาย
อารมณ์ได้หลายรปู แบบ
3. รา่ งกายผหู้ ญิงสามารถปรับสมดุลในภาวะเครียดต่างๆได้ดกี วา่ ผู้ชาย และสาเหตทุ ี่ทาํ ให้
ชายอายสุ ั้นก็คือ อุบตั ิเหตทุ ่ีอาจเกดิ จากการเดินทาง และการทํางาน อันตรายจากการดมื่ สุราและการ
สบู บหุ ร่ี ทําใหผ้ ู้ชายอายุสัน้ กว่าผู้หญงิ
ประการท่ีสอง การปรับตวั ตามวยั จดุ เร่ิมตน้ ของผู้สงู อายุเร่ิมเม่อื อายุ 60 ปไี ปแลว้ คอื การ
ปรับตัวจริงๆ แล้วการปรับตัวของคนเราเริ่มมาตั้งแต่อายุเข้า 40 ปีท่ีเป็นวัยของการเปล่ียนสายตา
เปล่ียนอารมณ์ ซ่ึงการยอมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในช่วงอายุนี้ จะส่งผลไปยังการปรับตัวตาม
วัยของผ้สู ูงอายดุ ้วย

219

ในข้ันตน้ ผู้สงู อายุต้องเขา้ ใจงานหรือสิ่งทีเ่ กดิ ขน้ึ ตามวยั ซ่ึงนกั จิตวิทยา เฮฟวงิ เฮริ ์ส ได้
ประมวลว่า เมอ่ื มีอายุได้ท่ี 60 ปีแลว้ คนเราจะมงี านตามพัฒนาการตามวยั ปรากฏอยู่ 6 ประการคือ

1. การต่อสกู้ บั ภาวะความอ่อนแอของรา่ งกายและความเสื่อมถอย
2. การปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั ภาวการณ์เกษยี ณอายุและด้านการเงนิ
3. การปรบั ตัวเมอ่ื คู่สมรสเสยี ชีวติ
4. การเขา้ รว่ มกับกลุ่มวยั เดียวกัน
5. การปรับตวั ให้เขา้ กบั รูปแบบของสงั คมใหม่
6. การดาํ รงไว้ซงึ่ ความพึงพอใจของระบบชวี ิตในปจั จบุ ันท่ีเปน็ อยู่
ประการท่ีสาม นิสยั จุดนีส้ ําคญั มากท่ีสรา้ งให้คนมีอายยุ นื และสุขภาพดี หลายคนเจ็บปว่ ย
เพราะนิสยั การดูแลในข้ันต้นที่จะให้อายุยืนก็คือการดัดนิสยั ให้เป็นคนอยู่ในทางสายกลาง กินง่าย อยู่
ง่าย ไม่เครียด ก็จะทําให้อายุยืนเกินกว่าจริง คนอายุจะยืนได้เพียงแต่แก้นิสัยและปรับตัวให้พอดี
เหมือนคําพระพุทธเจ้าสอน “ให้เดินทางสายกลาง” แม้แต่ชีวิตหากเดินสายกลางอายุจะยืนและ
สขุ ภาพดี โดยไมต่ อ้ งกงั วล
ความหมายของสขุ ภาพ
คําว่า สุขภาพ ในภาษาไทยตามพจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 หมายถึง
ความเป็นสุขหรอื ปราศจากโรค คําน้แี ปลมาจากภาษาอังกฤษว่า Health องคก์ ารอนามยั โลก (1946)
ได้ให้ความหมายของสุขภาพว่า เป็นภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ รวมถึงการ
ดาํ รงชวี ิตอยใู่ นสงั คมดว้ ยดี เพราะฉะน้นั คนทมี่ ีสขุ ภาพดีจงึ หมายถงึ คนท่ี
- รา่ งกายแขง็ แรง
- จติ ใจดีผอ่ นคลาย
- ความเป็นอยู่ดี อยสู่ บายกินสบายไม่มปี ัญหาครอบครวั
- มเี พอื่ นมีสงั คมปกติตามวยั
- ดูแลตนเองได้ ไม่เปน็ ภาระสงั คม
สุขภาพเป็นสภาวะหน่ึงของมนุษย์ ที่เกิดจากความสมดุลของร่างกาย จิตใจ สังคม การ
รักษาสมดลุ จะเกดิ ขึน้ ได้จากการดแู ลรกั ษารา่ งกาย จิตใจ และสังคมให้เกดิ ความสมบูรณ์
สาตุแห่งปัญหาสุขภาพผู้สงู อายุ
ปัญหาสขุ ภาพของผ้สู งู อายมุ าจาก 3 สาเหตุ
สาเหตุที่หนึ่ง การเปล่ียนแปลงของร่างกายและสรีรวิทยาตามอายุทําให้ร่างกายมีความ
ต้านทานโรคต่ํา เจ็บป่วยได้ง่าย การดูแลตนเองท่ีถูกต้องเป็นวิธีสําคัญที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีปัญหา
สุขภาพนอ้ ยลง
สาเหตุที่สอง การยอมรับความเจ็บป่วย ผู้สูงอายุมักปฏิเสธความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับ
ตนเอง กลัวการรักษา ซ่ึงปัญหาน้ีมีผลต่อการรักษาความเจ็บป่วยมาก ทําให้ไม่สามารถรักษาได้
ทันท่วงที
สาเหตุท่ีสาม ความรับผิดชอบตนเอง บ่อยครั้งท่ีจะพบว่าคนมีความรู้ดี ฐานะดี ป่วยด้วย
โรคที่ขาดความรับผิดชอบต่อสุขภาพของตนเอง เพราะเพิกเฉยต่อสขุ ภาพของตนเอง ใช้ชีวติ ตนเองไม่

220

ถูกต้อง กนิ ไมเ่ ป็น อยู่ไมเ่ ปน็ ขาดความพอดี และที่สาํ คัญเมอ่ื ยงั ไม่เจ็บป่วย มีชวี ิตอยูด่ ีตามปกติก็ไมใ่ ส่
ใจทีจะบาํ รุงรกั ษาและส่งเสรมิ สุขภาพ

หลักท่วั ไปของการรกั ษาสุขภาพ
ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองเป็นส่งิ สาํ คญั ท่ีจะทาํ ให้มสี ุขภาพดไี ด้ มีหลักการสาํ คญั 4
ประการ
1) กินเป็น หมายถึงการกินอาหารถูกต้อง หลีกเล่ียงการรับประทานอาหารประเภทท่ีทํา
ให้เกดิ ผลเสียต่อสุขภาพ
2) นอนเปน็ การนอนมีความสําคัญตอ่ สขุ ภาพ การนอนหลับเต็มท่ีและเพยี งพอจะทําให้
ตื่นข้ึนมาทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จํานวนชั่วโมงการนอนหลับขึ้นอยู่กับความเพียงพอของ
ร่างกายของแต่ละคน ไม่มีกําหนดมาตรฐานแน่นอนว่าเป็น 8 หรือ 10 ชั่วโมง แต่ผู้สูงอายุอาจ
จาํ เป็นตอ้ งงีบหลบั ตอนกลางวันบ้างจะช่วยให้กระปร้กี ระเปรา่ และรา่ งกายมีความพร้อม
3) อย่เู ปน็ การอยเู่ ป็นนอกจากจะหมายถึงการร้จู ักรักษาสุขวทิ ยาท่ีดี และยังหมายถงึ การ
รจู้ กั ออกกาํ ลังกายสม่ําเสมอเพือ่ ให้รา่ งกายมีความต่ืนตวั และคงความสดชน่ื การหัดใหม้ อี ารมณ์ดจี ติ ใจ
แจ่มใส มองโลกแง่ดี มีการพักผ่อนที่เหมาะสม การอยู่ไม่เป็นคือการอยู่อย่างตามใจ ไม่ออกกําลังกาย
เปน็ การทาํ ลายสุขภาพ
สังคมเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพสังคมตามวัยและโลกรอบตัว การยอมรับตัวเองจะ
ทําให้การปรับตัวดีข้ึน สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ข้อสําคัญอย่าไปคาดหวังจากสังคมมาก
เกนิ ไป
กินเป็น นอนเป็น อยู่เป็น และสังคมเป็น มิได้ใช้เฉพาะในช่วงหนึ่งช่วงใดของชีวิตเท่าน้ัน
ต้องปฏิบัติอย่างสมํ่าเสมอ และสนใจให้มากขึ้น เม่ือมีอายุหากทําได้ เมื่อสูงวัยก็จะเป็นผู้มีอายุที่
สุขภาพดีตามเกณฑ์ ดังนี้

- มลี ักษณะของผทู้ ่ีไดรบั โภชนาการถกู ตอ้ ง
- ร่างกายสมบรู ณ์ สามารถทาํ กจิ กรรมต่างๆที่ต้องการในชีวติ ประจาํ วันได้
- ยังคงมปี ฏิสมั พนั ธ์ทางสังคมเป็นปกติ
- ความสามารถช่วยเหลือตนเองได้ และสามารถใช้ชวี ติ ไดอ้ ย่างอสิ ระ
- มสี ภาพอารมณ์ และจติ ใจดี
การดแู ลสุขภาพ
การมีอายุเกิดข้ึนทั้งในตัวบุคคลสิ่งแวดล้อมของคนๆ น้ัน มิได้เกิดท่ีจุดใดจุดหนึ่งของ
ร่างกาย แต่เกิดข้ึนกับทุกระบบของร่างกาย อัตราการแก่ไวหรือช้าข้ึนอยู่กับกรรมพันธุ์ ความเครียด
ความเจ็บป่วย วิธีการดําเนินชวี ิตของคนๆน้ัน บางคนอาจดูแก่กว่าอายุถ้าร่างกายทํางานหนัก แต่บาง
คนอาจรักษาความเปน็ หนุ่มสาวได้นานกว่า ถา้ คนน้ันเข้าใจดแู ลตนเองทเ่ี หมาะสม
การใช้ชีวิตอย่างฉลาดเป็นความสามารถของผู้มีปัญญา สุขภาพดีหาซ้ือไม่ได้ต้องดูแลด้วย
ตนเอง การลดโอกาสการเปน็ โรคและรกั ษาคุณภาพชวี ิตเปน็ หน้าท่ขี องผู้ท่ตี อ้ งการมีอายุยืน
ปจั จยั หลักของการดูแลสุขภาพท่ีดี คือ
- น้าํ หนกั
- การกนิ

221

- การพักผ่อน
- การขบั ถ่าย
- การออกกําลังกาย
- การงดเว้นสงิ่ เกดิ โทษต่อรา่ งกาย
- การนอนหลับ
การรักษาสุขภาพด้วยการดูแลตนเองเป็นงานประจาํ เบ้อื งต้นท่ีชว่ ยใหค้ นมีความสุข และมี
ชีวิตยืนยาวได้โดยไม่ต้องอาศัยยาหรือวิธีการรักษาใดๆ และระหว่างน้ันต้องตรวจสอบสุขภาพไปด้วย
เพื่อเปน็ การประเมนิ ว่าร่างกายได้รับการดูแลที่ถกู ต้องสมบูรณจ์ ริงหรอื ไม่ ประกอบด้วย
1. น้าหนัก การควบคุมนํ้าหนกั ให้อยู่ในเกณฑเ์ ฉลย่ี นํ้าหนักมาตรฐานตามอายุและส่วนสูง
เป็นการคงสภาพหน้าที่ของร่างกาย โดยเฉพาะการทํางานของหัวใจกับระบบไหลเวียนของโลหิตการ
ปล่อยนํ้าหนักขึ้นจนอ้วนทําให้หัวใจทํางานมากข้ึน ผู้สูงอายุควรชั่งนํ้าหนักตนเองอย่างน้อย 2-3
สัปดาห์ต่อครั้งหรือเดือนละครั้ง นํ้าหนักที่เหมาะไม่ควรเกินระดับมาตรฐาน + 3 กิโลกรัม
เพราะฉะนั้นช่วงนาํ้ หนกั ตามเกณฑ์ท่ีผสู้ งู อายุคนนน้ั จะอยรู่ ะหวา่ ง 57-63 กโิ ลกรมั
วิธกี ารคํานวณน้ําหนกั มาตรฐานทาํ ได้ง่ายๆด้วยสตู ร
สตู รผูช้ าย น้าํ หนกั มาตรฐานชาย = สว่ นสูงเป็นเซนตเิ มตร – 100
สตู รผูห้ ญงิ น้าํ หนกั มาตรฐานหญงิ = ส่วนสงู เปน็ เซนตเิ มตร – 110
2. การกิน หลักการกินง่ายๆ คือการเน้นกินผัก ผลไม้ เน้ือสัตว์ให้เน้นปลาเป็นหลัก ผัก
เป็นยา ควรกินผักมากๆ อย่างน้อยอยู่ในปริมาณที่เพียงพอ ผู้สูงอายุต้องใส่ใจการกิน สําคัญคือลด
อาหารหวานจัด ไขมันสูง มาเป็นอาหารมีเส้นใยให้คุณค่าและปริมาณพอดี ผู้สูงอายุควรตรวจสอบ
สภาพทเ่ี กี่ยวข้องกับการกินอย่างสมํ่าเสมอ หากมีปัญหาต้องแก้ไขและรับการตรวจรักษาเสียแตเ่ น่ินๆ
ส่ิงที่ตอ้ งตรวจสอบคือ
- ฟนั ตรวจสอบดวู า่ ผุ โยก คลอน หรอื ฟันปลอมวา่ หลวมหรือแน่นหรือไม่
- ความอยากอาหาร ปกติจะลดลงตามอายุ แตถ่ ้าเบือ่ อาหาร ถอื ว่าปกติ
- สภาพการย่อย ทําให้ไมอ่ ยากอาหาร
- ปรมิ าณและประเภทอาหารทกี่ นิ น้าํ หนกั กิจกรรมประจาํ วัน
3. การพักผ่อน จะช่วยให้ชีวิตของผู้สูงอายุกระชุ่มกระชวย ผู้สูงอายุควรใช้เวลาว่างท่ีมี
มากขึน้ เมอื่ เกษียณจากงาน ทํากจิ กรรมการพกั ผ่อนซึ่งขน้ึ อยู่กบั ความสนใจ
4. การขับถ่าย ต้องตรวจสอบให้เป็นไปตามปกติโดยเฉพาะการขับถ่ายอุจจาระ ผู้สูงอายุ
ชายจําเป็นต้องสังเกตการณ์ถ่ายปัสสาวะ เพราะอุบัติการณ์ของโรคต่อมลูกหมากโตจะเกิดขึ้นได้ง่าย
เม่ือเกิดอาการขนึ้ ควรปรึกษาแพทย์ เพราะบางคนเห็นว่าไมเ่ จ็บปวดเลยเพกิ เฉย ซึ่งทาํ ใหเ้ ป็นปัญหาใน
การรักษาภายหลงั
5. การออกกําลังกาย ควรต้องทําให้สมํ่าเสมอเพ่ือเพ่ิมความแข็งแรงและการตึงตัวของ
กล้ามเน้ือ สร้างเสรมิ ประสทิ ธภิ าพของระบบไหลเวยี นของโลหติ และการหายใจ
งดเว้นสง่ิ เกดิ โทษต่อร่างกายหรอื จาํ กัดใหน้ ้อยลงมากทีส่ ดุ เช่น กาแฟ สุรา บหุ รี่

222

6. การนอน เป็นการพักผ่อนร่างกายที่ดีท่ีสุด คนทุกคนต้องการนอนหลับเพื่อเป็นการพัก
และเตรียมความพร้อมของร่างกาย การนอนหลบั ของคน จะเปน็ วงจร แต่ละวงนาน 90-100 นาที ซ่ึง
แต่ละช่วงวงจร จะมีระบบการหลับ 4 ระยะ

ระยะท่ี 1 เตรยี มหลับ คือเริม่ จากเข้านอนแล้วหลับตา กล้ามเนือ้ คลายความเครยี ดหายใจ
สมา่ํ เสมอ ระยะเวลานี้เวลาไมเ่ กนิ 2-3 นาที

ระยะท่ี 2 เคลิ้ม เป็นระยะเข้าสภู่ วงั ค์ มโี อกาสสะดงุ้ ตนื่ หรือตกใจตน่ื ได้ง่ายถา้ มีส่งิ เรา้
ระยะน้ีบางคนจะร้สู กึ เหมือนครง่ึ หลับ ครึง่ ต่นื และมีอาการสะดุ้ง

ระยะท่ี 3 หลับ เป็นระยะที่ร่างกายและจิตใจสงบน่ิง การทํางานของอวัยวะภายนอกการ
ควบคุมของจิตสํานึกจะเป็นอย่างช้าๆชีพจรจะเต้นช้าลง การหายใจช้าลง แต่ยังคงสภาพความพร้อม
ทางสรีระโดยนยั ในขณะหลบั

ระยะที 4 หลับสนิท เป็นระยะท่ีมีการหลับสมบูรณ์ ร่างกายผ่อนคลายเต็มที่ เกิดข้ึน
หลงั จากผา่ นระยะท่ี 3

การนอนของผ้สู ูงอายุ
ช่วงเวลาและระยะเวลาการนอนหลบั จะเปลี่ยนไปตามอายุ คนเราจะใช้เวลาส่วนใหญ่ของ
แต่ละวันไปกับการนอนหลับ เม่ือสูงอายุนิสัยการนอนก็เปล่ียนไป บางคนเข้านอนหัวค่ําตื่นแต่เช้ามืด
บางคนนอนดึก แลว้ ตื่นเชา้ ธรรมดา ซึ่งผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะมีช่วงการหลบั ที่มีลูกตาเคลื่อนไหวมากขึ้น
อัตราช่วงการหลับธรรมดาจะลดลง ฉะนั้นผู้สูงอายุจงึ ตื่นง่ายเพราะช่วงหลับทล่ี ูกตาเคล่ือนไหวรวดเร็ว
เป็นช่วงที่คนพร้อมจะต่ืนได้ แบบแผนการนอนของผู้สูงอายุจะเปล่ียนทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
กล่าวคือระยะชั่วโมงการนอนสั้น ต่ืนง่าย หลับยาก และชอบงีบตอนกลางวัน ลักษณะการนอนหลับ
เช่นนท้ี ําให้ผู้สงู อายเุ ปล่ยี นมาใชก้ ารงบี ในเวลากลางวนั เป็นการชดเชย
การส่งเสริมท่ีจะช่วยให้นอนหลับสบายสําหรับผู้สูงอายุมีหลายวิธี ประกอบกันตามความ
เหมาะสม กล่าวคอื
- อาบนาํ้ อุ่นก่อนเขา้ นอน
- ดื่มเคร่อื งด่มื อ่นุ ๆก่อนเข้านอน
- ฝึกการออกกาํ ลงั กายท่ผี ่อนคลายความเครียด
- ไมค่ วรกินยานอนหลบั หรอื ยาระงับประสาทโดยไม่จําเป็น
- กนิ อาหารท่ใี ห้แคลอร่เี พียงพอกบั ร่างกาย จะช่วยใหห้ ลับได้นาน อาหารโปรตีน เช่น นม
ถ่วั เหลือง ปลา มสี ว่ นช่วยทาํ ใหห้ ลบั สบาย
- ทําจติ ใจให้สบายกอ่ นเขา้ นอนด้วยการสวดมนตห์ รือทาํ สมาธิ
การตรวจสุขภาพ
การตรวจสุขภาพจึงเป็นกิจกรรมสําคัญประการหน่ึงของการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของ
ผู้สูงอายุ โดยต้องตรวจสอบสุขภาพอย่างสม่ําเสมอทุกปี การพบแพทย์เพ่ือตรวจร่างกายควรทําอย่าง
สมํ่าเสมอ ต้ังแต่เร่ิมย่างเข้าสู้วัยกลางคน เพราะการตรวจร่างกายทําให้เราได้รู้จักสภาพร่างกายของ
ตนเองมากขึ้น และยังเป็นการตรวจค้นสมุฏฐานของโรคระยะแรกได้ด้วย ทําให้สามารถปอ้ งกัน รกั ษา
และบําบัดไดท้ ันทว่ งที
ผู้สงู อายุควรมีการตรวจรา่ งกายปลี ะ 1 ครัง้ สิง่ ทต่ี รวจคอื

223

1. การตรวจความดันโลหิต เป็นการตรวจหาความดันโลหิตสูงเบื้องต้น หรอื ภาวะลุกลาม
ของโรคความดันโลหิตสูง ปกติความดันโลหิตในวัยผู้ใหญ่ประมาณ 120/80 มิลลิเมตรปรอท ถ้าต่ํา
กว่าน้จี ะดมี ากสําหรบั ผู้ที่มีอายุ 40 ปไี ปแล้ว ถ้ามคี วามดนั โลหิตตัง้ แต่ 140/90 มลิ ลิเมตรปรอท จัดได้
วา่ เปน็ ความดันโลหิตสูง ระดับความดันโลหติ ที่สงู ขึ้นเม่อื มอี ายุ อาจพบปรากฏอาการได้น้อย ความดัน
โลหิตสูง คือ สภาวะของความดันโลหิตที่สูงกว่าเกณฑ์ปกติของแต่ละอายุ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก
หลอดเลือดฝอยตีบ แคบ หรือมีภาวะหลอดเลือดแข็งตัว ซ่ึงจะพบได้มากในผู้สูงอายุทําให้เกิดโรคลม
อมั พาต หวั ใจวาย โรคหัวใจ ซ่ึงเป็นสาเหตุของการตายและความพกิ ารที่สําคัญของผู้สงู อายุ การตรวจ
ความดันโลหิตจะเป็นเคร่อื งบงช้ีให้ผู้สูงอายุได้ทราบสภาพของตนเอง และหาแนวทางป้องกันการเกิด
โรคทจ่ี ะตามมาเนือ่ งจากความดนั โลหิตสูง

2. การตรวจเลือด เป็นการตรวจเพือ่ สืบคน้ การเปน็ โรค เชน่ โรคเบาหวาน โรคไต โรคตับ
และโลหิตจาง การตรวจหาความผิดปกติของเลือด เมื่อมีอายุมากขึ้น กลับเป็นส่ิงจําเป็น เนื่องจาก
อาหารที่กินเข้าไปรว่ มกบั ความเสอ่ื มสภาพของร่างกาย

3. การตรวจสอบความผิดปกติของ ตา หู และฟัน โดยเฉพาะฟันควรพบทันตแพทย์ 6
เดอื นต่อครงั้ อยา่ งนอ้ ยเพอื่ ขูดหนิ ปูน และตรวจสขุ ภาพทัว่ ไปของฟนั

4. การเอกซเรย์ดูสภาพปอด จะทําเฉพาะในรายท่ีสูบบุหร่ีหรือมีอาชีพต้องสัมผัสกับฝาน
ละอองหรือสารพิษหรือปอดอยู่ในที่มีอาการเป็นพิษ เพ่ือตรวจหารอยโรคท่ีปอดมะเร็ง และวัณโรค

5. การตรวจหวั ใจด้วยคล่ืนไฟฟ้าของหัวใจ เปน็ การดูสภาพการทาํ งานของหัวใจ การตรวจจะ
ขึ้นอยูก่ ับการวินิจฉยั ของแพทย์ การตรวจเฉพาะผู้ชายจะตรวจหาความผิดปกติของต่อมลกู หมาก และ
ผู้หญิงจะตรวจหาความผิดปกติของเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตรวจประเมินสุขภาพจิต การตรวจ
ร่างกายเป็นส่ิงจําเป็นอย่างย่ิงในการรักษาสุขภาพของผู้สูงอายุท่ีทําเพื่อการตรวจสอบและรักษา
เท่าน้ัน ไม่จําเป็นต้องกังวล หรือตรวจซ้ําๆโดยไม่จําเป็น การตรวจร่างกายปีละ 1 คร้ัง จะเป็นการ
ประกันสขุ ภาพทีเ่ หมาะสมที่สดุ

หลกั พุทธธรรมกบั การพฒั นาร่างกายและจิตใจของผ้สู ูงอายุ ด้วยหลกั ภาวนา 4
ในการปรบั เปลี่ยนความคุ้นชินกบั ผ้สู ูงอายหุ รือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเคยชนิ ของ
ผู้สูงอายุให้หันมาสนใจเร่ืองสุขภาพของตนเอง นับว่าเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก ผู้ที่จะทําหน้าที่ในการ
ปรับเปล่ียนพฤติกรรมนอกจากแพทย์แล้ว พระภิกษุหรือพระสังฆาธกิ ารก็น่าจะมีส่วนช่วยปรบั เปล่ียน
พฤติกรรมได้ เพราะผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะเข้าวัดปฏิบัติธรรม การทําความเข้าใจเก่ียวกับแนวคิดเรื่อง
ศาสนา แนวคิดเรื่องศาสนาพุทธกับการแก้ปัญหาชีวิตช่วยให้ผู้สูงอายุมีทางเลือกที่จะทําให้สุขภาพ
ตนเองสมบูรณ์ด้วยการปฏิบัติตามหลักพุทธธรรม จึงเป็นทางเลือกที่สร้างความสมดุลท้ังกาย สังคม
จติ ใจและปัญญา
ผลจากกระบวนการวจิ ยั ในครง้ั นน้ี าไปสู่การได้มาของรูปแบบการดูแลสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ
ดว้ ยหลักพทุ ธธรรม สามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี

1) การมีสว่ นร่วมของชุมชนในการเสริมสร้างสุขภาพผสู้ ูงอายุ โดยอาศัยกลุ่มท่เี ป็นทางการ
ช่วยขบั เคลอื่ น เช่น อาสาสมัครสาธารณสขุ ผู้นาํ ชมุ ชนและวดั รว่ มกนั จดั กิจกรรามเฉพาะผ้สู ูงอายุ เช่น
กิจกรรมวันสําคัญต่างๆ กิจกรรมออกกําลังกาย กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา บทบาทของชุมชนใน
การมีส่วนรว่ มในการดูแลสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม เชน่ การให้ข้อมูลข่าวสารด้านการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

224

ด้วยการประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสาย การให้คําปรึกษาหารือ จัดกิจกรรมประชาคม จัดเวที
สาธารณะอยา่ งสม่าํ เสมอเพ่ือเพม่ิ โอกาสใหผ้ สู้ ูงอายุได้ร่วมกจิ กรรม

2) การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพและการคัดกรอง ชุมชนต้องการปรับพฤติกรรมเพื่อลด
โอกาสก่อโรคซ้ําซ้อน และป้องกันการเกิดโรคในระยะที่ 1 กิจกรรมท่ีปฏิบัติได้เชิงรูปธรรม เช่น
การศึกษาความต้องการดา้ นการส่งเสรมิ สุขภาพอย่างครบถ้วนทกุ มิติของสุขภาวะอยา่ งเป็นระบบ การ
ใหค้ วามรเู้ พือ่ เสรมิ พลัง จัดอบรมเพ่อื เพ่ิมทักษะใหก้ ับกล่มุ แกนนาํ และอาสาสาธารณสขุ

3) การจัดการความรู้เพ่ือการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ซึ่งเป็นความรู้ที่ตอบสนองความ
ต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ และสร้างโอกาสให้ผู้สูงอายุเข้าถึงองค์ความรู้ท่ีสนับสนุนการ
ตัดสินใจดา้ นสขุ ภาพดว้ ยตนเองอยา่ งเหมาะสม เพอื่ นาํ ไปส่กู ารปรับมโนทศั น์ในการดูแลสขุ ภาพตนเอง

4) การดูแลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ้วยหลกั พทุ ธธรรม

ปัจจุบันปัญหาโรคไร้เชื้อกําลังเป็นปัญหาของประเทศไทย ซ่ึงสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก
พฤติกรรมการใช้ชีวิตท่ีเปลี่ยนไป การจะปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพให้กับประชาชนเอให้เกิด
สุขภาพท่ีดีโดยเฉพาะผู้สูงอายุท่ีมีการสะสมพฤติกรรมการใช้ชีวิตมายาวนาน คุ้นชินกับความเป็นอยู่
การจะปรบั เปลี่ยนจําเปน็ ตอ้ งปรบั แนวคดิ ว่า “สง่ิ ทั้งหลายทั้งปวงเปน็ ธรรมชาติท่ีมีการเปลยี่ นแปลงไป
ตามธรรมดา” ผู้สูงอายุก็เป็นวัยแห่งความเสื่อมถอย ท้ังด้านร่างกายและด้านจิตใจ การสร้างความ
ตระหนักให้เกิดการยอมรับ เกิดการเรียนรู้ เกิดความพอดี หรือเกิดความสมดุลของชีวิต ซึ่งได้นําหลัก
พุทธธรรมมาบรู ณาการ ดงั นี้

การประยุกต์ใช้หลักพทุ ธศาสนาเขา้ ชว่ ยเพือ่ คน้ พบความสาเร็จ
การท่ีมนุษย์พยายามค้นหาวิธีการหรือแม้กระท่ังแนวทางสู่ความสําเร็จนั้น ถือได้ว่าเป็น
การค้นหาหลักการหรือช่องทางที่จะทําให้เราสําเร็จได้มากยิ่งขึ้น การพบกับอุปสรรคต่าง ๆ จะ
กลายเป็นเคร่ืองมือท่ีจะทําให้ได้ฝึกฝนใช้หลักการและแนวความคดิ เพื่อท่จี ะได้รู้จักวางแผน ร้จู ักที่จะ
ตัดสินใจเลือกลงมือปฏิบัติให้ไปถึงจุดหมายปลายทางน่ันก็คือ ความสําเร็จได้ในอนาคต ในการดูแล
สุขภาพผู้สูงอายุเพื่อเป็นทางเลือกใหม่จึงขอยกหลักการและแนวคิดตัวอย่าง ซึ่งเป็นหลักการและ
แนวความคิดของผู้ที่ประสบความสําเร็จ ท่ีได้เลือกใช้หลักพระพุทธศาสนาเข้าช่วยพัฒนาจิตให้เกิด
ความเชือ่ มั่นว่าผู้สูงอายสุ ามารถทาํ ได้ดว้ ยตนเอง ประกอบดว้ ย

1 ใช้หลักพละ 5 หรอื อนิ ทรีย์ 5

การสร้างความตระหนัก (Awareness) ให้เกิดการรับรู้เรื่องการปฏิบัติตน นับว่าเป็นสิ่ง
สําคัญมาก เพราะเป็นจุดเริ่มต้นท่ีจะทําให้ผู้สูงอายุเปล่ียนพฤติกรรมเกิดความเข้าใจธรรมชาติอย่าง
ถูกต้อง รู้และเข้าใจตนเอง ซ่ึงสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้กล่าวว่า “...ในการเข้าถึง
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา จะต้องปฏิบัติหลักธรรมย่อยๆ หลายอย่าง หลักธรรมหรือข้อปฏิบัติ
เหล่าน้ี จะต้องกลมกลืนพอดีกันได้แก่ อินทรีย์ 5 ผู้ปฏิบัติธรรมจะมีการเน้นคําว่า สมตา คือมีความ
สมดุลกันทั้ง ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา การปฏิบัติจะต้องพอดีกัน ระหว่างวิริยะกับสมาธิ

225

และความพอดีระหว่างศรัทธากับปัญญา โดยมีสติเป็นเคร่ืองควบคุม...”19 พละ 5 (power) แปลว่า
ธรรมอันเป็นกําลัง ท่ีเรียกว่า พละ เพราะมีความหมายว่าเป็นพลัง ทําให้เกิดความมั่นคงครอบงําเสีย
ซึ่งความไร้ศรัทธา ความเกียจคร้าน ความประมาท ความฟุ้งซ่านและ ความหลง เป็นเครื่องเกื้อหนุน
แก่อรยิ มรรค เปน็ หลกั ปฏบิ ตั ทิ างจิตใจให้ถงึ ความหลุดพน้ โดยตรง ประกอบดว้ ย

1) สัทธา (confidence) คือ ความเชอ่ื มั่นในส่งิ ทีด่ ีงาม
2) วิรยิ ะ (energy; effort) คือ ความเพยี รพยายาม ไม่ทอ้ ถอย
3) สติ (mindfulness) คือ ความระลึกได้ ความไม่เผลอ การคมุ ใจไวไ้ ด้
4) สมาธิ (concentration) คือ ความตั้งจิตม่ัน การทําใจให้สงบแน่วแน่ ไม่ฟุ้งซ่าน

การมีจิตกาํ หนดแน่วแนอ่ ยู่กับสิ่งใดสิ่งหนง่ึ โดยเฉพาะ
5) ปั ญ ญ า (wisdom; understanding) คื อ ค วาม รู้ ค ว าม เฉลี ย วฉล าด มี

ประสบการณ์ มีวิจารณญาณท่ดี ี มคี วามสามารถเข้าใจสถานการณ์ตา่ งๆ และมกี ารตัดสนิ ใจทีด่ 2ี 0
2. ใช้หลักอิทธิบาท 4

หลักธรรมอิทธิบาท 4 (Attempt) เป็นหลักธรรมท่ีก่อให้เกิดความพึงพอใจ และความ
พยายามท่จี ะกา้ วขา้ มอุปสรรคต่างๆ ประกอบดว้ ย

1) ฉันทะ คือ ความพอใจ รักใคร่ เต็มใจ และฝักใฝ่ในงานอยู่เสมอ ทุ่มเทความสามารถ
และปรารถนาเพื่อทจ่ี ะทํางานนนั้ ใหด้ ที ่ีสดุ

2) วิริยะคือ ความเพียรพยายาม ความอุตสาหะและมานะบากบ่ัน ที่จะทํางานหรือทําส่ิง
หนึ่งสิ่งใดให้ดีที่สุด ไม่ท้อถอยเมื่อเกิดอุปสรรค และความยากลําบากต่างๆ ด้วยการมองปัญหาหรือ
อปุ สรรคทขี่ ัดขวางต่อการทาํ สงิ่ นน้ั เป็นสงิ่ ทท่ี ้าทาย และต้องเอาชนะให้สําเร็จ

3) จิตตะ การเอาใจใส่ และให้ใจจดจ่ออยู่กับอยู่กับส่ิงท่ีทํา มีสมาธิมั่นคงอยู่กับงาน ไม่
ปลอ่ ยปละละเลยในงานทท่ี าํ และทาํ งานดว้ ยความต้ังใจที่จะให้งานน้ันสาํ เรจ็

4) วิมังสา คือ การสอบสวน ไตร่ตรอง พิจารณาตรวจสอบในสิ่งท่ีกําลังทําน้ันๆ รวมถึง
การรจู้ ักคน้ คว้า ทดลอง คิดคน้ และรู้จกั คิดแกไ้ ขปรับปรงุ งาน ให้กา้ วหนา้ อย่เู สมอ21

3. ใช้หลักธรรม ภาวนา 4

ภาวนา 4 เป็นแนวพัฒนาให้ผู้สูงอายุนําไปฝึกปฏิบัติ(Action) เพ่ือให้เพ่ือให้เกิดปฏิกิริยา
ร่างกายหล่ังสารเอ็นโดรฟิน(สารแห่งความสุข) กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายให้ทํางานดีข้ึน ช่วย
ชะลอความเสอื่ มของเซลล์ และมีสุขภาพดี/แข็งแรง/อายยุ นื (Achievement ประกอบดว้ ย

19 สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต),ลักษณะแห่งพระพทุ ธศาสนา,(ฉบับสองภาษา),
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์เจรญิ ดีมง่ั คงการพมิ พ์,2558,หนา้ 11-12.

20 สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานกุ รมพทุ ธศาสตน์ ฉบบั ประมวลศพั ท์, พิมพ์ครั้งท่ี
11, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546), หน้า 156 --187.

21 สุขภาพจิต/ศาสนา › อิทธบิ าท 4 และแนวทางปฏิบตั ,ิ [ออนไลน]์ เข้าถึงเมือ่ 11 เมษายน 2561
เขา้ ถึงไดจ้ าก thaihealthlife.com ›

226

1) การพัฒนากาย คือ การพัฒนาร่างกายด้วยการออกกําลังกาย เช่น การเดิน การวิ่ง
เหยาะๆ การเดนิ จงกรม การทําสมาธิบําบัด การอยู่กับส่งิ แวดล้อมท่ีเก้ือกลู กนั การบรโิ ภคปัจจัยสี่ตรง
ตามคณุ ค่าทแ่ี ทจ้ รงิ

2) การพฒั นาศีล คือ การพัฒนาดา้ นกายและวาจา มคี วามสัมพันธท์ างสังคมกับผู้อืนอย่าง
เหมาะสม เกื้อกลู สรา้ งสรรค์ สง่ เสริมสันติสขุ

3) การพัฒนาจิตคือ การพัฒนาจิตตนเองให้มีความสมบูรณ์ทั้งคุณภาพ สมรรถภาพและ
สุขภาพจิตทด่ี ีดูแลสภาวะจติ ใจตนเอง

4) การพัฒนาปัญญา คือ การพัฒนาตนเองให้รู้จักคิด พิจารณา วินิจฉัย แก้ปัญหา และ

ดําเนินการตา่ ง ๆ ดว้ ยปัญญา คดิ พิจารณาทกุ สิ่งอยา่ งรอบคอบ22

ตารางท่ี 1 แสดงกิจกรรมการพฒั นาสขุ ภาพของผู้สงู อายุดว้ ยหลักพุทธธรรม

วัน เวลา/ กิจกรรม
05.30-06.15 น. - กจิ กรรมสวดมนต์
วันอาทิตย์ 06.50-7.00 น.
ถึง 07.00–7.30 น. นัง่ สมาธิ
08.00–9.00 น.. - ออกกําลังกาย/เดนิ /วิง่ เหยาะ ๆ
วนั เสาร์ 09.00-12.00 น อาบน้ํา/-รับประทานอาหารเช้า
12.00-13.00 น.
13.00–15.00 น - กิจกรรมพักผ่อนตามอัธยาศัย

16.00–17. 40 น. รบั ประทานอาหารกลางวัน

18.00 พักผอ่ นตามอธั ยาศยั เชน่ นอน/ดหู นงั /ฟังเพลง/ฟังธรรม/
รอ้ งเพลง/พูดคยุ กับเพื่อนบ้าน
ร่วมงานกจิ กรรมชมุ ชน/สังคม(ถ้ามี) หรือออกกําลงั กาย
เดนิ /ว่งิ /กิจกรรมแอโรบิค/กจิ กรรมลลี าศ/กจิ กรรมราํ วง/
สมาธบิ ําบัด/เดนิ จงกรม

อาบน้ํา

18.30-19.00 รับประทานอาหารเยน็ (งดเครื่องดืม่ แอลกอฮอล)์

19.30–21.00 น พกั ผ่อนตามอธั ยาศัย

21.00–22 น. สวดมนต/์ นงั่ สมาธิ
22.00 น–05.00 น พกั ผ่อนดว้ ยการนอน

หมายเหตุ

22 สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต),ตัดทอน จากหนงั สือเรื่อง “รงุ่ อรณุ ของการศกึ ษา เบิกฟ้าแห่ง
การพัฒนาที่ย่งั ยืน”พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์คร้ังท่ี 12 พ.ศ.2546. [ออนไลน์] เข้าถึงเมื่อ 2
กมุ ภาพนั ธ์ 2561 เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=37

227

1) ตารางนีไ้ ดร้ ับความเหน็ ชอบจากผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมการวจิ ยั
2) ท่านสามารถปรบั เปลี่ยนเวลา กจิ กรรม ให้สอดคล้องกบั การดาํ เนินชวี ิตของทา่ นได้เสมอ
3) อยากมีอายยุ ืนนาน ต้องอดทน และฝึกปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่องจงึ จะเกดิ ผลดีตอ่ สุขภาพ

ตารางภาพที่ 1 แสดงรปู แบบการดูแลสุขภาพผูส้ งู อายดุ ว้ ยหลกั พุทธธรรม

การมสี ่วนรว่ มของ การจดั บรกิ ารส่งเสรมิ
ชมุ ชนในการ สขุ ภาพและการคดั

เสรมิ สรา้ งสขุ ภาพ กรอง
ผสู้ ูงอายุ

รูปแบบการดูแลสุขภาพ อิทธิบาท 4
ผู้สงู อายุดว้ ยหลักพุทธธรรม

การจัดการความรู้ การดูแลสขุ ภาพ ภาวนา
เพอ่ื การสง่ เสริม 4
สุขภาพในชมุ ชน พละ ผู้สูงอายุดว้ ยหลกั
พทุ ธธรรม
5ะ

5

คุณประโยชน์ของการสวดมนต์และการฝกึ สมาธิ
การสวดมนต์และการปฏบิ ัติสมาธินอกจากจะสร้างความเจริญทางธรรมใหแ้ ก่ผปู้ ฎิบัติแล้ว

ยังมีการศึกษาค้นคว้าศึกษาวิจัยอีกมากมายท่ีแสดงถึงผลดีที่มีต่อสุขภาพกายและจิตใจ อาทิเช่น ช่วย
พัฒนาสุขภาพจิตและบุคลิกภาพ ช่วยลดความเครียด ความวิตกกังวล ช่วยให้นอนหลับสบาย ทําให้
สุขภาพรา่ งกายแข็งแรง หายจากโรคเรอ้ื รังต่าง ๆ เชน่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง เป็นต้น
ผู้ป่วยสามารถลดการใช้ยาลงหรือ สามารถหยุดยาได้ อีกท้ังยังสามารถใช้ดูแลสุขภาพทางกายและ
จิตใจของผูส้ ูงอายุในสงั คมไทยได้เป็นอยา่ งดี การสวดมนตแ์ ละการปฏิบตั ิสมาธิสามารถนํามาใช้ในการ
ดูแลสุขภาพได้ท้ัง รักษา ป้องกัน ฟื้นฟูและส่งเสริมสุขภาพ ผู้ปฏิบัติใช้เวลาเพียงวันละ 15 นาทีโดย
ปฏบิ ัติเปน็ กิจวตั รประจาํ วัน สุขภาพของทา่ นกจ็ ะดีขึ้น ทงั้ ทางกายและทางจติ ใจ23

23 นพ.ปภัสสร เจียมบุญศรี รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกสวด
มนต์และสมาธิบําบัดเพื่อการรักษาโรค กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก / กองทุนภูมิปัญญา
การแพทย์แผนไทย พิมพ์ครัง้ ที่ ๑ บริษทั วี อินด้ี ดีไซน์ จาํ กดั ,ความนาํ เสนอ.

228

คุณประโยชนข์ องการสวดมนต์
1) สามารถไล่ความข้ีเกียจ เพราะขณะสวดมนต์ อารมณ์เบ่ือ เซ่ืองซึม ง่วงนอน เกียจ

คร้านจะหมดไป และเกิดความแช่มชืน่ กระฉบั กระเฉงขน้ึ
2) เป็นการตัดความเห็นแก่ตัว เพราะในขณะนั้นอารมณ์จะไปหน่วงอยู่ที่การสวดมนต์

อย่างตง้ั ใจ ไม่ไดค้ ดิ ถึงตัวเอง ความโลภ โกรธ หลง จงึ มไิ ดเ้ กดิ ขน้ึ ในจิตตน
3) เป็นการกระทําท่ีได้ปัญญา ถ้าการสวดมนต์โดยรู้คําแปล รู้ความหมาย ก็ย่อมทําให้ผู้

สวดได้ปญั ญาความรู้ แทนที่จะสวดเหมอื นนกแกว้ นกขุนทองโดยไมร่ ู้อะไรเลย
4) มีจิตเป็นสมาธิ เพราะขณะน้ันผู้สวดต้องสํารวมใจแน่วแน่ มิฉะน้ันจะสวดผิดท่อนผิด

ทาํ นอง เมอ่ื จติ เป็นสมาธิ ความสงบเยือกเยน็ ในจิตจะเกิดข้ึน
5) เปรียบเสมือนการได้เฝา้ พระพุทธเจ้า เพราะขณะน้ันผู้สวดมี กาย วาจา ปกติ (มีศีล) มี

ใจแน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรู้ระลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า (มีปัญญา) เท่ากับได้เฝ้าพระองค์
ดว้ ยการปฏิบตั ิบชู า ครบไตรสิกขาอยา่ งแทจ้ รงิ

คุณประโยชน์ของสมาธิ มหี ลายอย่าง เชน่
1) ประโยชน์ทางด้านอภิญญา เช่น ฝึกสมาธิแล้วได้อภิญญา(ความสามารถพิเศษเหนือ
สามัญชน) ได้แก่ หูทิพย์ ตาทิพย์ ทายใจคนอ่ืนได้ แสดงอิทธิฤทธ์ิต่างๆ ได้ ประโยชน์ด้านน้ีไม่
เกยี่ วขอ้ งกบั พระศาสนาโดยตรง
2) ประโยชน์ทเ่ี ปน็ จดุ หมายทางพทุ ธศาสนาแบ่งเป็น 2 ระดับ คอื

(1) ประโยชน์ระดับต้น คือฝึกสมาธิไประยะหน่ึง จิตจะหายฟุ้งซ่าน จนถึงระดับได้
ฌาน สามารถใช้สมาธิที่ได้ระงับ หรือข่มกิเลสได้ช่ัวคราว แค่นี้ก็เรียกได้ว่าได้ "วิมุตติ"(หลุดพ้น)ระดับ
หนง่ึ แล้ว เรยี กวา่ วกิ ขัมภมวมิ ุติ (หลุดพน้ ด้วยข่มไว้) ตราบใดทยี่ ังข่มไดอ้ ยู่ เจ้ากิเลสมันกไ็ มฟ่ ้งุ

(2) ประโยชน์ระดับสูงสุด คือ สมาธิอันเป็นบาทฐานวิปัสสนาพิจารณาสภาวธรรม
ทั้งหลายรู้แจ้งไตรลักษณ์ กําจัดกิเลสได้โดยสิ้นเชิง พูดอีกในหนึ่งก็คือสมาธินําไปสู่ความเป็นพระ
อรหนั ต์

3) ประโยชน์ด้านพัฒนาบุคลิกภาพ ผู้ที่ฝึกสมาธิประจํา ย่อมมีบุคลิกภาพท่ีพึงปรารถนา
หลายอยา่ งเช่น (1) มีบุคลิกหนักแน่น เข้มแขง็

(2) มคี วามสงบเยอื กเยน็ ไมฉ่ ุนเฉยี วเกรี้ยวโกรธ
(3) มีความสุภาพ นมิ่ นวล ทา่ ทีมีเมตตากรณุ า
(4) สดใส สดชน่ื เบิกบาน
(5) สง่า องอาจ นา่ เกรงขาม
(6) มีความมน่ั คงทางอารมณ์
(7) กระฉบั กระเฉง ไม่เซอื่ งซึม
(8) พรอ้ มเผชิญเหตุการณต์ ่างๆ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าไดฉ้ บั ไว
4). ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน เชน่
(1) ทาํ ให้ใจสบาย ไม่เครยี ด มคี วามสุข ผ่องใส
(2) หายหวาดกลวั หายกระวนกระวายโดยไมจ่ ําเป็น

229

(3) นอนหลับง่าย ไม่ฝันร้าย ส่ังตวั เองได้ (เช่น สั่งให้หลับหรือตื่นตามเวลาที่กําหนด

ไว้ได้ (4) กระฉับกระเฉง วอ่ งไว รจู้ ักเลอื กและตดั สนิ ใจเหมาะแกส่ ถานการณ์

(5) มคี วามแนว่ แนใ่ นจดุ หมาย มีความใฝส่ ัมฤทธ์สิ งู

(6) มีสติสมั ปชัญญะดี รู้เทา่ ปรากฏการณ์ และยบั ย้งั ใจไดด้ เี ยีย่ ม

(7) มปี ระสิทธภิ าพในการทํางาน ทาํ กิจกรรมสําเร็จดว้ ยดี

(8) สง่ เสริมสมรรถภาพมันสมอง เรียนหนังสือเกง่ ความจาํ ดีเยี่ยม

(9) เก้ือกลู ตอ่ สุขภาพรา่ งกาย เชน่ ชะลอความแก่ หรือออ่ นกวา่ วยั

(10) รักษาโรคบางอย่าง เช่น โรคเครียด โรคท้องผูก โรคความดันโลหิต โรคหืด
หรือโรคกายจิตอยา่ งอ่นื 24

สรุปได้ว่า การทําสมาธิและการสวดมนต์ทุกวันสามารถพัฒนาศักยภาพของคนได้

การทําสมาธิไม่ใช่เป็นเรื่องทางพระพุทธศาสนาเพียงอย่างเดียว แต่มองว่าเป็นวิทยาศาสตร์ มี

การวิจัยทั่วโลกได้บอกแล้วว่าการทําสมาธิ เพียงแค่วันละ 10 นาที ก็สามารถพัฒนาสมองและ

ศักยภาพการทํางานได้ เพราะสมาธิจะช่วยให้ ทุกคนสามารถทํางานด้วยการคิดวิเคราะห์ และมี

ความคิดสร้างสรรค์ นอกจากนี้สมาธิยังช่วยในการทํารักษาโรคบางอย่างได้ดีอีกด้วย

ผลการตรวจสุขภาวะ(ชีวะเคมี การเจาะเลือดท่ีปลายนิ้ว)ของผู้สูงอายุที่สมัครใจเข้าร่วม

โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม รวมเวลา 43

สปั ดาห์

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละการเปรียบเทียบผลการตรวจเลือดด้วยแพทย์แผนปัจจุบัน

ตามรายการตรวจสุขภาพ(ชีวะเคมี การเจาะเลือดทปี่ ลายนิ้ว) จําแนกเป็น 9 รายการของกลุ่มตัวอย่าง

ก่อนและหลังการปรับปรงุ รูปแบบฯ

ผลการตรวจสอบสภาพร่างกาย

รายการตรวจสุขภาวะ ก่อน( n = 24) หลัง (n = 25) ผลตา่ ง

ปกติ ไมป่ กติ ปกติ ไม่ปกติ ปกติ ไม่ปกติ

รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

นา้ํ ตาล(FBS) 75.0 25.0 88.0 12.0 +13.0 13.0

การทํางานของไต(Creatinine) 00 100 100 -

เกาท(์ Uric acid) 87.5 12.5 100 - 100 -

ไขมนั โคเลสเตอรอล(Choresterol) 37.5 62.5 64.0 36.0 +26.5 -26.5

ไขมันไตรกลเี ซอร์ไรด์(Triglyceride) 66.7 33.3 80.0 20.0 +13.3 -13.3

ไขมันด(ี HDL-C) 100 100 - - -

ไขมันเลว(LDL-C) 58.3 41.7 64.0 36.0 +5.7 -57.0

การทาํ งานของตับ(AST) 87.0 12.5 96.0 4.0 +9.0 -8.5

การทํางานของตับ(ALT) 87.5 12.5 96.0 4.0 +9.0 -8.5

24 Matakee, ประโยชนข์ องสมาธิ. (เว็บไซท)์ แหล่งที่มาจาก:http://www.hindumeeting.com/
forum /index .php?topi,เขา้ ถึงเมอ่ื วันท่ี 25 กันยายน 2561

230

จากตารางท่ี 2 .พบว่า ผลการตรวจสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างท่ีเข้าร่วมกิจกรรมมีการฝึก
ปฏิบัติตนเองด้วยหลักพุทธธรรม นําความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปปฏิบัติเป็นเวลา 43 สัปดาห์
สง่ ผลใหส้ ุขภาพของผู้สูงอายุโดยรวมมีสขุ ภาวะดีขึ้น ได้แก่ การทํางานของไต (Creatinine) และไขมัน
ดี(HDL-C) มีค่าปกติคงที่ ท่ีร้อยละ 100 สุขภาวะท่ีมีการเปล่ียนแปลงเข้าสู้ภาวะปกติมากท่ีสุดได้แก่
เกาท์ (Uric acid) การทํางานของตับ(AST) การทํางานของตับ(ALT) น้าํ ตาล(FBS) มคี ่าปกติเม่อื ส้ินสุด
การร่วมกิจกรรมร้อยละ 100, 96.0, 88.0 ตามลําดับ ในขณะเดียวกันค่าไม่ปกติก็ลดลงได้แก่ ไขมัน
เลว(LDL-C) ไขมันโคเลสเตอรอล (Choresterol) และไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์(Triglyceride) มีค่าไม่
ปกติลดลงที่ -57.0,-26.5 -13.3 ตามลาํ ดับ

231

บรรณานกุ รม

กุลยา ตันติวาอาชีวะ, คู่มือผู้สูงอายุสุขภาพสูงวัย ดูแลได้ด้วยตัวเอง,(กรุงเทพมหานคร : เพชร
ประกาย, 2560), .

นพ.ปภัสสร เจียมบุญศรี รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกสวดมนต์
และสมาธิบําบัดเพ่ือการรักษาโรค กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
/ กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พิมพ์ครั้งที่ ๑ บริษัท วี อินด้ี ดีไซน์ จํากัด,ความ
นําเสนอ.

สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต), พจนานกุ รมพุทธศาสตน์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่
11, (กรุงเทพมหานคร : มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, 2546), .

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต),ตัดทอน จากหนังสือเรื่อง “รุ่งอรุณของการศึกษา เบิกฟ้า
แห่งการพัฒนาท่ีย่ังยืน”พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์คร้ังที่ 12 พ.ศ.
2 5 4 6 . [อ อ น ไ ล น์ ] เข้ า ถึ ง เม่ื อ 2 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 1 เข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก
http://www.84000.org/tipitaka/ dic/d _item.php?i=37

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต),ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา,(ฉบับสองภาษา),
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเ์ จริญดีมัง่ คงการพมิ พ,์ 2558,.

สุขภาพจิต/ศาสนา › อิทธิบาท 4 และแนวทางปฏิบัติ, [ออนไลน์] เข้าถึงเม่ือ 11 เมษายน 2561
เข้าถงึ ได้จาก thaihealthlife.com ›

กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข, การออกกาลังกายท่ัวไปและเฉพาะโรคผู้สูงอายุ.
กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2548),.

บรรลุ ศิริพานิช เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. (กรุงเทพมหานคร : กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข,
2532).

232

รายนามผู้ทรงคณุ วฒุ ใิ นการตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจยั

1. ชอ่ื -สกลุ นายเฉลิมพล จิตรสุทธิทรพั ย์
ตาํ แหน่งปจั จบุ ัน นกั วิชาการสาธารณสขุ ชํานาญการ รกั ษาการในตําแหน่ง
ผอู้ ํานวยการโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตําบลเทพมงคล
วุฒิการศึกษา ปรญิ ญาโท สาขาแพทยศ์ าสตร์
สถานที่ทํางาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลเทพมงคล อําเภอบางซ้าย
จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

2. ช่ือ-สกลุ นางปนดั ดา จิตรสทุ ธิทรพั ย์
ตาํ แหนง่ ปัจจุบัน พยาบาลวชิ าชีพชํานาญการ
วฒุ ิการศกึ ษา ปริญญาตรพี ยาบาลวิชาชีพ
สถานที่ทํางาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลเทพมงคล อําเภอบางซา้ ย
จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

3. ช่ือ-สกลุ นายกองเหรียญ แสนช่าง
ตาํ แหนง่ ปัจจบุ ัน ผูอ้ ํานวยการโรงเรยี นวัดสุคนธาราม ตาํ บลเทพมงคล
อําเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วฒุ ิการศึกษา ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
สถานท่ีทาํ งาน โรงเรยี นวดั สุคนธาราม ตําบลเทพมงคล อาํ เภอบางซ้าย
จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

.

233

(สําเนา)

ที่ พิเศษ/2561 วดั ป่าเลไลยก์วรวหิ าร
ตําบลรว้ั ใหญ่ อาํ เภอเมือง
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 72100

20 กมุ ภาพันธ์ 2561

เร่อื ง ขอเชิญเป็นผู้เช่ียวชาญตรวจคุณภาพเคร่ืองมือการวจิ ยั เจริญพร

สิง่ ท่สี ่งมาดว้ ย 1. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั จาํ นวน 1 ชดุ
2. กรอบแนวความคดิ ในการวิจยั จํานวน 1 ชุด
3. วิธกี ารวิจยั จํานวน 1 ชุด
4. เครอื่ งมือในการวิจยั จาํ นวน 1 ชดุ

ด้วย อาตมาภาพพระครูโสภณวีรานุวัตร.อาจารย์ประจําคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย หนว่ ยวทิ ยบรกิ ารวัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร อาํ เภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
ได้รับทุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ใหทําวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบ
การดูแลผู้สูงอายดุ ว้ ยหลกั พุทธธรรม นั้น

อาตมาภาพในฐานะหัวหน้าคณะโครงการวิจัยไดปรึกษากันและพิจารณาแลวเห็นว่า ท่าน
เป็นผู้มีความรูความสามารถและเช่ียวชาญในเรื่องน้ีโดยเฉพาะ จึงขอความร่วมมือจากท่านได้
ตรวจสอบเครอื่ งมอื เพ่ือการวิจยั รายละเอียดตามสง่ิ ท่ีส่งมาด้วยแลว้

จงึ เจริญพรมาเพื่อทราบและพิจารณา หวังว่าคงจะได้รับความร่วมมือจากท่านเป็นอย่างดี
ขออนโุ มทนาในกุศลจริยามา ณ โอกาสนด้ี ว้ ย

ขอเจรญิ พร

...............................................................
(พระครโู สภณวรี านวุ ัตร,ดร)
หัวหนา้ คณะโครงการวจิ ัย

วัดปา่ เลไลยกว์ รวหิ าร จังหวดั สุพรรณบุรี
โทร.092-5909595

234

ภาคผนวก จ

รปู ภาพกิจกรรมทด่ี าเนินการวิจยั

235

ประมวลภาพการประชุมวางแผนแบบมสี ว่ นรว่ ม(ครั้งท่ี1)
เรอื่ ง การพัฒนารูปแบบการดแู ลสขุ ภาพของผสู้ งู อายดุ ้วยหลกั พุทธธรรม
ณ วัดสุคนธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

สัปดาห์ที่ 4-5 (มีนาคม พ.ศ.2561)

ภาพกิจกรรม โครงการวิจยั รอบท่ี 1

ภาพท่ี 1 ผ้เู ข้าร่วมการวจิ ยั รับฟังรายงานการเปิด ภาพที่ 2 คณะวิทยากรบรรยายวัตถุประสงค์
โครงการ
โครงการวิจยั

ภาพท่ี 3 คณะผ้วู ิจัยสอบถามและเก็บขอ้ มลู จาก ภาพท่ี 4 คณะผวู้ จิ ัยสอบถามและเก็บขอ้ มลู จาก
กลมุ่ เปา้ หมายของการวจิ ัย กลมุ่ เป้าหมายของการวจิ ยั

ภาพกิจกรรม โครงการวิจยั (ต่อ) 236

ภาพที่ 5 คณะผู้วิจยั แบ่งกลมุ่ ผู้เข้ารว่ มการวิจัยในการ ภาพที่ 6 ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการวจิ ยั รว่ มกับทํา
เก็บข้อมลู กิจกรรมท่ไี ด้รับมอบหมาย

ภาพที่ 7 ผูจ้ ัดทาวจิ ัยบรรยายการทากิจกรรม ภาพท่ี 8 ตัวแทนผเู้ ข้าร่วมการวิจัยรายงาน
ผลการรวมกลมุ่ กจิ กรรม


Click to View FlipBook Version