The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-13 10:41:22

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

137

สอดคล้องกับผลการวิจัยของ เบญจพร สว่างศรี และเสริมศิริ แต่งงาม เร่ือง การดูแล
สุขภาพตนเองของผู้สงู อายุ อาเภอสามชุก จังหวัดสพุ รรณบุรี7 พบว่า การศึกษาระดับการดูแลสุขภาพ
ตนเองของผู้สูงอายุทั้ง 3 ด้านโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง(x =3.04 โดยพบว่า ด้านการป้องกันโรค
อยู่ในระดับมาก( x = 3.37) ดา้ นการส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 2.97) ด้านการฟื้นฟู
สขุ ภาพ อยู่ในระดบั ปานกลาง ( x = 2.77)

5.2.4 ผลการตรวจเลือด(ชีวะเคมี การเจาะเลือดที่ปลายนิ้ว)ของกลุ่มตัวอย่าง ปรากฏผล
ดังน้ี

1) ผลการตรวจเลือด(ชีวะเคมี การเจาะเลือดจากปลายนิว้ ครง้ั ท่ี 1) ทาการเจาะเลือดไป
ตรวจ 9 รายการ ส่วนใหญ่มีภาวะสุขภาพปกติเฉล่ียร้อยละ 77.7 ได้ แก่ การทางานของไต
(Creatinine) และไขมันดี(HDL-C) มีภาวะเป็นปกติเฉลี่ยร้อยละ 100 มีภาวะไมป่ กติบ้างในด้านไขมัน
โคเลสเตอรอล (Choresterol) และไขมันเลว(LDL-C) มีภาวะไม่ปกติเฉล่ียร้อยละ 62.5,41.7
ตามลาดับ

2) ผลการตรวจเลือด(ชีวะเคมี การเจาะเลือดจากปลายนิ้วครั้งที่ 2) พบว่า สุขภาพของ
ผ้สู งู อายโุ ดยรวมมสี ุขภาวะดีขึน้ ได้แก่ การทางานของไต (Creatinine) และไขมันดี(HDL-C) มีคา่ ปกติ
คงท่ี สุขภาวะทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงเขา้ สภู้ าวะปกติมากท่สี ุดได้แก่ เกาท์ (Uric acid) การทางานของตับ
(AST) การทางานของตับ (ALT) น้าตาล (FBS) มีค่าปกติเม่ือส้ินสุดการร่วมกิจกรรมร้อยละ 100,
96.0, 88.0 ตามลาดับ ในขณะเดียวกันค่าไม่ปกตกิ ็ลดลงได้แก่ ไขมนั เลว(LDL-C) ไขมันโคเลสเตอรอล
(Choresterol) และไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride) มีค่าไม่ปกติลดลงท่ี -57.0,-26.5 -13.3
ตามลาดับ สอดคล้องกับผลการวิจัยของ วนัสรา เชาวน์นิยม,และคณะ8 ทาวิจัยเรื่อง แบบแผนการ
บริโภคอาหาร ภาวะโภชนาการ และปัจจัยขับเคล่ือนชุมชนผู้สูงอายุสุขภาพดี โดยใช้รูปแบบวิจัยเชิง
ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) แบ่งเป็น 3 ระยะดังน้ี ระยะที่1
การประเมินสถานะสุขภาพกายและแบบแผนการบริโภค เลือกการวัดความดันโลหิต น้าตาลในเลือด
ดัชนีมวลกาย ไขมันในเลือด(การเจาะเลือดจากปลายน้ิว) และโรคประจาตัว กับผู้สูงอายุในชุมชน
บางพระ จานวน 48 คน ระยะท่ี 2 การพัฒนารูปแบบการดูแลภาวะโภชนาการและ สุขภาพของ
ผู้สูงอายุ โดยมีแกนนาสุขภาพ เป็นกลไกหลักในการให้โภชนศึกษาแบบวงน้าชา ให้มีการปรับ
พฤติกรรมการบริโภคโดยเร่ิมต้นจากสิ่งที่ง่าย ไปจนถึงการสร้างกิจกรรมที่สนใจร่วมกันกับผู้สูงอายุ
และระยะท่ี 3 การประเมินรูปแบบการดูแลภาวะโภชนาการและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุท่ีได้
พัฒนาข้ึน โดย (1) ประเมินสถานะสุขภาพกายและแบบแผนการบริโภค และชีวเคมีในเลือดซ้า
วิเคราะห์เปรียบเทียบชุดข้อมูลท้ัง 2 โดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย Standard Deviation, Wilcoxon
Sign Rank Test และ (2) ถอดบทเรียนการเรียนรู้จากผู้เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง

7 เบญจพร สว่างศรี และเสริมศิริ แต่งงาม, การดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ อ้าเภอสามชุก
จังหวัดสุพรรณบรุ ี, วารสาร ว.มทรส.2556, 1(2) : 132-133.

8 วนัสรา เชาวน์นิยม,และคณะ, “แบบแผนการบริโภคอาหาร ภาวะโภชนาการ และปัจจัย
ขับเคลื่อนชุมชนผู้สูงอายุสุขภาพดี” ภาควิชาพ้ืนฐานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
2557

138

มากกว่าหนง่ึ ในสามมภี าวะเสี่ยงต่อโรคอ้วน คือมีดัชนมี วลกาย เส้นรอบเอว และสดั ส่วนเอวกับสะโพก
เกินเกณฑ์ ปริมาณไขมันในเลือดอยู่ในระดับสูง และชุมชน น้ีอยู่ในแหล่งอาหารทะเล กลุ่มเส่ียง
ทั้งหมดเข้าร่วมกาหนดรูปแบบการดูแลโดยมีแกนนาสุขภาพและ สมุดบันทึกรายการอาหารและร่วม
กิจกรรมต่อเนื่อง 3 เดือนเมื่อเปรียบเทียบผลค่าความดันโลหิต ค่าดัชนีมวลกาย ค่าระดับน้าตาลใน
เลือด และค่าไขมันในเลือดโดยรวม ก่อนและหลังการทดสอบรูปแบบ ด้วยสถิติ Wilcoxon Sign
Rank test พบว่าผู้สูงอายุ มีค่าบ่งช้ีสุขภาพดีขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ (p<0.05) สาหรับค่า Mean
arterial pressure ค่าดชั นีมวลกาย และค่า Triglyceride มีการเปล่ียนแปลงอยา่ ง ไม่มนี ยั สาคญั

5.2.5 ผลจากการวิจัยในคร้ังนี้สามารถนาไปสู่วูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลัก
พุทธธรรม ได้ดังนี้

1) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ โดยอาศัยกลุ่มที่เป็น
ทางการช่วยขับเคล่ือน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นาชุมชนและวัดร่วมกันจัดกิจกรรามเฉพาะ
ผู้สูงอายุ เช่นกิจกรรมวันสาคัญต่างๆ กิจกรรมออกกาลังกาย กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา บทบาท
ของชุมชนในการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม เช่น การให้ข้อมูลข่าวสารด้านการ
ส่งเสริมสุขภาพด้วยการประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสาย การให้คาปรึกษาหารือ จัดกิจกรรม
ประชาคม จัดเวทีสาธารณะอยา่ งสม่าเสมอเพื่อเพ่มิ โอกาสใหผ้ สู้ ูงอายุไดร้ ่วมกิจกรรม

2) การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพและการคัดกรอง ชุมชนต้องการปรับพฤติกรรมเพ่ือ
ลดโอกาสก่อโรคซ้าซ้อน และป้องกันการเกิดโรคในระยะท่ี 1 กิจกรรมท่ีปฏิบัติได้เชิงรูปธรรม เช่น
การศึกษาความตอ้ งการดา้ นการส่งเสริมสุขภาพอย่างครบถว้ นทกุ มิติของสุขภาวะอย่างเป็นระบบ การ
ใหค้ วามร้เู พ่ือเสริมพลงั จัดอบรมเพ่อื เพิม่ ทักษะให้กับกลุ่มแกนนา และอาสาสาธารณสขุ

3) การจัดการความรู้เพ่ือการส่งเสรมิ สุขภาพในชมุ ชน ซ่ึงเป็นความรู้ท่ีตอบสนองความ
ต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ และสร้างโอกาสให้ผู้สูงอายุเข้าถึงองค์ความรู้ที่สนับสนุนการ
ตดั สินใจด้านสุขภาพด้วยตนเองอย่างเหมาะสม เพอื่ นาไปสู่การปรับมโนทศั นใ์ นการดแู ลสุขภาพตนเอง

4) การดูแลสุขภาพผ้สู ูงอายดุ ว้ ยหลักพุทธธรรม

ปัจจุบันปัญหาโรคไร้เช้ือกาลังเป็นปัญหาของประเทศไทย ซ่ึงสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก
พฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป การจะปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพให้กับประชาชนเอให้เกิด
สุขภาพท่ีดีโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีการสะสมพฤติกรรมการใช้ชีวิตมายาวนาน คุ้นชินกับความเป็นอยู่
การจะปรับเปล่ยี นจาเปน็ ต้องปรบั แนวคดิ ว่า “สงิ่ ท้ังหลายท้ังปวงเปน็ ธรรมชาติทมี่ ีการเปลยี่ นแปลงไป
ตามธรรมดา” ผู้สูงอายุก็เป็นวัยแห่งความเส่ือมถอย ท้ังด้านร่างกายและด้านจิตใจ การสร้างความ
ตระหนักให้เกิดการยอมรบั เกิดการเรียนรู้ เกิดความพอดี หรือเกิดความสมดุลของชีวิต ซ่ึงได้นาหลัก
พุทธธรรมมาบรู ณาการ ดงั น้ี

(1) ใชห้ ลกั พละ 5

ตามแนวคิดของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้กล่าวไว้ว่า “.ในการ
เข้าถึงจุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา จะต้องปฏิบัติหลักธรรมย่อยๆ หลายอย่าง หลักธรรมหรือข้อ

139

ปฏิบัติเหล่าน้ี จะต้องกลมกลืนพอดีกันได้แก่ อินทรีย์ 5 ผู้ปฏิบัติธรรมจะมีการเน้นคาว่า สมตา คือมี
ความสมดุลกันท้ัง ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา การปฏิบัติจะต้องพอดีกัน ระหว่างวิริยะกับ
สมาธิ และความพอดรี ะหว่างศรทั ธากับปัญญา โดยมีสติเปน็ เครอ่ื งควบคมุ ...”9

(2) ใชห้ ลักอทิ ธบิ าท 4

- ฉันทะ คือ ความพอใจ รักใคร่ เต็มใจ และฝักใฝ่ในงานอยู่เสมอ ทุ่มเท
ความสามารถ และปรารถนาเพอ่ื ที่จะทางานนัน้ ใหด้ ีท่ีสดุ

- วิริยะคือ ความเพียรพยายาม ความอุตสาหะและมานะบากบั่น ที่จะทางานหรือ
ทาส่ิงหนึ่งสิ่งใดให้ดีท่ีสุด ไม่ท้อถอยเม่ือเกิดอุปสรรค และความยากลาบากต่างๆ ด้วยการมองปัญหา
หรืออุปสรรคท่ีขัดขวางตอ่ การทาส่งิ นัน้ เป็นสิง่ ทท่ี ้าทาย และต้องเอาชนะให้สาเรจ็

- จิตตะ การเอาใจใส่ และให้ใจจดจ่ออยู่กับอยู่กับสิ่งที่ทา มีสมาธิม่ันคงอยู่กับงาน
ไมป่ ล่อยปละละเลยในงานท่ที า และทางานดว้ ยความตัง้ ใจทจี่ ะให้งานนน้ั สาเรจ็

- วมิ งั สา คอื การสอบสวน ไตรต่ รอง พิจารณาตรวจสอบในส่ิงท่ีกาลังทานั้นๆ รวมถึง
การรู้จักค้นคว้า ทดลอง คดิ ค้น และรจู้ กั คิดแก้ไขปรับปรุงงาน ใหก้ ้าวหน้าอยู่เสมอ10

(3) ใชห้ ลกั ภาวนา 4

ภาวนา 4 เป็นแนวพัฒนาให้ผู้สูงอายุนาไปฝึกปฏิบัติตามตารางกิจกรรมประจาวัน
หลักพละ 5 สร้างความตระหนัก หลักอิทธิบาท 4 สร้างความพยายาม ในการดูแลสุขภาพตนเอง
เพอื่ ให้เกดิ การพฒั นาสุขภาพในองค์รวม 4 ด้าน ได้แก่

- การพัฒนากาย คือ การพัฒนาร่างกายด้วยการออกกาลงั กาย เช่น การเดิน การว่ิง
เหยาะๆ การเดินจงกรม การทาสมาธิบาบดั การอยู่กับสิง่ แวดล้อมท่ีเก้ือกลู กนั การบรโิ ภคปัจจัยส่ีตรง
ตามคณุ คา่ ที่แท้จรงิ

- การพัฒนาศีล คือ การพัฒนาด้านกายและวาจา มีความสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น
อย่างเหมาะสม เก้ือกูล สร้างสรรค์ สง่ เสรมิ สนั ติสขุ

- การพัฒนาจิตคือ การพัฒนาจิตตนเองให้มีความสมบูรณ์ทั้งคุณภาพ สมรรถภาพ
และสขุ ภาพจิตทด่ี ดี ูแลสภาวะจิตใจตนเอง

- การพัฒนาปัญญา คือ การพัฒนาตนเองให้รู้จักคิด พิจารณา วินิจฉัย แก้ปัญหา
และดาเนนิ การตา่ ง ๆ ดว้ ยปัญญา คิดพจิ ารณาทกุ สง่ิ อยา่ งรอบคอบ11 สอดคล้องกับผลการวจิ ัย ดังนี้

1) พระมหานิพนธ์ มหาธมฺมรกฺชิโต, และคณะ12 ทาการวิจัยเร่ือง การพัฒนา
รูปแบบการดแู ลสขุ ภาพผูสงู อายุดวยหลักจิตภาวนาในพระพุทธศาสนา ผลการวิจยั พบวา่ 1. แนวคิด

9 สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต),ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา,(ฉบับสองภาษา),
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เจรญิ ดีม่ังคงการพมิ พ,์ 2558,หนา้ 11-12.

10 สุขภาพจิต/ศาสนา › อิทธิบาท 4 และแนวทางปฏิบัติ, [ออนไลน์] เข้าถึงเม่ือ 11 เมษายน 2561
เข้าถึงไดจ้ าก thaihealthlife.com ›

11 สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต),ตดั ทอน จากหนังสือเรื่อง “รุ่งอรุณของการศกึ ษา เบิกฟ้า
แห่งการพัฒนาที่ยั่งยืน”พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์คร้ังที่ 12 พ.ศ.2546. [ออนไลน์] เข้าถึง
เมื่อ 2 กมุ ภาพันธ2์ 561 จาก http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=37

140

ทฤษฎีการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในทางพระพุทธศาสนาจะเน้นกระบวนการพัฒนาจิตด้วยหลักสมถะ
และวิปัสสนา 2. รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักจิตภาวนาในทางพระพุทธศาสนาคือ การ
นาหลกั จิตภาวนาทเี่ หมาะสมกบั ผู้สูงอายุเช่นอานาปานสติ เมตตาภาวนา สมาธแิ นวเคล่อื นไหว มรณัส
สติ เป็นต้น มาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่นามาจดั เป็นกจิ กรรมฝึกอบรมตามกรอบเวลาท่ีเหมาะสม
ใน 4 ด้าน คือ กาย จิต สังคม และปัญญา 3. ผลจากการทดลองพบว่าก่อนการอบรมโดยภาพรวม
ผู้สูงอายุดูแลสุขภาพอยู่ใน ระดับปานกลาง แต่หลังการอบรมโดยภาพรวมผู้สูงอายุดูแลสุขภาพอยู่ใน
ระดับมากเมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านสังคม ด้านปัญญา และด้านจิตใจอยู่ในระดับมาก
ส่วนด้านร่างกายอยใู่ นระดับปานกลาง มนี ยั สาคัญทางสถติ ิเมือ่ เปรยี บเทียบกันที่ระดับ .05

2) พระราเชนทร์ วสิ ารโท13 ทาการวิจยั เร่อื ง บูรณาการพทุ ธธรรมกับระบบการดูแล
สุขภาพระยะยาว สาหรบั ผสู้ ูงอายุของอาเภอศรีวิไล จังหวดั บึงกาฬ ผลการวจยิ ั พบว่า ในคาสอนทาง
พระพุทธศาสนา การดารงชีวิตอยู่อย่างมีคุณภาพมีความสุขที่แท้จริงเป็นส่ิงสาคัญ จึงสอนให้ปฏิบัติ
ทางกายและจิตใจควบคู่กันไปอย่างพอดีตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา ซ่ึงสรปุได้ว่าในหลักภาวนา ๔ เพ่ือ
พัฒนาพฤติกรรมทางกาย พัฒนาศีล พัฒนาจิตใจ พัฒนาความรู้ความเข้าใจให้สมบูรณ์พร้อม สาหรับ
การวัดผลการพัฒนาตามหลักภาวนานั้น อาจใช้วิธีตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคล โดยหลักภาวติ ๔
ประการ คือ ภาวตกิ าย มกี ายท่ีพฒั นาแลว้ ภาวติศีล มีศีลทพี่ ฒั นาแลว้ ภาวติจิต มจี ิตพฒั นาแล้ว และ
ภาวติปัญญา มีปัญญาที่พัฒนาแล้ว ซึ่งผู้สูงอายุสามารถนามาบรูณาการเพ่ือสร้างความสุขในชวีติได ้
โดยมีรปู แบบกิจกรรม คอื สุขสบาย สุขสนกุ สขุ สง่า สขุ สวา่ ง และสุขสงบ

3) พระสุนทรกิตติคุณ14 ทาการวิจัยเร่ือง หลักพุทธธรรมกับการดูแลสุขภาพแบบ
องค์รวมในผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุเป็นวัยแห่งความเส่ือมถอย แนวคิดทางพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง
องค์ประกอบในการดาเนินชีวิตที่มีองค์รวม 3 ด้าน มีช่ือว่า ไตรสิกขา กล่าวคือ (1) การพัฒนาด้าน
ความสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อม ทั้งส่ิงแวดล้อมด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อมทางสังคม เรียกรวมกันว่า
ศีล (2) การพัฒนา ด้านจิต และสุขภาพให้เป็นจิตใจท่ีดีงาม เข้มแข็ง มีความสุข โดยมีเจตจานงที่เป็น
กุศล และมีสภาพเอ้ือพร้อมต่อการใช้งานทางปัญญา เรียกส้ันๆ ว่า สมาธิ (3) การพัฒนาด้านปัญญา
ซึ่งการดาเนินชีวิต เป็นองค์รวมท้ัง 3 ดังนั้น ต้องอาศัยความสัมพันธ์และเช่ือมโยงถึงกันอย่างต่อเน่ือง
และแนวคิดหลกั ไตรสิกขา สามารถนามาพัฒนา 4 ด้าน คือ ภาวนา 4 การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุสู่
การดาเนินชีวิตที่ดีงามได้น้ัน หลักไตรสิกขาเพ่ือการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถนาไปพัฒนา 4 ด้าน
คือ ภาวนา 4 ประกอบด้วย กายภาวนา คือ การดูแลตนเองด้ายกายภาพ ศีลภาวนาคือ การดูแล
ตนเองด้านสัมพันธภาพกับผู้อ่ืน จิตภาวนา คือการดูแลสภาพจติ ใจตนเอง และปัญญาภาวนา คือการ
คดิ พิจารณาทุกส่ิงทุกอย่างอย่างรอบคอบ บุคคลท่ีปฏิบัติตามหลักภาวนา 4 ย่อมส่งผลให้มีความสุขดี
ตามมา เพราะเป็นการดแู ลสุขภาพแบบองคร์ วมอยา่ งแท้จรงิ

12 พระมหานิพนธ์ มหาธมฺมรกฺขิโต, และคณะ “การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผูสงู อายุดวยหลัก
จติ ภาวนา”, วารสารสถาบันวจิ ัยพิมลธรรม ปที ่ี 4 ฉบับที่ 1 ประจาเดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2560 , 100- 109.

13 พระราเชนทร์ วสิ ารโท, “บรู ณาการพุทธธรรมกับระบบการดแู ลสุขภาพระยะยาว สาหรับผู้สงู อายุ
ของอาเภอศรีวิไล จังหวัดบงึ กาฬ”วารสารมหาจฬุ าวิชาการ, 2560. ปีท่ี 4 ฉบบั ท่ี 2 76-91

14 พระสุนทรกิตติคุณ,“หลักพุทธธรรมกับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้สูงอายุ 12”วารสารมหา
จฬุ าวชิ าการ, 2559,2560 ปที ่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 :หน้า15, 13 -25. 12

141

4) เจริญ ช่วงชิต15 ทาการการศึกษาเร่ือง สมาธิในพระพุทธศาสนาเถรวาท ผล
การศึกษาพบว่า สมาธิ หมายถึง การมีจิตตั้งมั่นในอารมณ์เดียวในทางกุศล มีปัญญารู้ เข้าใจสิ่ง
ท้งั หลายตามความเปน็ จรงิ เป็นสมาธทิ ่ีควรคแู่ ก่การใช้งาน สมาธิมี 3 ระดับ คือ ขณิกสมาธิ เปน็ สมาธิ
ข้ันต้นที่คนทั่วไป อุปจารสมาธิ เป็นสมาธิข้ันระงับนิวรณ์ 5 และอัปปนาสมาธิ เป็นสมาธิ ระดับสูงสุด
สาหรับหลักการเจริญสมาธิตามหลกั พระพุทธศาสนาเถรวาทมี 2 แบบ คือ (1) สมถกรรมฐาน เป็นการ
ฝกึ อบรมจติ ให้เกิดความสงบจนตง้ั ม่ันเป็นสมาธิ และ(2)วิปัสสนากรรมฐาน เป็นข้อปฏิบัตใิ นการฝึกฝน
อบรมเจริญปัญญาให้เกิดความรแู้ จ้งในรูปนามโดยความเป็นไตรลักษณ์ การปฏิบัติสมาธจิ ึงเปน็ วิธกี าร
ท่ีจะขัดเกลาจิตใจของมนุษย์ให้ดีได้ เป้าหมายของการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาเถรวาทมี 2 อย่าง
คือ เป้าหมายหลักหรือ เป้าหมายสูงสุดของการฝึกสมาธิ คือ ความหลุดพ้น ประกอบด้วย (1) เจโต
วิมุตติ เป็นความหลุดพ้นทางจิต (2) ปัญญาวมิ ุตติ เป็นความหลุดพ้นดา้ นปัญญา โดยที่เจโตวิมุตติเป็น
ผลจากการเจริญสมถะ และปัญญาวิมุตติเป็นผลท่ีเกิดจากการเจริญวิปัสสนา และเป้าหมายรองที่ให้
ความสาคัญในเรื่อง การนาสมาธิไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาด้านต่างๆ ในชีวิตประจาวัน มีการนา
สมาธิไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับชีวิตประจาวันหลากหลายด้าน เช่น การพัฒนาด้านจิตใจ การ
พัฒนาด้านร่างกายและพฤติกรรม การพัฒนาด้านปัญญา การพัฒนาด้านสังคม โดยการพัฒนาที่ได้
ยกตวั อย่างนั้น เป็นทปี่ รากฏเป็นเชงิ ประจักษ์ตามแนวทางวิทยาศาสตรเ์ ชงิ พุทธ ท่ีได้รับการพิสูจน์แล้ว
วา่ สมาธิ นามาใชแ้ ละเป็นประโยชนต์ ่อมวลมนุษยชาตไิ ดจ้ รงิ

5) กิจจ์ศรัณย์ จันทร์โป๊16 ทาการวิจัยเรื่อง ผลของการสวดมนต์ตามแนวพุทธ
ศาสนา และการทาสมาธิแบบอานาปานสติท่ีมีต่อความเครียดของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผลการวิจัยพบว่า

5.1 หลังการทดลองของกลุ่มสวดมนต์ และกลุ่มทาสมาธิแบบอานาปานสติ
มีค่าเฉลี่ยคะแนนความเครียด ก่อนการทดลองและหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถติ ทิ ร่ี ะดับ.05

5.2 ค่าเฉล่ียของคลื่นสมองอัลฟ่า และเบต้า ภายในท้ังสองกลุ่มก่อนการ
ทดลอง ระหว่างการทดลองในนาทีท่ี 5, 10, 15, 20, 25, 30 และหลังการทดลอง แตกตา่ งกนั อยา่ งมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยคล่ืนสมองอัลฟ่าในกลุ่มสวดมนต์เริ่มแตกต่างสูงข้ึนในนาทีที่ 5-10
เปน็ ต้นไป และคล่ืนอลั ฟ่าในกลุ่มทาสมาธเิ รม่ิ แตกตา่ งสูงขน้ึ ในนาทีท่ี 0-5 เป็นต้นไป

5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.1 ระดับนโยบาย

15 เจริญ ช่วงชิต ทาการการศึกษาเร่ือง สมาธิในพระพุทธศาสนาเถรวาท พุทธศาสตรดุษฏีบัณฑิต
(พระพุทธศาสนา) บัณฑิตวทิ ยาลยั ,มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, 2557.

16 กิจจ์ศรณั ย์ จนั ทรโ์ ป๊ ผลของการสวดมนตต์ ามแนวพทุ ธศาสนา และการทาสมาธแิ บบอานาปานสติ
ที่มตี อ่ ความเครยี ดของนสิ ติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั วิทยานพิ นธ์ วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ ,2556 กรุงเทพมหานคร
: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[ออนไลน์] เข้าถึงเม่ือ 2 กุมภาพันธ์ 2561 เข้าถึงได้จาก http://thesis. grad.
chula.ac.th/current.php

142

ผลการวิจัยคร้ังนี้ ทาให้ค้นพบแนวทางการสร้างสุขภาพการแพทย์ทางเลือก ในการมีส่วน
ร่วมของชุมชนบนฐานวิถีธรรม สามารถนาไปกาหนดเป็นนโยบายเช่ือมโยง งานแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ทางเลือกเข้าสรู่ ะบบสุขภาพอยา่ งเป็นระบบสามารถผสมผสานกับการปฏบิ ัตงิ านเดิมได้ โดย
ไดร้ บั ความร่วมมอื กบั ชมุ ชนประยุกต์ใช้สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพผูส้ งู อายใุ นชมุ ชนอน่ื ทมี่ บี รบิ ทใกล้เคยี งกัน

5.3.2 ระดับปฏิบัติการ
1) รูปแบบและผลการวิจัยสามารถนาไปประยุกต์ใช้สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุใน

ชมุ ชนอ่ืนท่มี บี รบิ ทใกล้เคียงกนั
2) หน่วยงานทุกระดับสามารถจัดทาฐานข้อมูลผู้สูงอายุเพื่อประโยชน์ในการจัด

สวสั ดิการด้านสขุ ภาพและสงั คม

5.3.3 ระดับการวิจยั คร้ังตอ่ ไป

1) รูปแบบที่สงั เคราะห์ข้ึนก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อชุมชน ควรทาวิจัยเพ่ิมเพิ่มเติมใน
บริบทของครอบครวั กลุ่มสูงอายุติดเตยี ง

2) กรณีวัด/ชุมชนใดมีความเข้มแข็งในการมีส่วนร่วมด้านการส่งเสริมสุขภาพแล้ว
ควรขยายบทบาทของวดั /ชุมชนในการเยียวยาผู้สงู อายกุ ลุม่ ติดเตยี ง กลุ่มผู้ปว่ ยความดันโลหิตสงู

บรรณานุกรม

1. ภาษาบาลี - ไทย

ก. ขอ้ มูลปฐมภูมิ (Primary Sources )
มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระไตรปฎิ กภาษาบาลี ฉบับมหาจฬุ าเตปิฎกํ 2500.

กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , 2539.
________,พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรง

พมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ,2539, เล่ม 11.
_________,พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรง

พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , 2539, เล่ม 22.
_________,พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรง

พิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, 2539. เล่ม 16.

ข. ขอ้ มลู ทุติยภมู ิ (Secondary Sources)

(๑) หนังสือ

พลตรหี ลวงวจิ ิตรวาทการ,มหศั จรรย์ทางจิต,(กรงุ เทพมหานคร : เสรมิ วิทยบ์ รรณาคาร,2507),.
สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ,ตานานพระปริตร,(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ท่าพระจันทร์

2511),.
กมล สุดประเสริฐ, การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน,(กรุงเทพมหานคร :

สาํ นกั งานโครงการพัฒนามนุษย์,กระทรวงศกึ ษาธกิ าร), 2540),
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ระบบสถิติทางการลงทะเบียน,สถติ ิประชากรและบ้านจํานวน

ประประชากรจาํ แนกรายอายุ,ข้อมูล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2559
กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข, การออกกาลังกายท่ัวไปและเฉพาะโรคผู้สูงอายุ.

กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2548),..
กรมการศาสนา,ธรรมศึกษาช้ันโท ฉบับปรับปรุงใหม่ท่ีประกาศใช้ปัจจุบัน,(กรุงเทพมหานคร : โรง

พมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากดั 2550),.
กุลยา ตันติวาอาชีวะ, คู่มือผู้สูงอายุสุขภาพสูงวัย ดูแลได้ด้วยตัวเอง,(กรุงเทพมหานคร : เพชร

ประกาย, 2560), .
ขนุ สรรพกจิ โกศล (โกวทิ ปัทมะสุนทร), ผูร้ วบรวม,คู่มือการศกึ ษาพระอภธิ มั มตั ถสงั คหะปรจิ เฉทที่ 7

สมจุ จยสังคหวิภาค, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์อําพลพิทยา, 2506), .
ทิศนา แขมมณี,ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดการกระบวนการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธิภาพ

พิมพ์ครัง้ ที 5. (กรุงเทพมหานคร : สํานักพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), 2550.
ธนติ อยูโ่ พธิ์, อานภุ าพพระปรติ ต์,(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย,2537),.
นพ.ปภัสสร เจียมบุญศรี รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกสวดมนต์

และสมาธิบําบัดเพ่ือการรักษาโรค กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

144

กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พิมพ์ครั้งท่ี ๑ บริษัท วี อินด้ี ดีไซน์ จํากัด,ความ
นําเสนอ.
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ), วิปัสสนาญาณโสภณ, พิมพ์คร้ังที่ 3,(กรงุ เทพมหานคร :
ศรอี นนั ต์การพมิ พ์, 2546), .
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต),อานุภาพแห่งพระปริตร,(กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย,2548),.
มลู นิธิสถาบันวจิ ยั และพัฒนาผู้สูงอายไุ ทย (มส.ผส.), สถานการณ์ผสู้ ูงอายุ พ.ศ.2559,บทสรุปสําหรับ
ผู้บริหารและข้อเสนอแนะ,(จังหวัดนครปฐม: พรน้ิ เทอรี่ จํากัด 999 อาคารศนู ย์การเรียนรู้
ช้นั 2 มหาวทิ ยาลัยมหิดล,2559),
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยตุ โต) ตัดทอน จากหนังสอื เร่ือง “รงุ่ อรณุ ของการศกึ ษา เบกิ ฟ้า
แหง่ การพฒั นาท่ียง่ั ยืน”พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ 12 พ.ศ.
2 5 4 6 . [อ อ น ไ ล น์ ] เข้ า ถึ ง เม่ื อ 2 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 1 เข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก
http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=37
_________,พจนานุกรมพุทธศาสตน์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครงั้ ที่ 11, (กรุงเทพมหานคร : มหา
จฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , 2546), .
_________,พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ., พิมพ์ครั้งที่ 11 (กรุงเทพมหานคร : โรง
พมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , 2552), ..
_________,ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา ฉบับสองภาษา,กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เจริญดีมั่งคง
การพิมพ์, 2558),หน้า,11.
__________,ตัดทอน จากหนังสอื เรอื่ ง “รุ่งอรุณของการศกึ ษา เบกิ ฟ้าแห่งการพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื ”
_________,ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา,(ฉบับสองภาษา),กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เจริญดีม่ัง
คงการพิมพ์,2558,.
_________,พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์,(กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลัย,2546),
สุภางค์ จันทวานิช, วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ, พิมพ์คร้ังที่ 12, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ,2547),.
สุภาเพญ็ จรยิ ะเศรษฐ์, ความรู้พ้ืนฐานเกย่ี วกบั การวจิ ยั , สถาบันราชภัฏกาญจนบุรี, 2542, .

(๒) วิทยานพิ นธ์/สารนพิ นธ์/

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ (2528, หน้า 94 อ้างถึงใน ทานตะวัน อินทร์จันทร์,การมีส่วนร่วมของ
คณ ะกรรมการชุมชนย่อยในเขตเทศบาลเมืองลาพูน ,” การค้นคว้าอิสระ รัฐ
ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, (บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลยั เชียงใหม่, 2546),.

ขวัญดาว กลํ่ารัตน์, ปัจจัยเชิงสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตภูมิภาคตะวันตกของ
ประเทศไทย, วิทยานิพนธด์ ษุ ฎบี ณั ฑิต บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศิลปากร, 2554

145

คัมภีร์ สุดแท้, “การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการสาหรับโรงเรียนขนาดเล็ก,” วิทยานิพนธ์
ครุศาสตรดุษฎบี ัณฑติ สาขาการบริหารการศึกษา, (บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ
มหาสารคาม), 2553.

เจริญ ช่วงชิต ทําการการศึกษาเรื่อง สมาธิในพระพุทธศาสนาเถรวาท พุทธศาสตรดุษฏีบัณฑิต
(พระพทุ ธศาสนา) บัณฑติ วิทยาลัย,มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, 2557.

ปญั ญา ทองนิล,“รูปแบบการพฒั นาสมรรถภาพการสอนโดยการบูรณาการแบบสอดแทรก สาหรับ
นักศึกษาครเู พอื่ เสรมิ สรา้ งคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผเู้ รียน,”. วิทยานิพนธ์, ระดับ
ปริญญาเอก, (บัณฑติ วทิ ยาลัย, มหาวทิ ยาลัยศิลปากร), 2553.

ยุพาพร รูปงาม, “การมีส่วนร่วมของข้าราชการสํานักงบประมาณในการปฏิรูประบบราชการ”,
วทิ ยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบรหิ ารการพัฒนาสังคม,คณะพัฒนาสังคม.
สถาบันบณั ฑติ บรหิ ารศาสตร)์ , 2545 .

วชิราวุธ ผลบุญภิรมย์, “การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ : บ้านเก่างิ้ว ตําบล
เก่างิ้ว อําเภอพล จังหวัดขอนแก่น”,การศึกษาอิสระ,ปริญญาสาธารณสุขศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น,
2555.

วนัสรา เชาวนน์ ิยม,และคณะ, “แบบแผนการบรโิ ภคอาหาร ภาวะโภชนาการ และปัจจัยขบั เคลือ่ น
ชุมชนผู้สูงอายุสุขภาพดี” ภาควิชาพื้นฐานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยบูรพา 2557

ศรีสุดา วงศ์วิเศษกุล และคณะ, “รูปแบบการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร”,คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
J.10 (2):พฤษภาคม-สงิ หาคม 2559 ,.

สมบัติ ประจญศานต์ และคณะ, “แนวทางพัฒนาสุขภาวะด้านสังคมของผู้สูงอายุในพ้ืนที่ลํานํ้าห้วย
จระเข้มาก จังหวัดบุรีรัมย์”,วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ ปีท่ี 9
ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2557,.

สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์,ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร,ประชากรสูงอายุไทย : ปัจจุบันและอนาคต,เอกสารประมวลสถิติดา้ นสังคม
1/2558,พฤศจิกายน 2557 .(มปท.)

อรอุมา ปัญญโชติกุล, และคณะ(2557) “ผลของสมาธิบาบัด SKT ในการลดระดับความดันโลหิต
ของผู้ท่ีมารับบริการ โรงพยาบาลสิเกา จังหวัดตรัง,” วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร
จังหวัดตรงั

อริ ะวัชร์ จันทรประเสริฐ (2541 อ้างถึงใน ณรงค์ วารีชล, “การมีส่วนรว่ มของคณะกรรมการชุมชน
ยอ่ ยในเขตเทศบาลตาบลบางพระ”, ปัญหาพิเศษรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขา
การบริหารทวั่ ไป, วทิ ยาลยั การบรหิ ารรฐั กิจ มหาวทิ ยาลยั บรู พา, 2551 ),.

แอนดรูว์ และสตีเฟล (Andrew & Stiefel, 1980 อ้างถึงใน ทานตะวัน อินทร์จนั ทร์, “การมสี ่วนร่วม
ของคณะกรรมการชุมชนย่อยในเขตเทศบาลเมืองลาพูน,” การค้นคว้าอิสระ รัฐ

146

ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, (บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่, 2546), .

(๓) วารสาร

กิตติมาพร โลกาวิทย์, “ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ของผู้สูงอายุในชุมชนจังหวัด
ปทุมธานี”,วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, ปีท่ี5 ฉบับท่ี1 มกราคม – เมษายน
2556,.

เบญจพร สว่างศรี และเสริมศิริ แต่งงาม, “การดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ อาเภอสามชุก
จังหวดั สพุ รรณบุรี”, วารสาร ว.มทรส.2556, 1(2) : .

พระมหานิพนธ์ มหาธมฺมรกฺขิโต, และคณะ “การพัฒนารูปแบบการดแู ลสขุ ภาพผูสูงอายุดวยหลักจิต
ภาวนา”, วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม ปีท่ี 4 ฉบับที่ 1 ประจําเดือน มกราคม –
มถิ นุ ายน 2560 ,.

พระราเชนทร์ วิสารโท, “บูรณาการพุทธธรรมกับระบบการดูแลสุขภาพระยะยาว สําหรับผู้สูงอายุ
ของอําเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ” วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 2560. ปีท่ี 4 ฉบับท่ี 2
76-91

พระสนุ ทรกติ ติคุณ, “หลักพุทธธรรมกับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้สูงอายุ 12” วารสารมหา
จุฬาวิชาการ, 2559,2560 ปที ่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 :

(๔) สอ่ื อิเล็กโทรนกิ ส์

กจิ จ์ศรณั ย์ จนั ทร์โป๊ ผลของการสวดมนต์ตามแนวพุทธศาสนา และการทําสมาธิแบบอานาปานสติที่
มีต่อความเครียดของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร
มหาบัณฑติ ,2556 กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.[ออนไลน์] เข้าถงึ เม่อื 12
กุมภาพนั ธ์ 2561เขา้ ถงึ ได้จาก http://hthesis. grad. chula.ac.th/

จอนห์ และอฟั ฮอฟ (Jonh & Uphoff, 1980 อ้างถงึ ใน ทานตะวัน อินทร์จันทร์, 2546.
จุรีวรรณ มณีแสง และคณะ, ประสิทธิผลของการสร้างเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมต่อสุขภาพ

ผู้สูงอายุจังหวัดปทุมธานี, [ออนไลน์] เข้าถึงเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2561 เข้าถึงได้จาก
www.western.ac.th/media/attachments/elderly2
สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยตุ โต) ตัดทอน จากหนังสอื เร่ือง “รงุ่ อรุณของการศึกษา เบกิ ฟ้า
แหง่ การพัฒนาท่ียัง่ ยืน”พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพค์ ร้ังท่ี 12 พ.ศ.
2 5 4 6 . [อ อ น ไล น์ ] เข้ า ถึ ง เม่ื อ 2 2 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 1 เข้ า ถึ ง ได้ จ า ก
http://www.84000.org/tipitaka
__________,พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งท่ี 12 พ.ศ.2546. [ออนไลน์]
เข้าถึงเม่ือ 2 กุมภาพันธ์ 2561 [ออนไลน์] เข้าถึงเม่ือ 2 กุมภาพันธ์ 2561 เข้าถึงได้จาก
http://www. 84000.org/tipitaka.
สุขภาพจิต/ศาสนา › อิทธิบาท 4 และแนวทางปฏิบัติ, [ออนไลน์] เข้าถึงเมื่อ 11 เมษายน 2561
เข้าถงึ ไดจ้ าก thaihealthlife.com ›

147

ยุพาพร รูปงาม, การมีส่วนร่วมของข้าราชการสํานักงบประมาณในการปฏิรูประบบราชการ,
วทิ ยานพิ นธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการพัฒนาสังคม,คณะพัฒนาสังคม.
สถาบนั บณั ฑติ บริหารศาสตร)์ , 2545.

Matakee, ประโยชน์ของสมาธิ. (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ 12 มกราคม 2561 เข้าถึงได้จาก
http://www.hindumeeting. com/ forum/index

Bloom, B.S.,Toxonomy of Education Objective : Handbook 1: Conitive domain,New
York : Devid MCI.1968.

148

ภาคผนวก

149

ภาคผนวก ก

บทความทางวชิ าการ

150

บทความวชิ าการ

การพัฒนารูปแบบการดแู ลสขุ ภาพของผสู้ ูงอายุดว้ ยหลักพทุ ธธรรม
: วดั สคุ นธาราม อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

The Development of Model Health Care of The Elderly
With Principles in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric

Pranakhornsriayuthaya Province

บทคดั ยอ่

การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1)วิเคราะห์
สถานการณ์สภาพการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 2) การประเมนิ รปู แบบและ 3)การพัฒนารปู แบบการดูแล
สุขภาพผสู้ ูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ดําเนินการ เป็น 4 ระยะ คอื 1)ระยะตรยี มการ ทาํ การเก็บข้อมูล
ด้วยแบบประเมินคัดกรอง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลท่ัวไป
แบบประเมินความรู้และการปฏิบัติตัว และข้อคิดเห็นการดูแลสุขภาพตนเอง กลุ่มท่ีใช้ในการวิจัย
เลือกด้วยความสมัครใจ มี 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่เข้าร่วมกิจกรรมการวางแผนแบบมีสาวนร่วมได้แก่
ตัวแทนผ้นู ําชุมชน ข้าราชการสาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุข จาํ นวน 12 คน กลุ่มผู้สูงอายุที่
เปน็ กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 25 คน วเิ คราะหข์ ้อมูลด้ายคา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2)
ระยะดาเนินการ ใช้รูปแบบการสนทนากลุ่ม จัดประชุมโดยประยุกต์กระบวนการวางแผนแบบมีส่วน
ร่วม ดําเนินการวิเคราะห์เน้ือหาเพื่อสร้างรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม 3)
ระยะประเมินผล ประเมนิ รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม และ 4)ระยะสรุปผล
เป็นการพัฒนารูปแบบด้วยการเปรียบเทียบข้อมูลระดับความรู้และการฝึกปฏิบัติก่อนและหลังการ
ปรับปรงุ รูปแบบ วเิ คราะหห์ าค่าดว้ ยสถติ ิ Paired t-test กาํ หนดนัยสาํ คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ 0.05

ผลการวจิ ยั พบว่า กลุ่มตวั อยา่ งส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ มากกว่าเพศชาย มีอายเุ ฉล่ีย 64.9 ปี
มสี ถานภาพสมรส(คู่) สําเร็จการศึกษาระดบั ชนั้ ประถมศึกษา มีอาชีพหลักทางการเกษตร มรี ายไดด้ ้วย
ตนเองตง้ั แต่ 4,001 บาทข้ึนไป มีผู้อยู่อาศยั ร่วมในครอบครัว 1-3 คน ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง มี
การออกกําลังกายด้วยการเดินเร็ว ใช้เวลา 20 – 30 นาที และส่วนใหญ่ไม่สูบบุหร่ี ไม่ดื่มเครื่องด่ืม
แอลกอฮอล์ สภาพการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุ พบว่า ป่วยเป็นโรคเรื้อรังด้านความดันโลหิตสูงร้อยละ
27.91 ป่วยไขมันในเลือดสูงคิดร้อยละ 25.58 ป่วยด้านเบาหวานร้อยละ 12.09 ส่วนใหญ่มี
ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันสามารถปฏิบัติด้วยตนเองได้ มีอาการปวดข้อเล็กน้อย
ขณะยืนลงนํ้าหนัก และมีสุขภาพจิตเท่ากับคนทั่วไป ปัญหา อุปสรรค พบว่า มีปัญหาด้านการ
คมนาคม ขาดความรู้และข้อมูลข่าวสาร ขาดการรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ ขาดการออก
กําลังกายที่เหมาะสม ขาดการร่วมกิจกรรมทางสังคม ขาดการเยี่ยมบ้านจากเจ้าหน้าที่ ขาดโอกาสใน
การท่องเท่ียงพักผ่อนหย่อนใจ หลังจากการเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนารูปแบบ เมื่อเปรียบเทียบด้าน
ความรู้ พบว่า หลังการพัฒนารูปแบบมีความรู้มากกว่าก่อนการพัฒนารูปแบบร้อยละ 9.70 ด้านการ

151

ปฏิบตั ิ พบวา่ หลงั การพัฒนารูปแบบมีการปฏิบตั ติ นเองมากกวา่ ก่อนการพัฒนารูปแบบร้อยละ 14.20
ซ่ึงมีระดับความรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นการดูแลอนามัยส่วนบุคคล
และการป้องกันโรค “ไม่แตกต่างกัน” p – value > .05 และระดับการฝึกปฏิบัติ แตกต่างกัน ทุก
ดา้ น อย่างมีนัยสาํ คัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05 และผลการตรวจเลอื ด(ชีวะเคมี) โดยรวมมสี ขุ ภาวะดขี ึ้น

จะเห็นได้ว่า รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่นําหลักพุทธธรรมมาบูรณาการให้
สอดคลอ้ งกับวิถีชุมชน สง่ ผลให้ผสู้ งู อายุมคี วามรู้ และมีการปฏิบัติกจิ กรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง
ร้จู ักวิธกี ารป้องกันโรคได้อยา่ งต่อเนอื่ ง ซึง่ สง่ ผลใหผ้ สู้ ูงอายุมีสุขภาพและคณุ ภาพชีวิตท่ีดขี ้นึ

คาสาคัญ: การพฒั นา, รปู แบบ การดูแลสขุ ภาพ ผ้สู ูงอายุ หลักพุทธธรรม :

Abstract

This research is a particular experimental research. The purpose of this
Point is mentioned for 1) The situation analysis and the condition of elderly health
care 2) Assessment and 3) development of the elderly health care model with the
principle of Buddha Dhamma. There are divided for 4 periods of time 1) Preparation
periods. The information data are collected with a screening test and to be involved
with tools & equipment are composing with General information interview plus
knowledge, practicing assessment form and doing my self-care with research group in
Voluntary selection There are purposed in two groups as following as; first group that
participates in planning activities, including Community leaders Public Health Official
and 12 public health volunteers. There are a number of 25 elderly people in the
sample group, thread data analysis, percentage, mean, and standard deviation, 2)
Operation periods. We are using the group chat for arrange and organize in the
meetings by applying participatory planning processes. To conduct an analysis for
elderly health care with the principle of Buddhism. 3) Assessment periods.
Assessment of elderly people health care with Buddhist principles and 4) Summary
periods. The development of the model by comparing with the knowledge and
practicing before and after. An Analysis of values with Paired t-test level 0.05 statistic.

The research has found and the report of the samples are female more
than males, with an average age of 64.9 years, marital status (couple), primary school
graduation. There have a major agricultural career, earn income starts from 4,001
baht or more than that. There are a number of 1-3 residents in the family who have
got a patients with high blood pressure, there is a fast walking exercise that takes 20 -
30 minutes. They actually do not smoke, not consume any alcohol The health

152

condition of the elderly found that 27.91 percent has chronic diseases in
hypertension, high blood cholesterol, 25.58 percent, 12.09 percent of diabetes
mellitus. There is a slight pain when standing down to weight and having mental
health equal to the general population. Lack of knowledge and information,
beneficial food, proper exercise, social activities, visits home from staff and also lack
of opportunities to surf & relax. After participating in the theme development
activities they are comparing with some knowledge. It has found that after the
development of the model, having some more knowledge than before the
development of the 9.70 percent in practicing, it is found that after the development
of the self-practice than before the development of 14.20 percent. There are some
different knowledge significantly at the level of .05, except for personal health care.
The disease prevention it make "No difference" p - value> .05 and different practicing
levels in all aspects with statistical significance at the level of .05 and overall blood
test results (biochemistry), all totally the healthy is getting more better and stronger.

It could be seen that the elderly health care model are integrates with the
Buddha Dharma principle to be integrated with the community's way. Impact of
knowledge of the elder, having their own health care activities. Know how to prevent
disease continuously, the results of healthy care is better and get a quality of life for
the elderly.

Keywords : Development , Model, Health Care, Elderly, Principles in Buddhists

บทนา

สถานการณ์สูงวัยของประชากรไทยในรอบสิบปีท่ีผ่านมา จากรายงานสถานการณ์
ผสู้ งู อายุไทยพบว่า ประชากรไทยเพ่ิมขึ้นขา้ ลงอย่างมากเมอ่ื 50 ปีกอ่ น เคยเพ่ิมด้วยอัตราสูงอย่างรอ้ ย
ละ 3 ต่อปี แต่ปัจจุบันลดตํ่าเหลือเพียงร้อยละ 0.5 ต่อปี อัตราการเพิ่มประชากรลดช้าลงอย่างมาก
ในขณะที่ประชากรสูงอายุกลับเพิ่มด้วยอัตราเร็วขึ้น เมื่อปี 2503 ประเทศไทยมีประชากรอายุ 60 ปี
ขึน้ ไปเพียง 1 ลา้ นคนหรือร้อยละ 4 ของประชากรจาํ นวน 26 ล้านคน จนถึงปี 2559 มปี ระชากรอายุ
60 ปีขึ้นไป มีจํานวน 11 ล้านคนหรือร้อยละ 16.5 ของประชากร 65.9 ล้านคน และคาดประมาณว่า
ในปี 2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่ “สงั คมผสู้ งู อายอุ ยา่ งสมบรู ณ์”1

ประเทศไทยจําเป็นต้องเตรยี มตวั รบั มือกับสถานการณ์ประชากรสูงวยั อย่างรวดเร็ว การมี
สัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุมากข้ึนจะเป็นการเพิ่มภาระของรัฐ สังคม ชุมชน และครอบครัวท่ีต้อง
คอยดูแลสุขภาพ ค่าใช้จ่ายในการยังชีพ รวมท้ังสถานท่ีอยู่อาศัยให้เหมาะสมกับผู้สูงวัย ดังนั้นจึง

1 มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.), สถานการณ์ผู้สูงอายุ พ.ศ.2559,บทสรุป
สําหรับผู้บริหารและข้อเสนอแนะ,(จังหวัดนครปฐม: พร้ินเทอร่ี จํากัด 999 อาคารศูนย์การเรียนรู้ ชั้น 2
มหาวทิ ยาลัยมหิดล,2559, หน้า 4.

153

จําเป็นต้องเตรียมพร้อมด้านการระดมทรัพยากร พัฒนารูปแบบและระบบต่างๆในการให้บริการด้าน
สขุ ภาพอย่างเท่าเทียมกันแก่ผ้สู ูงอายทุ ่ีจะเพ่มิ จํานวนขึ้นอกี มากในปี 2565 และปี 2574 การมีอายุอยู่
ยืนยาวขึ้นไม่ได้เป็นสิ่งท่ีบ่งช้ีว่า ผู้สูงอายุจะอยู่ในภาวะอยู่ดีมีสุขหรือสุขภาพชีวิตท่ีดีในบ้ันปลายของ
ชีวติ ทกุ คน จากรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายไุ ทย ปี 2559 รายงานว่า “ผสู้ ูงอายจุ ํานวนมากอาจจัดอยู่
ในภาวะเปราะบาง หน่ึงในสามของผู้สูงอายุมีรายได้ต่ํากว่าเส้นความยากจน บุตรซ่ึงเคยเป็นแหล่ง
รายได้หลักสําคัญของผู้สูงอายุมีสัดส่วนลดลง ร้อยละของผู้สูงอายุท่ีอยู่ตามลําพังคนเดียวหรืออยู่กับ
ผู้สูงอายุด้วยกันตามลําพังมีแนวโน้มสูงขึ้น จํานวนผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพ่ึงพิงประมาณ 4 แสนคน
เป็นโรคสมองเส่ือมประมาณ 6 แสนคน ผู้สูงอายุท่ีอยู่ในเขตเมืองและชนบทท่ีมีสถานภาพทาง
เศรษฐกิจต่างกันยังมีความเหล่ือมล้ําในการเข้าถึงบริการสุขภาพอนามัย ซึ่งเกิดจากข้อกําจัดในการ
เดินทาง2

สขุ ภาพผ้สู ูงอายขุ องไทยมแี นวโน้มเส่ือมถอยหลายดา้ นพรอ้ ม ๆ กัน ส่วนหน่ึงอาจเกิดจาก
ความจํากัดในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยเฉพาะอย่างย่ิงครัวเรือนที่ผู้สูงอายุอาศัยโดยลําพัง และ/
หรือประสบความยากลําบากในการเดินทาง และความจริงเป็นที่ยอมรับทั่งโลกคือ ระบบบริการ
สุขภาพของไทยและทั้งโลกถนัดในการดูแลภาวะเฉียบพลัน ในด้านความเท่าเทียมกันในการเข้าถึง
บริการของผู้สูงอายุพบว่า ครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุอาศัยอยู่ตามลําพังเพิ่มสูงขึ้น ผู้สูงอายุในครัวเรือน
เหล่าน้ีเข้าถึงบริการได้น้อยกว่าผู้สูงอายุในครัวเรือนที่มีญาติหรือผู้ดูแลอยู่ด้วย รวมทั้งการเข้าถึง
บริการขนสง่ โดยสารสาธารณะทีต่ อ้ งมีคา่ ใชจ้ ่ายเพม่ิ สูงขนึ้ 3 ซ่งึ สอดคล้องกบั บริบทของผูส้ ูงอายุในหมู่ที่
2 และหมู่ท่ี 3 ที่มีถ่ินฐานอยู่ในชนบท และอาศัยอยู่ตามลําพังคนเดียวมีอัตราส่วนเพ่ิมมากขึ้น
สถานการณท์ างเศรษฐกิจมีอาชพี ทําการเกษตร มรี ายได้ตํา่ กว่าเสน้ ความยากจน แหล่งรายได้หลักจาก
บุตรลดลงอย่างต่อเนื่อง และส่วนใหญ่ผู้สูงอายุยังทํางานอยู่ การขาดแคลนการบริการรถโดยสารใน
พนื้ ทีแ่ ห่งน้จี ึงมคี วามรนุ แรงมากกว่าในเขตอ่นื ๆ

วดั สุคนธาราม ตาํ บลเทพมงคล อําเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นองค์กรการ
กุศลทางด้านพระพุทธศาสนาประเภทนิติบุคคล มีความตระหนักถึงสถานการณ์ผู้สูงวัยที่มีความ
แตกต่างระหว่างผู้ป่วยสูงอายุกับผู้ป่วยผู้ใหญ่ท่ัวไป จึงมีความพยายามร่วมกับองค์กรต่าง ๆ ทั้งบ้าน
โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจําตําบล อาสาสมัคร กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้แทนจาก
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น วางแผนการดูแลผู้สูงอายุ(Healthy aging) แบบบูรณาการทั้งในด้าน
สขุ ภาพ กาย จติ ใจ สังคม สามารถพึ่งตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตท่ีดีตามศักยภาพ และมีการปรับตัวจาก
วยั หนึ่งสู่วัยหนึ่งอย่างราบรื่น ให้เป็นไปตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 – 2564) ท่ีมุ่ง
ให้ “ผู้สูงวัยเป็นหลกั ชัยของสงั คม”4 จะม่งุ สร้างสงั คมเพอ่ื คนทกุ วัยไดเ้ ตรียมพรอ้ มและไดป้ ระโยชน์
เต็มตามศักยภาพทางกาย จิต ปัญญา และเป็นสังคมที่ส่งเสริมและยอมรับผู้สูงอายุให้มีบทบาททาง
เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ชุมชน และครอบครัว เก้ือกูลตอ่ ความผกู พันระหว่างคนต่างวยั เปน็ สงั คม

ท่ีผู้สูงอายุดํารงชีพอย่างเท่าเทียม สมศักด์ิศรี เต็มความภาคภูมิใจ เป็นอิสระ มีส่วนร่วม
และได้รับการดูแลทุกที่ทุกโอกาส จึงร่วมกับคณะผู้วิจัยทําวิจัยซึ่งได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก

2 มูลนธิ สิ ถาบนั วจิ ัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.), สถานการณ์ผสู้ ูงอายุ พ.ศ.2559,หน้า 3-4.
3 เรือ่ งเดียวกนั ,หน้า 55-56
4 เรือ่ งเดียวกนั ,หนา้ 55-56

154

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย แสวงหาทางเลือก “การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพ
ของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม” เพราะหลักพุทธธรรมสามารถบูรณาการกับหลักการแพทย์แผน
ปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะหลักคําสอนของพระพุทธศาสนาสามารถพัฒนาจิตใจให้มีพลัง
ในการสร้างความสมดุล หรือสมตา5 คือความสมดุลหรือความพอดีกันระหว่างองค์ประกอบที่เรียกว่า
อนิ ทรยี ์ทั้ง 5 คือศรทั ธา วิริยะ สติ สมาธิและปัญญา ควบคุมอารมณ์ทพ่ี ึงปรารถนาและอารมณท์ ่ีไมพ่ ึง
ปรารถนาให้อยู่ในปรมิ าณที่พอเหมาะได้ ประกอบกับชุมชนแห่งน้ีมีรากเหง้ากุศลศรัทธาในพุทธธรรม
มายาวนาน ซ่ึงเป็นค่านิยมและพฤติกรรมดีของชุมชน ส่วนใหญ่นิยมทําบุญทําทาน มีความสุภาพ
อ่อนโยน รักสันติ มีความกตัญญูต่อบิดามารดา ครูอาจารย์ รักความเป็นอิสระ วิถีธรรมแห่งชีวิตจึงมี
ความสําคัญต่อชุมชนในฐานะเป็นรากฐานความรู้ ความเช่ือ มั่นคงในพระพุทธศาสนา การพัฒนา
ทางเลือกในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี ดังพุทธศาสนสุภาษิตท่ีว่า “ธมฺมจารี สุขํ เสติ”
แปลความว่า “ผู้ประพฤติธรรม ย่อมอยู่เปน็ สขุ ”6 นั้นเป็นการยืนยันว่าการปฏิบัตธิ รรมอย่างสม่าํ เสมอ
และตอ่ เนอื่ งจะชว่ ยเสรมิ สรา้ งพฒั นาการทางสขุ ภาพกาย ใจ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย

1. เพ่ือวิเคราะห์สถานการณ์ผู้สูงอายุ และสภาพการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุของชุมชน
วัดสคุ นธาราม ตําบลเทพมงคล อาํ เภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

2. เพื่อประเมินรูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ของวัดสุคน
ธาราม ตาํ บลเทพมงคล อําเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

3. เพ่ือพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักธรรม ของวัดสุคนธาราม
ตาํ บลเทพมงคล อาํ เภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

วิธีดาเนินการวจิ ยั

การวจิ ัยครง้ั น้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research-
PAR) ผสมผสานกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการบนฐานของหลักพุทธธรรม (Principles in Buddhists
based Action Research-BAR) อยู่บนฐานข้อมูลและวิถีชีวิตของผู้สูงอายุเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต
ประกอบด้วย 4 มิติ คอื กาย สังคม(ศลี ) ใจ และปญั ญา แบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ

1. ระยะเตรยี มการ (Pre Research Phase) มีรายละเอยี ด ดงั นี้
ในสัปดาห์ท่ี 1-3 รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของชุมชน ประสานงาน สร้างสัมพันธภาพ
ผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นําชุมชน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตําบลเทพมงคล ตัวแทน
เจ้าหน้าทอี่ งคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลเทพมงคล ตัวแทนเจ้าหนา้ ท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลเทพ
มงคล ที่มีความยินดีและสมัครใจเข้าร่วมโครงการ วิเคราะห์สุขภาวะปัจจุบัน บันทึกข้อมูลส่วนบุคคล
ทาํ ใบยินยอม สมั ภาษณ์ และทาํ การคดั กรอง

5 สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์(ป.อ.ปยุตฺโต)ลกั ษณะแห่งพระพุทธศาสนาฉบบั สองภาษา,(กรุงเทพมหา
นคร : โรงพมิ พเ์ จรญิ ดีมั่งคงการพิมพ,์ 2558),หน้า,11

6 ข.ุ ธ. (ไทย) 25/37/38.

155

2. ระยะดาเนินการ (Research Phase) ในสัปดาห์ที่ 4 จัดประชุมแบ่งกลุ่มสนทนา
ออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มตัวแทนผู้นําชุมชน และกลุ่มตัวแทนหน่วยงานราชการท่ี
เก่ียวข้อง โดยกระบวนการมีส่วนร่วม AIC ศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหา สะท้อนข้อมูลสภาพ
ปัจจุบันของผู้สูงอายุ บริบทของชุมชน และร่วมแสวงหาแนวทางแก้ไขและพัฒนารูปแบบการดูแล
สุขภาพให้ตรงกับความต้องการของผู้สูงอายุและสอดคล้องกับสภาพของชุมชน กําหนดกิจกรรมฝึก
ปฏิบัติให้ครอบคลุมท้ัง 4 มิติ คือ กาย สังคม ใจ และปัญญา จัดทํา(ร่าง)รูปแบบการดูแลสุขภาพของ
ผู้สูงอายดุ ว้ ยหลักพทุ ธธรรมนําเสนอในทป่ี ระชุมของภาคเี ครือขา่ ยและกลุม่ ตัวอย่างรว่ มกนั พิจารณา

ในสัปดาห์ที่ 4- 5 สรุปและนําเสนอผลจากกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม นําเสนอ
สุขภาวะในภาพรวมให้กลุ่มผู้สงอายุรับฟังเพ่ือให้เกิดความตระหนัก รับรู้สุขภาวะโดยรวมของกลุ่ม
ตัวอยา่ ง ให้ความรใู้ นการดแู ลสุขภาพของผู้สงู อายุ ความรู้เรือ่ งหลักพุทธธรรม ได้แก่ พละ 5 อิทธิบาท
4 และภาวนา 4 แนะนําแนวทางการฝึกปฏิบัติทั้ง สมถะกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน นําเสนอ
ภาพวีดิทัศน์ เรื่องการฝึกสมาธิบําบัด k1- k5 นําเสนอ(ร่าง)รูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย
หลกั พทุ ธธรรม เพอื่ ให้ท่ปี ระชุมพจิ ารณา

ในสัปดาห์ท่ี 6 – 7 นําแบบสัมภาษณ์ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจาก
ผูเ้ ช่ียวชาญ พร้อมกับรูปแบบการพัฒนาการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ไปทดลองใช้กับผู้สูงอายุที่ไม่ใช่
กลุ่มตัวอย่าง ทําการสัมภาษณ์ ทําการฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามตารางเป็นเวลา 2 สัปดาห์ ทําการ
ประเมนิ เคร่ืองมือดว้ ยการหาค่าความเชื่อมนั่ ของเคร่ืองมือ แล้วนําไปใชก้ ับกลมุ่ ตวั อย่างต่อไป

ในสัปดาห์ที่ 8 – สัปดาห์ที่ 20 นาํ รูปแบบการดแู ลสขุ ภาพของผสู้ ูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม
ไปใช้กบั กล่มุ ตัวอยา่ งให้ปฏิบตั ติ ามตารางกจิ กรรม

3. ระยะประเมนิ ผล (Evaluation Phase)

ในสัปดาห์ท่ี 20 ทําการประเมินผลรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม
ครงั้ ที่ 1 ด้วยแบบประเมินระดับความรู้ และแบบประเมินระดับผลฝึกปฏิบัติตามหลัก กายภาวนา ศีล
ภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา สมั ภาษณ์กลุ่มตัวอยา่ ง รวบรวมข้อมูลและข้อเสนอแนะ ปัญหา
อุปสรรค ดาํ เนนิ การทบทวนและปรับปรุงตารางการปฏิบัติกจิ กรรม แลว้ ดําเนินการพัฒนารปู แบบการ
ดแู ลสขุ ภาพผ้สู งู อายดุ ้วยหลักพทุ ธธรรมให้สอดคล้องกับบริบทของขมุ ขน และศักยภาพของผูส้ งู อายุ

ในสัปดาห์ท่ี 21- 43 กลุ่มตัวอย่างลงมอื ปฏบิ ัตติ ามกจิ กรรมทม่ี กี ารปรับปรุง
ในสัปดาห์ที่ 33 ทําการตรวจประเมินผลสุขภาวะร่างกาย(ปฏิบัติการชีวะเคมี การเจาะ
เลอื ดที่ปลายนิว้ ครง้ั ที่ 1)
ในสปั ดาห์ที่ 43 ทําการประเมนิ ผลตามแบบประเมนิ ระดับความรู้ และแบบประเมนิ ระดับ
ฝึกปฏิบัติระยะที่ 2 และการตรวจประเมินผลสุขภาวะร่างกาย(ปฏิบัติการชีวะเคมี การเจาะเลือดท่ี
ปลายน้วิ คร้งั ท่ี 2)

4. ระยะสรปุ ผล (Conclusion Phase) มีรายละเอียด ดังนี้

จัดประชุมปิดโครงการวิจัย รายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ รายงานผลสุข
ภาวะของกลุ่มตวั อย่างในภาพรวม ข้อคิดเห็นและเสนอแนะจากทุกกลุ่มท่ีร่วมเป็นภาคีจัดกิจกรรมฝึก
ปฏิบัติใน 4 มิติ คือกายภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา เพื่อถอดเป็นบทเรียนนํามา

156

เป็นแนวทางในการพฒั นารูปแบบการดแู ลสขุ ภาพของผู้สงู อายดุ ้วยหลกั พุทธธรรม แลว้ จัดทําเป็นคูม่ ือ
การดูแลสขุ ภาพผสู้ ูงอายุดว้ ยหลกั พทุ ธธรรม ต่อไป

ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง

ประชากรที่อาศัยอยู่ในหมู่ท่ี 2 และหมู่ท่ี 3 ตําบลเทพมงคล อําเภอบางซ้าย จังหวัด
พระนครศรีอยุธยาจํานวน 1,149 คน เป็นผู้สูงอายุ จํานวน 215 คน คิดเป็นร้อยละ 19.1 ของ
ประชากรทัง้ หมด แบง่ เป็น 2 กลมุ่

1) กลุ่มผู้สูงอายุ ท่ีมีความยินดีเข้าร่วมในโครงการวิจัยซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 25
คน

2) กลุ่มตัวแทนแกนนําชุมชนและตัวแทนองค์กรต่างๆที่มีความยินดีเข้ามาประชุม
วางแผนแบบมสี ว่ นรว่ ม จาํ นวน 12 คน

เคร่ืองมือการวิจัย

เคร่ืองมือการวิจัยอาศัยรูปแบบเคร่ืองมือของ วชิราวุธ ผลบุญภิรมย์7 c]tขวัญดาว กลํ่า
รัตน์นํามาคัดเลือกประเด็นคําถามที่ตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผนวกกับการทบทวนวรรณกรรม
เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องตามกรอบแนวคิดของการวิจัย สร้างเป็นแบบสัมภาษณ์ท้ัง 3 กลุ่ม มี
จํานวน 5 ชุด ทาํ การสัมภาษณโ์ ดยผู้วจิ ัย และผชู้ ่วยวจิ ัย อาสาสมัครสาธารณะสขุ ท่ีผ่านการอบรมแล้ว
ประกอบดว้ ย

ชุดท่ี 1 ใช้สัมภาษณ์ผู้สูงอายุท่ีสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย มีท้ังหมด 4 ส่วน คือ ข้อมูล
ทั่วไป แบบประเมินความรู้ และการฝึกปฏิบัติตัวในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
ดว้ ยหลักพุทธธรรม และคาํ ถามปลายเปิด

ชุดท่ี 2 -3 ใช้สัมภาษณ์ผู้สูงอายุท่ีสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย ในการสนทนากลุ่ม (Group
Discussion Guideline) สําหรับผู้สูงอายุก่อน - หลังการปรับปรุงรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ดว้ ยหลกั พุทธธรรม

ชุดท่ี 4-5 ใช้สัมภาษณ์อาสาสมัคร ผู้นําชุมชนและ ผู้แทนองค์กรภาครัฐ ในการสนทนา
กลุ่ม (Group Discussion Guideline) สําหรับตัวแทนผู้นําชุมชนและตัวแทนหน่วยงานราชการที่
เกย่ี วข้อง กอ่ น-หลังการปรบั ปรุงรปู แบบการดูแลสุขภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยหลักพุทธธรรม

การตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมอื การวจิ ยั แบง่ เปน็ 2 ส่วน

1) การวิเคราะห์หาคุณภาพเครื่องมือ ในเรื่องเกี่ยวกับความรู้ ตรวจสอบคุณภาพ
เคร่อื งมอื โดยแบง่ การวเิ คราะหห์ าคุณภาพเคร่ืองมอื ดังนี้

(1) แบบวัดความรู้รายขอ้ หาคา่ ความยาก (P) ได้ค่าความยากอยู่ระหวา่ ง0.2-0.8
(2) แบบวัดความรู้รายขอ้ หาอํานาจจาํ แนก(r) ไดค้ า่ อํานาจ 0.2 ข้ึนไป

7วชิราวุธ ผลบญุ ภริ มย,์ การพัฒนาศกั ยภาพการดแู ลสุขภาพตนเองของผู้สงู อายุ : บา้ นเกา่ งิว้ ตาํ บลเกา่
งิ้ว อําเภอพล จังหวัดขอนแก่น,การศึกษาอสิ ระ,ปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหาร
สาธารณสุข บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกน่ , 2555.

157

(3) แบบวัดความรู้ทงั้ หมด หาค่าความเชื่อม่ัน (Reliability) ด้วยวิธกี ารของ Kuder
แบ่งเป็นแบบวัดความรู้ทั้งหมด หาค่าความเชื่อมั่น โดยการใช้สูตร KR-20 ในกรณีเครื่องมือเป็นแบบ
ให้คะแนน 0-1 คือ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน หาค่าที่ยอมรับหรือเช่ือถือได้ และได้
ค่าสมั ประสทิ ธต์ิ ัง้ แต่ 0.87

2) การวิเคราะห์หาคุณภาพเครื่องมือในเร่ืองเก่ียวกับการฝึกปฏิบัติ วิเคราะห์หาความ
เชอ่ื มนั่ ดว้ ยวธิ ีการของคอนบราช (Conbrach’s Method) โดยการหาคา่ สัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha
Coefficient) ได้ค่าสมั ประสิทธ์ิตงั้ แต่ 0.83

การวเิ คราะห์ข้อมลู แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด
1) ข้อมูลเชงิ ปริมาณ

(1) ข้อมูลท่ัวไปของกลุ่มตัวอยา่ ง ใช้สถิติพรรณนา นําเสนอในรปู ของตาราง แจก
แจงความถี่ หาคา่ รอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน คา่ ตา่ํ สุด – คา่ สูงสุด

(2) ข้อมูลระดับความรู้ และการฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย
หลักพุทธธรรม แปลผลเป็นค่าคะแนนและเปรียบเทียบความแตกต่าง คะแนนเฉล่ียก่อนและหลังการ
ปรับปรุงรูปแบบ ใช้สถิติ Paired t-test และอาศัยข้อมูลการตรวจสุขภาพผู้สูงอายุจากแพทย์
ผูเ้ ช่ยี วชาญ

2) ข้อมลู เชงิ คณุ ภาพ
เป็นข้อมูลที่ได้จากการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เจาะลึกและการสังเกตพฤติกรรมการมี
ส่วนร่วม นํามาแยกเป็นหมวดหมู่ตามประเด็นปัญหา จากน้ันทําการตีความหมายของข้อมูลที่ได้ตาม
การรับรู้ของผู้ให้ข้อมูล ทําการวิเคราะห์จากเนื้อหาของข้อมูล (Content Analysis) สรุปเช่ือมโยง
ความสัมพันธแ์ ละเหตผุ ลในประเด็นปัญหาท่วี จิ ยั

ตารางรปู ภาพท่ี 1 แสดงรปู แบบการวิจยั เชงิ ทดลอง 158
Input Treatment/process Out-put

ผู้สงู อายุ ท่ีมอี ายุ การดูแลสขุ ภาพ หลักพุทธธรรม ผสู้ ูงอายุ ท่มี ีอายุ
60-69 ปี จาํ นวน ผสู้ งู อายุ 60-69 ปีจํานวน

25 คน 25 คน

สภาวะสขุ ภาพ 1. การรบั ประทาน 1. พละ 5 สภาวะสุขภาพ
ผ้สู งู อายุ ด้าน อาหารที่มีประโยชน์ 2 อทิ ธิบาท 4. ผ้สู งู อายุ ดที ัง้ ดา้ น
และเหมาะสม - ร่างกาย
-ร่างกาย 2. ออกกําลังกาย 3. ภาวนา 4 - สงั คม
- จิตใจ เหมาะสม - จติ ใจ
- สงั คม 3. ทาํ จิตใจให้สดชนื่ - ปญั ญา
- ปญั ญา เบกิ บาน
4. นันทนาการและ
งานอดิเรก
5. ดูแลสขุ ภาพชอ่ ง

ปากถูกต้อง

Pre-test Post-test

ผลการวิจัย

1. พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉล่ีย 64.9 ปี มีสถานภาพสมรส(คู่) จบ

การศึกษาระดับช้ันประถมศึกษา ร้อยละ 84.0 ประกอบอาชีพหลักทางการเกษตร มีรายได้ต้ังแต่
4,001 บาทขึ้นไป รายได้ส่วนใหญ่ได้จากตนเอง มีจํานวนผู้อยู่อาศัยในครอบครัว 1-3 คน มีโรค
ประจําตัวป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง มีการออกกําลังกายใช้วิธีการเดินเร็ว ใช้ระยะเวลา 20 – 30
นาที และไม่สูบบุหร่ี ไม่ดมื่ เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์

159

2. ผลการจัดประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ่วนร่วมและการศกึ ษาเอกสาร พบว่า

1) มีผู้สูงอายุป่วยเป็นโรคเร้ือรังด้านความดันโลหิตสูงร้อยละ 27.91 ป่วยไขมันใน
เลือดสูงรอ้ ยละ 25.58 ปว่ ยดา้ นเบาหวานรอ้ ยละ 12.09

2) ผลการคัดกรองสุขภาพ พบว่า ส่วนใหญ่มีความสามารถในการประกอบกิจวัตร
ประจําวันสามารถปฏิบัติด้วยตนเองได้ มีอาการปวดข้อเล็กน้อยขณะยืนลงน้ําหนัก และมีสุขภาพจิต
เทา่ กับคนท่วั ไป

3) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ในหมู่บ้านมีปัญหาการเดินทางที่ไม่สะดวก อาศัยอยู่คนเดียว
ขาดแคลนเงิน ขาดการออกกําลังกายอย่างสม่ําเสมอ ขาดการรวมกลุ่มทํากิจกรรม และขาดสถานที่
สําหรับเป็นศูนย์กลางการออกกําลังกาย ขาดความรู้ขาดข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ในการดูแล
สุขภาพของตนเองท่ีถูกต้อง ขาดการสร้างเสริมสุขภาพท่ีเหมาะสมตามวัย ขาดการประชุมวางแผน
รวมกลมุ่ ขาดผู้นําและการประสานงานกับหนว่ ยงานราชการต่างๆ คิดถึงลกู หลาน ขาดการเยี่ยมบ้าน
จากเจา้ หนา้ ทีท่ ีไ่ มส่ ามารถดแู ลได้อยา่ งทว่ั ถึง ขาดโอกาสในการท่องเท่ียงพกั ผอ่ นหย่อนใจ

3. ผลการประเมินรูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ซ่ึงทําการ
ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างในระยะที่ 1 ด้านความรู้ มีระดับความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอยู่ในระดับ
ค่อนข้างสูงร้อยละ 79.4 และระยะที่ 2 มีระดับความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองในระดับสูงร้อยละ
89.1 ด้านการฝึกปฏิบัติ ระยะท่ี 1 มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจําเฉล่ียร้อยละ 61.2 ระยะที่ 2 มี
ระดบั การฝกึ ปฏบิ ัติเป็นประจําเฉลี่ยร้อยละ 75.4

4. การทดสอบสมมุติฐาน“การเรียนรู้จากการเข้าร่วมโครงการ และผลการฝึกปฏิบัติใน
การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ระหว่างก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการวิจัย
แตกตา่ งกัน” เลอื กใช้คา่ สถิติ Paired t-test ผลการทดสอบ มดี งั นี้

1) การเปรียบเทียบค่าเฉล่ยี ระดบั ความรู้การดูแลสขุ ภาพของผู้สูงอายุด้วยหลกั พทุ ธ
ธรรมระหว่างก่อนการปรับปรุงรูปแบบและหลังการปรับปรุงรูปแบบ พบว่า แตกต่างกันอย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นการดูแลอนามัยส่วนบุคคล และการป้องกันโรค “ไม่แตกต่าง
กนั ” p – value > .05

2) การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดบั การฝึกปฏบิ ัติในการดแู ลสุขภาพของผูส้ ูงอายุดว้ ย
หลกั พุทธธรรมระหวา่ งก่อนและหลงั การปรบั ปรงุ รปู แบบ พบวา่ แตกต่างกนั ทุกด้าน อยา่ งมนี ยั สาํ คัญ
ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05

5. ผลการตรวจเลือด (ชวี ะเคมี การเจาะเลอื ดจากปลายนิ้ว ครั้งที่ 2) สุขภาพของผสู้ งู อายุ
โดยรวมมีสุขภาวะดีขึ้น ได้แก่ การทํางานของไต (Creatinine) และไขมันดี(HDL-C) มีค่าปกติคงที่ สุข
ภาวะท่ีมีการเปล่ียนแปลงเข้าสู้ภาวะปกติมากท่ีสุดได้แก่ เกาท์ (Uric acid) การทํางานของตับ (AST)
การทาํ งานของตับ (ALT) นา้ํ ตาล (FBS) มีคา่ ปกติเมือ่ สน้ิ สดุ การร่วมกิจกรรมร้อยละ 100, 96.0, 88.0
ตามลําดับ ในขณะเดียวกันค่าไม่ปกติก็ลดลงได้แก่ ไขมันเลว(LDL-C) ไขมันโคเลสเตอรอล
(Choresterol) และไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride) มีค่าไม่ปกติลดลงท่ีมีค่าไม่ปกติลดลงท่ี -
57.0,-26.5 -13.3 ตามลําดบั

6. ผลการวิจัยเชิงทดลองแบบมีส่วนร่วมนําไปสู่การได้มาของรูปแบบการดูแลสุขภาพ
ผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม สามารถสรปุ ได้ดังน้ี

160

1) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ โดยอาศัยกลุ่มท่ีเป็นทาง
การช่วยขับเคลอื่ น เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นําชุมชนและวัดร่วมกันจัดกจิ กรรามเฉพาะผูส้ ูงอายุ
เชน่ กจิ กรรมวนั สําคญั ต่างๆ กจิ กรรมออกกําลังกาย กจิ กรรมทางพระพทุ ธศาสนา

2) การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพและการคัดกรอง ชุมชนต้องการปรับพฤติกรรมเพื่อลด
โอกาสก่อโรคซํ้าซ้อน และป้องกันการเกิดโรคในระยะท่ี 1 กิจกรรมที่ปฏิบัติได้เชิงรูปธรรม เช่น
การศึกษาความต้องการด้านการส่งเสรมิ สขุ ภาพอยา่ งครบถ้วนทุกมิตขิ องสุขภาวะอยา่ งเปน็ ระบบ

3) การจัดการความรู้เพ่ือการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ซ่ึงเป็นความรู้ที่ตอบสนองความ
ต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ และสร้างโอกาสให้ผู้สูงอายุเข้าถึงองค์ความรู้ที่สนับสนุนการ
ตดั สนิ ใจดา้ นสขุ ภาพดว้ ยตนเองอย่างเหมาะสม เพื่อนําไปสกู่ ารปรับมโนทัศนใ์ นการดูแลสขุ ภาพตนเอง

4) การดูแลสขุ ภาพผู้สูงอายุดว้ ยหลักพุทธธรรม
ปัจจุบันปัญหาโรคไร้เชื้อกําลังเป็นปัญหาของประเทศไทย ซ่ึงสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก
พฤติกรรมการใช้ชีวติ ท่ีเปล่ียนไป การจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้กับประชาชนให้เกิดสุขภาพ
ที่ดีโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีการสะสมพฤติกรรมการใช้ชีวิตมายาวนาน คุ้นชินกับความเป็นอยู่การจะ
ปรับเปล่ียนจําเป็นต้องปรับแนวคิดว่า “ส่ิงทั้งหลายท้ังปวงเป็นธรรมชาติที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตาม
ธรรมดา” ผู้สูงอายุก็เป็นวัยแห่งความเส่ือมถอย ท้ังด้านร่างกายและด้านจิตใจ การสร้างความ
ตระหนักให้เกิดการยอมรับ เกิดการเรียนรู้ เกิดความพอดี หรือเกิดความสมดุลของชีวิต ได้นําหลัก
พุทธธรรมมาบรู ณาการ ดังนี้
(1) ใช้หลักพละ 5 ตามแนวคิดของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้กล่าวไว้
ว่า “...ในการเข้าถึงจุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา จะต้องปฏิบัติหลักธรรมย่อยๆ หลายอย่าง
หลักธรรมหรือข้อปฏิบัติเหล่านี้ จะต้องกลมกลืนพอดีกันได้แก่ อินทรีย์ 5 ผู้ปฏิบัติธรรมจะมีการเน้น
คําว่า สมตา คือมีความสมดุลกันทั้ง ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา การปฏิบัติจะต้องพอดีกัน
ระหวา่ งวิริยะกับสมาธิ และความพอดรี ะหวา่ งศรทั ธากบั ปญั ญา โดยมีสตเิ ปน็ เครอ่ื งควบคมุ ...”8
(2) ใชห้ ลักอิทธบิ าท 4 ประกอบด้วย- ฉันทะ คอื ความพอใจ รักใคร่ เตม็ ใจ และฝักใฝใ่ น
งานอยู่เสมอ ทุ่มเทความสามารถ และปรารถนาเพื่อที่จะทํางานน้ันให้ดีที่สุด วิริยะคือ ความเพียร
พยายาม ความอุตสาหะและมานะบากบั่น ท่จี ะทํางานหรือทําส่ิงหน่งึ สิ่งใดใหด้ ีที่สุด จิตตะ การเอาใจ
ใส่ และให้ใจจดจ่ออยู่กับอยู่กับส่ิงท่ีทํา มีสมาธิมั่นคงอยู่กับงาน วิมังสา คือ การสอบสวน ไตร่ตรอง
พิจารณาตรวจสอบในสิ่งท่ีกําลังทําน้ันๆ รวมถงึ การรู้จักค้นคว้า คิดค้น และรู้จักคิดแก้ไขปรับปรุงงาน
ให้ก้าวหน้าอยเู่ สมอ9
(3) ใช้หลักภาวนา 4 ภาวนา 4 เป็นแนวพัฒนาให้ผู้สูงอายุนําไปฝึกปฏิบัติตามตาราง
กิจกรรมประจําวัน เพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพในองค์รวม 4 ด้าน ได้แก่ การพัฒนากาย คือ การ
พฒั นารา่ งกายด้วยการออกกําลงั กาย เช่น การเดิน การวง่ิ เหยาะๆ การเดินจงกรม การทําสมาธิบําบัด
การอยู่กับสิ่งแวดล้อมที่เก้ือกูลกัน การบริโภคปัจจัยสี่ตรงตามคุณค่าท่ีแท้จริง การพัฒนาศีล คือ การ

8 สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์(ป.อ.ปยุตฺโต),ลักษณะแหง่ พระพทุ ธศาสนา,(ฉบับสองภาษา),(กรุงเทพ
มหานคร : โรงพมิ พเ์ จรญิ ดมี ัง่ คงการพิมพ์,2558),หนา้ 11-12.

9 สขุ ภาพจติ /ศาสนา › อทิ ธบิ าท 4 และแนวทางปฏิบัต,ิ [ออนไลน]์ เขา้ ถึงเม่อื 11 เมษายน 2561
จาก thaihealthlife.com.

161

พัฒนาด้านกายและวาจา มีความสัมพันธท์ างสงั คมกบั ผู้อนื อย่างเหมาะสม เก้ือกูล สร้างสรรค์ ส่งเสริม
สันติสุข การพัฒนาจิตคือ การพัฒนาจิตตนเองให้มีความสมบูรณ์ท้ังคุณภาพ สมรรถภาพและ
สุขภาพจิตที่ดีดูแลสภาวะจิตใจตนเอง และการพัฒนาปัญญา คือ การพัฒนาตนเองให้รู้จักคิด
พจิ ารณา วนิ จิ ฉัย แก้ปญั หา และดาํ เนินการต่าง ๆ ดว้ ยปัญญา คิดพจิ ารณาทกุ สงิ่ อยา่ งรอบคอบ10

อภิปรายผลการวิจยั

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม เป็นการวิจัยเชิงทดลอง
แบบมีส่วนร่วม มงุ่ หวงั ท่ีจะได้รูปแบบท่ีสอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้สูงอายุ ทผี่ ูกพันกับพระพทุ ธศาสนา
คณะผู้วิจัยได้คัดสรรหลักพุทธธรรมได้แก่พละ 5 เพ่ือสร้างความตระหนัก การรับรู้ ว่าเมื่อเข้าสู่วัย
ผู้สูงอายุสภาพร่างกายย่อมเสื่อมถอยลงไปตามวัย หากประสงค์จะมีอายุยืนยาว ตนเองเท่าน้ัน ท่ีจะ
สามารถทําได้ และต้องใช้ความพยายาม (หลักอิทธิบาท 4) เอาชนะความเบ่ือหน่าย ความท้อถอยไม่
ยอมแพ้กับอุปสรรคต่างๆ ด้วยการพัฒนาตามหลักภาวนา 4 อย่างสม่ําเสมอ ได้แก่ 1)กายภาวนา
เน้นการออกกําลังกายด้วยการเดิน หรือว่ิงเหยาะ ๆ การเดินจงกรม การทําสมาธิบําบัด ใน
ขณะเดียวกันต้องรู้จักการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัย 2) ศีลภาวนา ปฏิบัติกิจของตน
อยใู่ นศีลมีความเมตตาเอ้ืออาทร ไม่เบียดเบยี น เคารพกฎเกณฑ์ในชุมชน 3) จิตภาวนา พฒั นาจติ ของ
ตนให้ผ่องแผ้วด้วยการเข้าวัดฟังธรรม เจริญสมาธิ สวดมนต์ พักผ่อนให้เพียงพอ 4) ปัญญาภาวนา
พฒั นาตนเองให้รู้เท่าทันการเปลย่ี นแปลงของสังคม ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ คณะผ้วู จิ ัยไดจ้ ัดให้มกี าร
ประชุมวางแผนแบบมีส่วนร่วมเพ่ือศึกษาสภาวะของสุขภาพผู้สูงอายุ และร่วมกันจัดทํารูปแบบการ
ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม การจัดเวทีให้ความรู้ และแนวทางการปฏิบัติเร่ืองการดูแล
สุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ จัดทําตารางฝึกปฏิบัติกิจกรรมจนสิ้นสุดโครงการ ทําการประเมินผลด้าน
ความรู้และการฝึกปฏิบตั ิและทาํ การตรวจสุขภาพทางชีวะเคมี(เจาะเลือดที่ปลายนว้ิ ) การจัดโครงการ
ดังกล่าวน้ีใช้เวลา 43 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่า มีผู้สูงอายุป่วยเป็นโรคเร้ือรังด้านความดันโลหิตสูง
รอ้ ยละ 27.91 ป่วยไขมันในเลือดสูงร้อยละ 25.58 ป่วยดา้ นเบาหวานร้อยละ 12.09 มีความสามารถ
ในการประกอบกิจวัตรประจําวันสามารถปฏิบัติด้วยตนเองได้ แต่มีอาการปวดข้อเล็กน้อยขณะยืนลง
น้ําหนัก และมีสุขภาพจิตเท่ากับคนท่ัวไป สอดคล้องกับสถานการณ์ทางสุขภาพของผู้สูงอายุ ระบุว่า
“...การสํารวจสุขภาพประชาชนโดยการตรวจร่างกายพบว่า โรคที่มักพบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ โรค
ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ข้ออักเสบ/ข้อเสื่อม โรคถุงลมโป่งพอง/หลอดลมปอดอุดกั้นเร้ือรงั หลอด
เลือดหัวใจตบี กล้ามเนอื้ หัวใจตาย และอมั พาต...”11 และรายงานผลการวจิ ัยของศรสี ุดา วงศ์วเิ ศษกุล
และคณะ12 เร่ือง รูปแบบการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เขตบางพลัด

10 สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต),ตดั ทอน จากหนังสือเร่ือง “ร่งุ อรณุ ของการศกึ ษา เบกิ ฟา้
แห่งการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ”พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พมิ พ์ครั้งที่ 12 พ.ศ.2546. [ออนไลน]์ เข้าถึง
เมือ่ 2 กมุ ภาพันธ์ 2561 จาก http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=37

11 มลู นิธสิ ถาบันวิจยั และพฒั นาผู้สูงอายไุ ทย (มส.ผส.), สถานการณ์ผสู้ งู อายุ พ.ศ.2559,หน้า 37
12 ศรสี ดุ า วงศ์วิเศษกลุ และคณะ, “รปู แบบการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพผ้สู งู อายุโดยการมีสว่ นรว่ มของ
ชมุ ชน เขตบางพลดั กรุงเทพมหานคร”,คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ J.10 (2):พฤษภาคม-สิงหาคม
2559 หนา้ 164.

162

กรุงเทพมหานคร พบว่า ปัญหาสุขภาพของผู้สงู อายุของเขตบางพลัดได้แก่ ความดันโลหิตสูง ไขมันใน
เลือดสูง โรคของกลา้ มเน้ือและข้อ และเบาหวาน และพบด้วยว่าผู้สูงอายุสว่ นหนึ่งมีโรคเรอ้ื รังมากกว่า
หน่ึงโรค เช่น พบเบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูงร่วมกับไขมันในเลือดสูง
เบาหวานร่วมกับไขมันในเลือดสูง และความดันโลหิตสูงร่วมกับเบาหวานและไขมันในเลือดสูง ซ่ึง
สามารถอธิบายไดด้ ้วยทฤษฎผี ู้สูงอายุว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของผู้สงู อายุ ของกุลยา ตันติวาอาชีวะ13
กล่าวว่า “ ปรากฏการณ์ของความมีอายุนั้น จะดําเนินไปอย่างช้าๆเมื่อเลยวัยกลางคนไปแล้ว
ร่างกายจะเร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์เนื้อเย่ือ ความเต่งตึงลดลง
กล้ามเนื้อลดความแข็งแรงขาดความกระฉับกระเฉง ขาดความไวในการตอบสนองต่อส่ิงเร้า
ความสามารถในการทํางานประสมประสานกันของระบบประสาทและกล้ามเนื้อถดถอย ซ่ึงการ
เปลย่ี นแปลงนเี้ กิดข้นึ กับทกุ ระบบของรา่ งกาย แต่ในอตั ราและระยะเวลาทต่ี ่างกัน...”

การประเมินผลด้านความรู้และการฝึกปฏิบัติของผู้สูงอายุระยะท่ี 2 พบว่า ผู้สูงอายุที่มี
ความรู้สูงข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 89.1 และมีการปฏิบัติเฉลี่ยร้อยละ 75.4 9 ตามลําดับ การเปรียบเทียบ
คา่ เฉลี่ยระดับความรู้และระดับการฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมระหว่าง
ก่อนการปรับปรุงรูปแบบและหลงั การปรับปรุงรปู แบบ พบว่า คา่ เฉลี่ยระดับความรู้ แตกต่างกันอย่าง
มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นการดูแลอนามัยส่วนบุคคล และการป้องกันโรค “ไม่แตกต่าง
กัน” p – value > .05 ส่วนระดับการปฏิบัติแตกต่างกัน ทุกด้าน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ
.05 สอดคล้องกับผลการวิจัยของ จุรีวรรณ มณีแสง และคณะ เรื่อง ประสิทธิผลของการสร้างเสริม
สขุ ภาพแบบมสี ่วนรว่ มต่อสขุ ภาพผู้สงู อายุจงั หวดั ปทุมธานี14.พบว่า ผูส้ ูงอายุหลังเข้าร่วมโครงการสรา้ ง
เสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมมีความรู้ การรับรู้ และความคาดหวังของการปฏิบัติตน และมีพฤติกรรม
การดูแลสุขภาพตนเอง สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจาก
การเปรียบเทียบพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพก่อนและหลัง เข้าร่วมโครงการ พบว่า มีความ
แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P < .05) โดยหลังเข้าร่วมโครงการ ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการ
บริโภคอาหาร การออกกําลังกาย และการจัดการความเครียดอยู่ในระดับดี ซ่ึงสูง กว่าก่อนเข้าร่วม
โครงการ

เมอ่ื สิน้ สดุ โครงการ คณะผู้วิจยั ได้สรุปรูปแบบการดแู ลสุขภาพผู้สูงอายดุ ้วยหลักพทุ ธธรรม
ดังนี้ 1) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ 2) การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพ
และการคดั กรองเพื่อลดภาวะเสยี่ ง 3) การจัดการความรเู้ พ่ือการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน 4) การดูแล
สขุ ภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ไดแ้ ก่ (1) ใชห้ ลักพละ 5 (2) ใช้หลักอิทธิบาท 4 และ(3) ใช้หลัก
ภาวนา 4

13 กุลยา ตนั ตวิ าอาชวี ะ, คู่มือผู้สูงอายสุ ุขภาพสูงวัย ดแู ลไดด้ ว้ ยตวั เอง,2560,หนา้ 18-41,

14 จรุ วี รรณ มณีแสง และคณะ,ประสทิ ธิผลของการสร้างเสรมิ สขุ ภาพแบบมีสว่ นรว่ มต่อสุขภาพ
ผู้สูงอายุจังหวดั ปทมุ ธานี.(เวบ็ ไซท์)แหลง่ ที่มาจาก: www.western.ac.th/media/ attachments เข้าถึงเม่ือ
วันท่ 24 สงิ หาคม 2561

163
ตารางภาพท่ี 2 แสดงรูปแบบการดแู ลสุขภาพผสู้ ูงอายดุ ้วยหลักพุทธธรรม

การมีสว่ นร่วมของ การจดั บริการส่งเสริม
ชุมชนในการ สขุ ภาพและการคดั

เสรมิ สร้างสขุ ภาพ กรอง
ผู้สูงอายุ

รูปแบบการดแู ลสุขภาพ อทิ ธิบาท 4
ผูส้ งู อายุดว้ ยหลกั พุทธธรรม

การจดั การความรู้ การดูแลสุขภาพ
เพอ่ื การสง่ เสริม ผูส้ ูงอายุดว้ ยหลัก
สขุ ภาพในชมุ ชน
พุทธธรรม

ภาวนา
พละ 4

5ะ

5

สรุป

ธรรมชาตขิ องผคู้ วามเส่ือมสงู อายุ มสี ขุ ภาพกายเสื่อมถอยไม่เอื้อตอ่ การยนื เดิน หรอื นงั่
นานๆ มีภูมคิ ้มุ กันต่าํ สามารถติเช้อื โรคไดง้ ่าย ความสามารถในการทํากจิ วตั รประจําวันก็ลดลง สงิ่ ที่
ตามมาไดแ้ ก่การมองเห็น การได้ยินก็เป็นอปุ สรรค ในขณะเดยี วกันก็จะมีปญั หาสุขภาพรวมกันหลายๆ
อย่าง สง่ ผลให้ต้องรับประทานยาหลายๆ อยา่ งตามไปด้วย การชะลอความเส่ือมถอยของรา่ งกายและ
จติ ใจ ด้วยการใช้หลักพุทธธรรมเปน็ ตวั ขับเคล่ือนความปรารถนาของตนในการพฒั นากาย เช่นการ
ออกกําลงั กาย ดว้ ยการเดนิ ว่ิงเหยาะๆ ปนั่ จักรยาน ราํ กระบอง เปน็ ต้น ควรหลีกเลีย่ งการออกกาํ ลัง
กายที่ใช้แรงมาก ๆ การพัฒนาจติ ทําจิตใหส้ ดใส ฝึกสมาธิ สวดมนต์ พกั ผอ่ นให้พอเพียง การพฒั นา
ศลี ไมเ่ บยี ดเบยี น มีสัมมาอาชพี และการพัฒนาปัญญา ใหเ้ กดิ ความรเู้ ท่าทันการเปลยี่ นแปลงของ
สงั คม เรยี นรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง

164

การทําให้สุขภาพทางกาย สุขภาพทางจิตดี ด้วยการฝึกปฏิบัติตามหลักธรรมก็จะ
สนบั สนนุ ให้ผูส้ งู วัยชะลอความเส่อื มถอยของตนเองได้ สามารถมีอายุยีนยาวอยู่อยา่ งมีคณุ ค่าตอชมุ ขน
สืบไป

ขอ้ เสนอแนะ

1) ระดบั นโยบาย

ผลการวิจัยครั้งน้ีทําให้ค้นพบแนวทางการสร้างสุขภาพการแพทย์ทางเลือก ในการมีส่วน
ร่วมของชุมชนบนฐานวิถีธรรม สามารถนําไปกําหนดเป็นนโยบายเชื่อมโยงงานแพทย์แผนไทยและ
การแพทยท์ างเลือกเข้าสูร่ ะบบสุขภาพอยา่ งเป็นระบบสามารถผสมผสานกบั การปฏบิ ัตงิ านเดิมได้ โดย
ไดร้ ับความรว่ มมือกับชุมชนประยุกตใ์ ช้สร้างเสรมิ สขุ ภาพผูส้ งู อายุในชุมชนอืน่ ทมี่ ีบริบทใกลเ้ คียงกัน

2) ระดับปฏบิ ัตกิ าร
(1) รูปแบบและผลการวิจัยสามารถนําไปประยุกต์ใช้สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุใน

ชมุ ชนอื่นทีม่ บี รบิ ทใกลเ้ คยี งกนั
(2) หน่วยงานทุกระดับสามารถจัดทําฐานข้อมูลผู้สูงอายุเพ่ือประโยชน์ในการจัด

สวสั ดิการด้านสุขภาพและสังคม
.3) ระดบั การวจิ ัยครง้ั ต่อไป
(1) รูปแบบท่ีสังเคราะห์ขึ้นก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีตอ่ ชมุ ชน ควรทาํ วิจัยเพมิ่ เพิม่ เติมใน

บริบทของครอบครัวกลุ่มสงู อายุตดิ เตียง
(2) กรณีวัด/ชุมชนใดมีความเข้มแข็งในการมีส่วนร่วมด้านการส่งเสริมสุขภาพแล้ว

ควรขยายบทบาทของวดั /ชมุ ชนในการเยยี วยาผู้สงู อายกุ ลมุ่ ตดิ เตียง กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสงู

165

บรรณานกุ รม

กุลยา ตันติวาอาชีวะ, คู่มือผู้สูงอายุสุขภาพสูงวัย ดูแลได้ด้วยตัวเอง,(กรุงเทพมหานคร : เพชร
ประกาย, 2560), .

ขวัญดาว กล่ํารัตน์, ปัจจัยเชิงสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตภูมิภาคตะวันตกของ
ประเทศไทย, วทิ ยานิพนธ์ดุษฎีบณั ฑิต บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, 2554

จุรีวรรณ มณีแสง และคณะ, ประสิทธิผลของการสร้างเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมต่อสุขภาพ
ผูส้ งู อายุจังหวัดปทมุ ธานี,

มูลนิธิสถาบนั วิจัยและพัฒนาผู้สูงอายไุ ทย (มส.ผส.), สถานการณ์ผูส้ ูงอายุ พ.ศ.2559,บทสรปุ สําหรับ
ผ้บู ริหารและขอ้ เสนอแนะ,(จังหวัดนครปฐม: พริน้ เทอรี่ จํากดั 999 อาคารศูนยก์ ารเรียนรู้
ชั้น 2 มหาวิทยาลัยมหิดล,2559),

วชิราวุธ ผลบญุ ภิรมย์,การพัฒนาศักยภาพการดูแลสขุ ภาพตนเองของผ้สู ูงอายุ : บ้านเกา่ ง้ิว ตําบลเก่า
งวิ้ อําเภอพล จังหวัดขอนแก่น,การศึกษาอิสระ,ปริญญาสาธารณสุขศาสตร มหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารสาธารณสขุ บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, 2555.

ศรีสุดา วงศ์วิเศษกุล และคณะ, “รูปแบบการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร”,คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
J.10 (2):พฤษภาคม-สงิ หาคม 2559 .

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา ฉบับสองภาษา
,กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเ์ จริญดมี งั่ คงการพมิ พ์, 2558),.

_________, ตัดทอน จากหนังสือเร่ือง “รุ่งอรุณของการศึกษา เบิกฟ้าแห่งการพัฒนาที่ย่ังยืน”
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพค์ รัง้ ที่ 12 พ.ศ.2546. [ออนไลน์] เข้าถึง
เมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2561 เข้าถึงได้จาก http://www. 84000. org/tipitaka/ dic /d
item.php?i=37

สุขภาพจิต/ศาสนา › อิทธิบาท 4 และแนวทางปฏิบัติ, [ออนไลน์] เข้าถึงเมื่อ 11 เมษายน 2561
เข้าถงึ ได้จาก thaihealthlife.com ›

166

ภาคผนวก ข

กจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การนาผลจากโครงการไปใช้ประโยชน์

167

กจิ กรรมที่เก่ยี วขอ้ งกับการนาผลจากโครงการวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์

1. การใชป้ ระโยชนด์ า้ นโยบาย

ผลสืบเน่ืองจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมและความสําเร็จในนโยบายประชากรและ
มาตรการการวางแผนครอบครัวของประเทศไทย ได้ส่งผลให้โครงสร้างประชากรในปัจจุบันและ
อนาคตมีจํานวนท่ีเพ่ิมมากขึ้น อายุขยั เฉลี่ยสูงขึ้นในช่วงปี พ.ศ.2543 ปรากฏว่า มีจาํ นวนประชากร
สูงอายุจํานวนถึง 12 ล้านคน โดยส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 80 อาศัยอยู่ในเขตชนบท โดยอาศัยอยู่ตาม
ลาํ พังหรอื ถกู ทอดทิ้งใหอ้ ยูก่ ับหลาน หรืออยู่โดดเดีย่ วเพียงลําพัง ผู้สูงอายุขาดการดูแลและไมม่ ีรายได้
จากการศึกษาพบว่าปัญหาของผู้สูงอายุมี 3 ประการ คือ ภาวะทุพพลภาพ ภาวะต้องการการพึ่งพา
และภาวะสมองเสื่อมคณะทํางานสาธารณสุขและการพัฒนาคุณภาพชีวิต สภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ไดต้ ระหนกั เห็นปัญหาของสังคมดังกล่าว จึงจดั ให้มีการศึกษา เรอ่ื ง การพัฒนารูปแบบ
การดูแลสุขภาพของผ้สู ูงอายดุ ว้ ยหลักพทุ ธธรรม”

ผลจากการวจิ ัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการดูแลสขุ ภาพของผู้สงู อายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สามารถนําความรู้จากงานวิจัยไปใช้ใน
กระบวนการกําหนดนโยบายเพ่ือขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้าน โรงเรียน และหน่วยงาน ผู้สูงอายุ การ
รณรงค์ส่งเสริมกิจกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ให้พัฒนาจากระดับหมู่บ้าน ตําบล อําเภอ
จังหวัดตลอดถึงระดับประเทศ(สํานักงานแห่งชาติ) ระดับภูมิภาค ระดับท้องถ่ิน ผู้นําองค์กรส่วน
ท้องถิ่น หรือระดับหน่วยงานได้ รวมทั้งการนําองค์ความรู้ไปสงั เคราะห์เป็นนโยบายหรือทางเลือกเชิง
นโยบาย (policy options) แล้วนํานโยบายนั้นไปสู่ผู้ใช้ประโยชน์ สอดคล้องกับทัศนคติและ
พฤตกิ รรมเชิงประจักษข์ องผู้สูงอายุชาวไทยทัว่ ไป
2. การใชป้ ระโยชน์ด้านสาธารณะ

ผลจากการวจิ ัย เร่ือง การพัฒนารูปแบบการดแู ลสุขภาพของผูส้ ูงอายุดว้ ยหลักพทุ ธธรรม:
วัดสุคนธาราม อําเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สามารถนําความรู้จากงานวิจัยไปใช้ในวง
กว้างเพ่ือประโยชน์ของสังคม และประชาชนทั่วไป ให้มีความรู้ความเข้าใจ เกิดความตระหนักในการ
การดูแลสขุ ภาพของผสู้ ูงอายุดว้ ยหลักพุทธธรรม: รู้คุณ-โทษ ของการรักษาสุขภาพของตนเองวา่ จะทํา
อย่างไร ให้สุขภาพดีและอายุยืนแต่ไม่เป็นภาระต่อสังคมประเทศชาติ- เพื่อเพ่ิมคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน สร้างสงั คมคุณภาพ และสง่ เสริมคุณภาพสงิ่ แวดล้อม

3. การใชป้ ระโยชน์ด้านพาณชิ ย์ ไม่มี

4. การใช้ประโยชนด์ ้านชมุ ชนและพื้นท่ี

ผลจากการวจิ ัย เรอื่ ง การพัฒนารปู แบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายดุ ้วยหลกั พุทธธรรม:
วดั สคุ นธาราม อาํ เภอบางซา้ ย จังหวดั พระนครศรีอยุธยา สามารถนําความรจู้ ากงานวจิ ยั ไปใช้ในการ
นํากระบวนการ วธิ ีการองค์ความรู้ รูปแบบการดแู ลสขุ ภาพของผสู้ ูงอายดุ ว้ ยหลกั พุทธธรรม: เพ่ือเปน็
การเสรมิ พลังการพฒั นาชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ พ้นื ที่ ให้เกิดความเข้มแข็งชุมชนเป็นสุข

168

5. การใช้ประโยชน์ด้านวิชาการ

ผลจากการวิจัย การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม
สามารถนาํ องค์ความรู้จากผลงานวจิ ยั ที่จะตีพิมพ์ในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ ผลงานตีพิมพใ์ นวารสารระดับ
นานาชาติ ระดบั ชาติ ไปเป็นประโยชน์ดา้ นวิชาการ การเรียนรู้ การเรียนการสอนในสถานศึกษา ในวง
นักวิชาการและผู้สนใจด้านวิชาการ รวมถึงการนําผลงานวิจัยไปวิจัยต่อยอด หรือการนําไปสู่
product และ process ไปใช้ในการเสริมสร้างการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย
หลกั พุทธธรรมเป็นนวตั กรรมใหม่ แบบยัง่ ยนื โดยมคี มู่ อื นํามาเปน็ รปู แบบนาํ มาใช้จรงิ ได้ตอ่ ไป

169

ภาคผนวก ค

ตารางเปรียบเทียบวัตถปุ ระสงค์ กิจกรรมท่ีวางแผนไว้ และกิจกรรมที่ไดด้ าเนนิ การมา
แลผลท่ไี ดร้ บั ของโครงการ

170

ตารางเปรยี บเทยี บวตั ถุประสงค์ กจิ กรรมท่ีวางแผนไวแ้ ละกิจกรรมทไี่ ด้ดาเนนิ การมาและผลท่ีได้
จากการวิจัย

วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย กจิ กรรมทว่ี างแผนไว้ กิจกรรมทไ่ี ด้ ผลทไ่ี ดจ้ ากการวิจยั

เพื่อ ดาํ เนินการแลว้

1 . วิ เ ค ร า ะ ห์ การวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการ ผ ล ก า ร วิ จั ย จํ า แ น ก
สถานการณ์ผู้สูงอายุ ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธ เปน็
และสภาพการดูแล ธรรม ครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงทดลองแบบมี 1 ) ส ถ า น ก า ร ณ์
สขุ ภาพของผู้สูงอายุฯ ส่วนรว่ ม เพ่ือให้ทุกภาคส่วนเขา้ มามีสว่ น ผู้สูงอายุ พบว่า ส่วน
2. ประเมินรูปแบบ ร่วมในการพัฒ นารูปแบบการดูแล ใหญ่ เป็นเพศหญิ ง
การดูแลสุขภาพของ สุขภาพของผู้สูงอายุ และสามารถนํา อายุเฉลี่ย 64.9 ปี มี
ความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจําวันอย่าง สถานภาพสมรส(คู่)
ผู้สูงอายฯุ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ชั้ น
ถูกต้องได้ คณะผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า
3.พัฒนารูปแบบการ ทฤษฎีเก่ียวกับ การพัฒ นารูปแบ บ ประกอบอาชีพหลัก
ดู แ ล สุ ข ภ า พ ข อ ง ทฤษฎีการมีส่วนร่วม วิธีการวิจัยเชิง ท างการเกษ ต ร มี
ผู้สงู อายดุ ้วยหลกั ธรรม ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และเอกสาร รายได้ จากตน เอง
ฯ งานวิจัยที่เก่ียวข้อง นํามาบูรณาการกับ

ฐานข้อมูลของวถิ ีชีวิตชุมชนซึง่ ยึดโยงกับ ตง้ั แต่ 4,001 บาทขึ้น

หลักพุทธธรรม คณะผู้วจิ ัยร่วมกับชุมชน ไป มีผู้อยู่อาศัยใน

สร้างรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครอบครัว 1-3 คน

และนําไปทดลองใช้กับกลุ่มผู้สูงอายุหมู่ 1.รวบ รวม ข้ อมู ล ป่วยเปน็ โรคความดัน

ท่ี 2 และห มู่ท่ี 3 ตําบลเทพ มงคล พื้นฐานของชุมชน โลหิตสูง ออกกําลัง

อํ า เ ภ อ บ า ง ซ้ า ย จั ง ห วั ด ผู้สูงอายุ ผู้บริหาร กาย ด้วยการเดินเร็ว

พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า แ ล้ ว ทํ า ก า ร ส่วนตําบลเทพมงคล ใช้ เว ล า 2 0 – 3 0

ประเมินผลและพัฒนารูปแบบการดูแล ตัวแทนเจ้าหน้าที่ นาที และส่วนใหญ่ไม่

สุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม องค์การบริหารส่วน สู บ บุ ห รี่ ไ ม่ ดื่ ม

แบง่ การวิจัยออกเป็น 4 ระยะ ดังน้ี ตํ า บ ล เท พ ม งค ล เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์

ระยะเตรยี มการ เ จ้ า ห น้ า ท่ี 2 ) ส ภ า พ ก า ร ณ์

1. ระยะเตรยี มการ มรี ายละเอยี ด ดังน้ี โรงพยาบาลส่งเสริม ดู แ ล สุ ข ภ า พ ข อ ง

ในสัปดาห์ที่ 1 ทําการรวบรวมข้อมูล สุขภาพตําบลเทพ ผู้สูงอายุ พบว่า ป่วย

พ้ืนฐานของชุมชน ผู้สูงอายุ อาสาสมัคร มงคล เพื่อเชิญชวน เป็นโรคเรื้อรังด้าน

สาธารณสุข ผู้นําชุมชน สมาชิกองค์การ เขา้ รว่ มโครงการ ความดนั โลหิตสูงร้อย

บริหารส่วนตําบลเทพมงคล ตัวแทน ละ 27.91 ป่วยไขมัน

เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตําบลเทพ ในเลือดสูงคิดร้อยละ

มงคล ตัวแทนเจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาล 2 5 .5 8 ป่ ว ย ด้ า น

ส่งเสริมสุขภาพตําบลเทพมงคล ที่มี เบ าห วาน ร้ อ ย ล ะ

ความยินดีและสมัครใจเข้าร่วมโครงการ 12.09 ส่วนใหญ่ มี

ต้ังแต่ต้นจนส้ินสุดการวิจัย ดําเนินการ ความสามารถในการ

ประสานงานผู้สูงอายุ อาสาสมัคร ป ร ะ ก อ บ กิ จ วั ต ร

สาธารณสุข ผู้นําชุมชน สมาชิกองค์การ ประจําวัน สามารถ

171

บริหารส่วนตําบลเทพมงคล ตัวแทน ปฏิบัติด้วยตนเองได้

เจ้าหน้าท่ีองค์การบริหารส่วนตําบลเทพ มี อ า ก า ร ป ว ด ข้ อ

มงคล เจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลส่งเสริม เล็ ก น้ อ ย ข ณ ะ ยื น ล ง

สุขภาพตําบลเทพมงคล เพ่ือเชิญชวน น้ํ า ห นั ก แ ล ะ มี

เข้าร่วมโครงการศึกษา พร้อมช้ีแจง สุขภาพจิตเท่ากับคน

วัตถุประสงค์และวิธีการดําเนินงานให้ ทัว่ ไป

ชุมชนยนิ ดีและสมัครใจเข้าร่วมการวจิ ัย ผ ล ก า ร ป ร ะ ชุ ม

ในสัปดาห์ท่ี 2 สร้างสัมพันธภาพกับ วางแผนแบบมีส่วน

ผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นํา ร่วม พบว่า

ชมุ ชน สมาชกิ องค์การบริหารส่วนตําบล -มี ปั ญ ห าด้ านก าร

เทพมงคล ตัวแทนเจ้าหน้าที่องค์การ คมนาคม

บริหารส่วนตําบลเทพมงคล ตัวแทน -ข า ด ค ว า ม รู้ แ ล ะ

เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ข้อมูลข่าวสารที่เป็น

ตําบลเทพมงคล เพ่ือสร้างความคุ้นเคย ประโยชน์ในการดูแล

และสร้างความรว่ มมอื ในการดําเนินการ สุขภาพของตนเองที่

วิจัยที่จะมีขึ้น โดยการเข้าไปพบปะ ถูกตอ้ ง

พูดคุยและปรึกษาหารืออย่างไม่เป็น -ขาดการรับประทาน

ท า ง ก า ร เพื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม คุ้ น เค ย เป็ น อ า ห า ร ที่ เ ป็ น

กันเอง พร้อมทั้งจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ประโยชน์

ที่จําเป็นตอ้ งใช้ในโครงการฯให้เพยี งพอ - ขาดการออกกําลัง

ในสัปดาห์ท่ี 3 ทําการศึกษาข้อมูล กายท่ีเหมาะสมตาม

และวเิ คราะห์สุขภาวะปัจจุบนั ดงั น้ี วยั

(1) บันทึกข้อมูลใบยินยอมของ -ข า ด ก า ร ร่ ว ม

ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง ใน ก า ร เข้ า ร่ ว ม กจิ กรรมทางสังคม *-

โครงการวิจัย -ไม่มอี าชีพ

(2) ทําการสัมภาษณ์เก็บข้อมูล -คดิ ถงึ ลกู หลาน

การคดั กรอง ADL -ขาดการเยี่ยมบ้าน

(3) เก็บข้อมูลการประเมินข้อเข่า จากเจา้ หนา้ ที่

เสอ่ื ม -ขาดโอกาสในการ

(4) เก็บข้อมูลด้านการคัดกรอง ท่ องเท่ี ยงพั กผ่ อน

สุขภาพจติ ที่พึงประสงค(์ TMHI – 15) หยอ่ นใจ

(5) เก็บข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่ม 3) การเปรียบเทียบ

ตัวอยา่ ง ค่าเฉล่ียระดับความรู้

(6) ร่วมกบั แพทย์แผนปัจจุบนั ตรวจ แล ะระดั บ การฝึ ก

สุขภาวะของกลุ่มตัวอย่างจํานวน 9 ปฏิบัติก่อนและหลัง

รายการ การปรับปรุงรูปแบบ

2. ระยะดาเนินการ มรี ายละเอียด ดงั นี้ 2.ปฏิบัตกิ ิจกรรม ใน แ ล ะ ห ลั ง พ บ ว่ า

สัปดาห์ท่ี 4 คณะผู้วิจัยดําเนินการจัด สั ป ด า ห์ ที่ 4 ระดับความรู้แตกตา่ ง
ประชมุ กําหนดกิจกรรมโดยกระบวนการ ดํ า เ นิ น ก า ร จั ด กันอย่างมีนัยสําคัญ
มีส่วนร่วม A-I-C ศึกษาและวิเคราะห์ ป ร ะ ชุ ม กํ า ห น ด ทางสถิติท่ีระดับ .05
สภาพปญั หา ซง่ึ ผู้วจิ ัยไดน้ ํากระบวนการ กิ จ ก ร ร ม โ ด ย ย ก เว้ น ก า ร ดู แ ล

172

วางแผนแบบมีส่วนรว่ ม AIC เพื่อสะทอ้ น กระบวนการมีส่วน อนามัยส่วนบุคคล

ข้อมูลสภาพปัจจุบันของผู้สูงอายุ บริบท ร่ ว ม A-I-C ศึ ก ษ า และการป้องกันโรค

ของชุมชน สภ าพปั ญ หา และร่วม และวิเคราะห์สภาพ “ไม่แตกต่างกัน” p

แสวงหาแนวทางแกไ้ ข เพ่อื จะได้กําหนด ปัญหา เพื่อสะท้อน – value > .05 และ

กิจกรรมฝึกปฏบิ ัตใิ ห้ครอบคลุมท้ัง 4 มิติ ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ระดับการฝึกปฏิบัติ

คือ กาย สังคม จิต และปัญญา ร่วมกัน ของผู้สูงอายุ บริบท แตกต่างกัน ทุกด้าน

พฒั นารูปแบบในการพัฒนาดแู ลสขุ ภาพ ของชุมชน สภาพ อย่างมีนัยสําคัญทาง

ให้ตรงกบั ความตอ้ งการของผู้สูงอายุและ ปั ญ ห า แ ล ะ ร่ ว ม สถิตทิ ร่ี ะดับ .05

สอดคล้องกับสภาพของชุมชน จัดทํา แ ส ว ง ห า แ น ว 4) ผลการตรวจเลือด

(ร่าง)รูป แบบ การดูแลสุขภ าพของ ทางแก้ไข เพื่อจะได้ (ชีวะเคมี การเจาะ

ผูส้ ูงอายุด้วยหลกั พุทธธรรมนําเสนอในท่ี กําหนดกิจกรรมฝึก เลือดท่ีปลายนิ้ว คร้ัง

ประชุมของภาคีเครือข่ายและกลุ่ม ปฏิบัติให้ครอบคลุม ท่ี 2) ของผู้สูงอายุ

ตัวอย่างร่วมกันพิจารณาในประเด็น ท้ัง 4 มิติ คือ กาย โดยรวมมีสุขภาวะดี

ความสอดคล้องของบริบทชุมชน ความ สั ง ค ม จิ ต แ ล ะ ขึน้ ไดแ้ ก่ การทาํ งาน

น่าจะเป็น และความคาดหวังด้าน ปญั ญา ของไต (Creatinine)

สุขภาพที่ดขี องผสู้ ูงอายุ และไขมันดี(HDL-C)

สัปดาห์ที่ 5 คณะผู้วิจัยนําผลจาก มี ค่ าป กติ ค งท่ี สุ ข

กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม มา ภ า ว ะ ท่ี มี ก า ร

นําเสนอสุขภาวะในภาพรวมให้กลุ่มผู้สง เป ลี่ ย น แ ป ล ง เข้ า สู้

อายุรบั ฟงั เพอ่ื ให้เกดิ ความตระหนัก รับรู้ ภาวะปกติมากท่ีสุด

สุ ข ภ า ว ะ โ ด ย ร ว ม ข อ ง ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง ได้ แ ก่ เก าท์ (Uric

คณ ะผู้วิจั ยได้ เรีย นเชิ ญ เจ้าห น้ าที่ acid) ก า ร ทํ า ง า น

สาธารณะสุขประจําโรงพยาบาลส่งเสริม ของตับ (AST) การ

สุขภาพตําบลเทพมงคลมาให้ความรู้ใน ทํางานของตับ (ALT)

การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ นิมนต์ น้ําตาล (FBS) มีค่า

พ ร ะ คุ ณ เจ้ า ให้ ค ว า ม รู้ เรื่ อ งห ลั ก พุ ท ธ ป ก ติ เ มื่ อ สิ้ น สุ ด

ธรรม ได้แก่ พละ 5 อิทธิบาท 4 และ โค รงก าร ใน

ภาวนา 4 นิมนต์พระวิปัสสนาจารย์ได้ ข ณ ะ เดี ย ว กั น ค่ า ไ ม่

แนะนําแนวทางการฝึกปฏิบัติท้ัง สมถะ ป กติก็ล ดล งได้แ ก่

กรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน ไข มั น เล ว (LDL-C)

นําเสนอภาพวีดิทัศน์ เร่ืองการฝึกสมาธิ ไขมันโคเลสเตอรอล

บําบัด k1- k5 พร้อมทั้งนําเสนอ(ร่าง) (Choresterol) และ

รูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ไขมันไตรกลเี ซอร์ไรด์

ด้วยหลักพุทธธรรม เพื่อให้ท่ีประชุม (Triglyceride)

พิจารณา เมอื่ ที่ประชุมใหค้ วามเหน็ ชอบ 5) รูปแบบการดูแล

ตาม(ร่าง) คณะผู้วิจัยจึงได้สร้างแบบ สุขภาพผู้สูงอายุด้วย

สัมภาษณ์(เคร่ืองมือวิจัย) เพื่อใช้ในการ ห ลั ก พุ ท ธ ธ ร ร ม

เกบ็ ขอ้ มลู ต่อไป ประกอบด้วย

สัปดาห์ท่ี 6 – 7 นําแบบสัมภาษณ์ที่ 1)การมีส่วนร่วมของ

ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา ชุ ม ช น ใ น ก า ร

จากผู้เช่ียวชาญ พร้อมกับรูปแบบการ เส ริ ม ส ร้ า ง สุ ข ภ า พ

173

พัฒนาการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ไป ผู้สงู อายุ

ทด ล องใช้ กับ ผู้ สูงอายุที่ ไม่ ใช่กลุ่ ม 2) ก ารจั ด บ ริก าร

ตัวอย่างในหมู่ท่ี 1 ตําบลเทพมงคล ทํา ส่งเสริมสุขภาพและ

การสัมภาษณ์ ทําการฝึกปฏิบัติกิจกรรม การคัดกรอง

ต า ม ต า ร า งเป็ น เว ล า 2 สั ป ด า ห์ 3) การจัดการความรู้

คณะผู้วิจัยทําการประเมินเคร่ืองมือด้วย เพื่ อ ก า ร ส่ ง เส ริ ม

การหาค่าความเช่ือมั่นของเครื่องมือ สุขภาพในชมุ ชน

แล้วนาํ ไปใชก้ บั กลมุ่ ตวั อยา่ งต่อไป 4 )ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ

สัปดาห์ท่ี 8 นํารูปแบบการดูแล ผู้สูงอายุด้ วยห ลั ก

สุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม พุทธธรรม ใช้หลัก

ไ ป ใช้ กั บ ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ต า ม พละ 5 สร้างความรู้

ตารางกิจกรรม ต้ังแต่สัปดาห์ท่ี 8 ถึง ใช้หลักอิทธิบาท 4

สัปดาห์ท่ี 20 สร้างความพยายาม

3 ระยะประเมนิ ผล มรี ายละเอยี ด ดังนี้ 3.ปฏิบัติกิจกรรม และใช้ภาวนา 4 เพื่อ
ค ณ ะ ผู้ วิ จั ย ทํ า ก า ร ป ร ะ เมิ น ผ ล ด้ า น นํ า รู ป แ บ บ ก า ร การพัฒนาสุขภาพให้
พั ฒ น า ก า ร ดู แ ล สขุ สมบูรณ์
ระดับความรู้และระดับผลฝึกปฏิบัติการ สุขภาพของผู้สูงอายุ
ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ไป ท ด ล อ งใช้ กั บ
ครั้งที่ 1 (ในสัปดาห์ที่ 20) ตามหลัก ผู้สูงอายุที่ไม่ใช่กลุ่ม
กายภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา และ ตัวอย่างในหมู่ท่ี 1
ปัญญาภาวนา โดยร่วมกับอาสาสมัคร ตําบลเทพ ประเมิน
ดูแลผู้สูงอายุ ทําการสัมภาษณ์กลุ่ม เครื่องมอื ด้วยการหา
ตวั อย่างรวบรวมข้อมูลและข้อเสนอแนะ ค่าความเช่ือม่ันของ
ปัญหาอุปสรรค ดําเนินการทบทวนและ เครอื่ งมอื
ปรับปรุงตารางการปฏิบัติกิจกรรมใน 4

มิติ คอื พัฒนากาย พัฒนาศีล พัฒนาจิต 5. ประเมินผลด้าน
และพัฒนาปัญญา แล้วทําการพัฒนา ร ะ ดั บ ค ว า ม รู้ แ ล ะ
รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วย ร ะ ดั บ ผ ล ฝึ ก
หลักพุทธธรรมให้สอดคล้องกับบริบท ปฏิบัติการคร้ังท่ี 1
ของขุมขน สังคม ประเพณี วัฒนธรรม (ในสัป ดาห์ที่ 20)
และศกั ยภาพของผู้สงู อายุ สั ม ภ า ษ ณ์ ก ลุ่ ม
ตั วอย่ างรวบ รวม
ในสัปดาห์ที่ 21 กลุ่มตัวอย่างลงมือ ข้ อ มู ล แ ล ะ
ปฏิบัติตามกิจกรรมต้ังแต่สัปดาห์ท่ี 21 ขอ้ เสนอแนะ ปัญหา
ถึงสัปดาห์ท่ี 33 ทําประเมินสุขภาวะ9 อปุ สรรค ดําเนินการ
ราย การ ด้ วย แ พ ท ย์ แ ผ น ปั จ จุ บั น ทบทวนและ
(ปฏิบัติการทางชีวะเคมี เจาะเลือดที่ ปรับปรุงตารางการ
ปลายน้วิ ครั้งท่ี 1) ปฏิบัติกิจกรรมใน 4
มิ ติ แ ล้ ว ทํ า ก า ร
สัปดาห์ท่ี 43 คณ ะผู้วิจัยนัดกลุ่ม พัฒนารูปแบบการ
ตัวอย่างทํ าการป ระเมิ นต าม แบ บ ดูแลสขุ ภาพผู้สูงอายุ
ประเมินระดบั ความรู้ การประเมินระดับ
ผลฝึกปฏิบัติตามหลัก กายภาวนา ศีล
ภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา

174

และการประเมินสุขภาวะ 9 รายการ ด้วยหลักพุทธธรรม

ด้วยแพทย์แผนปัจจุบัน (ปฏิบัติการทาง ฝึก

ชีวะเคมี เจาะเลือดที่ปลายน้ิวครั้งที่ 2) ปฏิบัติตามกิจกรรม

เพอ่ื ทาํ การเปรียบเทียบผลความรู้ ผลการฝกึ ต้ังแต่สัปดาห์ที่ 21

ปฏิบัติตามตารางกิจกรรมในการดูแลสุขภาพ ถึ งสั ป ด า ห์ ท่ี 3 3

ของผสู้ ูงอายดุ ว้ ยหลกั พุทธธรรมและผลสขุ ภาพ ปฏิบัติการทางชีวะ

4. ระยะสรุปผล มรี ายละเอยี ด ดังนี้ เค มี เจ าะเลื อด ท่ี
คณะผ้วู ิจัยจัดประชมุ ปิดโครงการวิจัย ป ลาย น้ิ วค ร้ังที่ 1
สั ป ด า ห์ ที่ 4 3
รายงานผลการปฏิบัติกิจกรรมตามท่ีแต่ ป ร ะ เมิ น ต า ม แ บ บ
ล ะ ก ลุ่ ม นํ าเส น อ ราย งาน ผ ล ก าร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ
ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ รายงาน ความรู้ การประเมิน
ผลสุขภาวะของกลมุ่ ตัวอย่างในภาพรวม ระดับผลฝึกปฏิบัติ
ข้อคิดเห็นและเสนอแนะจากทุกกลุ่มท่ี แล ะการป ระเมิ น
ร่วมเป็นภาคีจัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติใน 4 ปฏิบัติการทางชีวะ
มิติ คือกายภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา เค มี เจ าะเลื อด ที่
และปญั ญาภาวนา เพอ่ื ถอดเปน็ บทเรียน ปลายนิ้วครั้งที่ 2
นํามาเป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบ

การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลัก 6.ปฏิบตั ิกิจกรรม
พุทธธรรม แล้วจัดทําเป็นคู่มือการดูแล จั ด ป ร ะ ชุ ม ปิ ด
สุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม โครงการวจิ ยั
ต่อไป -ร า ย งา น ผ ล ก า ร

ปฏบิ ัติ

-รายงานผลสุขภาวะ

ของกลมุ่ ตวั อยา่ ง

-รับ ฟั งข้อ คิ ด เห็ น

และเสนอแนะจาก

ทกุ

-ถอดบทเรียนนํามา

เป็นแนวทางในการ

พัฒนารูปแบบการ

ดู แ ล สุ ข ภ าพ ข อ ง

ผู้สูงอายุด้วย

175

ภาคผนวก ง

- เคร่อื งมอื วิจยั
- แบบยินยอมเข้ารว่ มโครงการฯ
- แบบคัดกรองผู้สงู วยั
- หนังสือเชญิ

176

177

178

179

180

181

182

183

184

185

186


Click to View FlipBook Version