The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-13 10:41:22

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

87

ตารางท่ี 4.14 แสดงค่าร้อยละของรายงานผลการคัดกรองสุขภาพจิตท่ีพึงประสงค์ ตามแบบ

สัมภาษณ์ ดัชนีช้ีวัดสุขภาพจิตคนไทยฉบับส้ัน Thai Mental Health Indicator – 15

(TMHI – 15) จาแนกเป็นรายกอ่ นการเข้ารว่ มกจิ กรรมฯ (n = 25)

ระดบั เหตกุ ารณ์/อาการ

รายการประเมิน ไม่เลย เลก็ น้อย มาก มากทส่ี ดุ

ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ

1.ท่านรู้สึกพงึ พอใจในชวี ติ - 0.0 64.0 36.0 -
0.0 60.0 40.0 -
2.ทา่ นรู้สกึ สบายใจ
3.ท่านรู้สึกเบอ่ื หน่ายท้อแทก้ บั การดาเนิน 32.0 48.0 20.0 -
ชวี ิตประจาวัน 20.0 60.0 20.0 -
24.0 72.0 4.0 -
4.ทา่ นรสู้ ึกผดิ หวงั ในตัวเอง
0.0 51.0 12.0 36.0
5.ท่านร้สู ึกว่าชวี ติ ของท่านมีแตค่ วามทกุ ข์

6.ทา่ นสามารถทาใจยอมรบั ไดส้ าหรบั ปญั หา
ทยี่ ากจะแก้ไข(เมื่อมีปญั หา)

7.ทา่ นมนั่ ใจวา่ จะสามารถควบคมุ อารมณไ์ ด้ 0.0 52.0 24.0 24.0
เมอ่ื มเี หตุการณ์คบั ขันหรอื รา้ ยแรงเกดิ ขน้ึ
8.ทา่ นมัน่ ใจท่ีจะเผชญิ กบั เหตกุ ารณร์ า้ ยแรง 0.0 44.0 12.0 24.0
ทีเ่ กดิ ข้นึ ในชีวติ 0.0 76.0 24.0 -
9.ทา่ นรสู้ ึกเห็นอกเห็นใจเมือ่ ผู้อื่นมที ุกข์

10.ท่านรู้สกึ เปน็ สขุ ในการช่วยเหลอื ผอู้ ่นื ฯ 0.0 - 52.0 24.0 24.0
11.ท่านให้ความช่วยเหลือแก่ผอู้ ืน่ เม่ือมโี อกาส 0.0 40.0 32.0 24.0
12.ท่านรู้สกึ ภมู ิใจในตนเอง 0.0 40.0 32.0 24.0
13.ท่านรสู้ ึกม่นั คง ปลอดภยั เม่ืออยใู่ นครอบครวั 0.0 36.0 40.0 20.0
14.หากท่านปว่ ยหนักท่านเช่ือวา่ ครอบครัว
จะดูแลทา่ นเปน็ อย่างดี 0.0 32.0 44.0 24.0
15.สมาชิกในครอบครัวมคี วามรกั และผกู ผนั 0.0 6.0 36.0 48.0
25.3 49.5 29.1 16.5
เฉลยี่ ร้อยละ

จากตารางท่ี 4.14 พบว่า กลุ่มตัวอย่างท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการฝึกปฏิบัติตัวในการ
ดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมก่อนเข้าร่วมกิจกรรมเมื่อพิจารณาตาม
ดัชนีช้ีวัดสุขภาพจิตคนไทยฉบับส้ัน Thai Mental Health Indicator – 15 (TMHI – 15) มี
ระดับเหตุการณ์/อาการเล็กน้อยเฉล่ียร้อยละ 49.5 รองลงมามีระดับเหตุการณ์/อาการเฉล่ีย
ร้อยละ 29.1 ไม่มีอาการเลยร้อยละ 25.3 เม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่าสุขภาพจิตท่ีพึง
ประสงค์ เกี่ยวกับความรู้สึกเห็นอกเห็นใจเม่ือผู้อื่นมีทุกข์มีระดับเหตุการณ์/อาการเล็กน้อย
เฉล่ียร้อยละ76.0 รู้สึกว่าชีวิตของท่านมีแต่ความทุกข์เฉล่ียร้อยละ72.0 และที่มีค่าเฉลี่ยร้อย
ละน้อยท่ีสดุ ไดแ้ ก่ สมาชกิ ในครอบครวั มคี วามรักและผกู ผนั ตอ่ กัน เท่ากบั 16.0

88

ตารางท่ี 4.15 แสดงค่าร้อยละของรายงานผลการคัดกรองสุขภาพจิตที่พึงประสงค์ ตามแบบ
สัมภาษณ์ดชั นีชี้วัดสขุ ภาพจิตคนไทยฉบับส้ัน Thai Mental Health Indicator – 15 (TMHI
– 15) จาแนกเป็นช่วงคะแนนเม่ือแปลผลคิดเป็นคะแนนเต็ม 60 คะแนนก่อนการเข้าร่วม
กิจกรรม
(n = 25)

ช่วงคะแนน จานวน(คน) รอ้ ยละ แปลผล
30 -35 5 30.0
36-40 6 24.0 สขุ ภาพจติ ตา่ กว่าคนทัว่ ไป
41-45 8 32.0 สขุ ภาพจิตต่ากวา่ คนทว่ั ไป
46-50 6 24.0 สขุ ภาพจิตเท่ากับคนทัว่ ไป
51-55 - - สุขภาพจติ เทา่ กบั คนทัว่ ไป
56-60 - - สขุ ภาพจติ ดกี วา่ คนทวั่ ไป
รวม 25 100 สุขภาพจิตดกี วา่ คนทัว่ ไป

จากตารางที่ 4.15 พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมกิจกรรมการฝึกปฏิบัติตัวในการดูแล
สุขภาพตนเองของผู้สูงอายดุ ว้ ยหลักพทุ ธธรรมก่อนเขา้ รว่ มกิจกรรมเมื่อพิจารณาตามดชั นชี ้วี ัดสุขภาพจิต
คนไทยฉบับส้ัน Thai Mental Health Indicator – 15 (TMHI – 15) เม่ือแปลผลคิดเป็นคะแนนเต็ม
60 คะแนน มีสุขภาพจิตเทา่ กับคนท่ัวไปคิดเป็นรอ้ ยละ 56.0 มสี ขุ ภาพจิตต่ากว่าคนทั่วไปรอ้ ยละ 54.0

89

ตารางท่ี 4.16 แสดงค่าร้อยละของผลการประเมินข้อเข่าเสื่อม ตามแบบสอบถาม modified
WOMAC ฉบับภาษาไทย ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศ จาแนกเป็นรายข้อก่อนการเข้า
รว่ มกจิ กรรมฯ (n = 25) ด้านอาการปวดข้อ (pain dimension)

รายการประเมิน ระดับอาการ
ไม่ปวดเลย ปวดเลก็ น้อย ปวดปานกลาง ปวดมาก ปวดมากจนทนไม่ได้
รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

1. ปวดขณะเดิน 33.3 13.4 40.0 13.3 -
26.7 40.0 6.7 -
2. ปวดขณะขึ้นลงบนั ได 20.0 40.1 20.0 6.7 -
33.3 6.7 - -
3. ปวดขอ้ ตอนกลางคืน 26.7
60.0 26.7 - -
4. ปวดขอ้ ขณะอย่เู ฉยๆ 60.0

5. ปวดขอ้ ขณะยนื ลง

น้าหนัก 13.3

(ขาขา้ งน้นั รบั นา้ หนกั ตัว)

เฉลี่ยร้อยละ 30.7 34.7 26.7 5.3 -

จากตารางท่ี 4.16 ผลการประเมินข้อเข่าเส่ือม ตามแบบสอบถาม modified WOMAC ฉบับ
ภาษาไทย ราชวิทยาลยั แพทยอ์ อร์โธปิดิกส์แห่งประเทศ ด้านอาการปวดข้อ พบวา่ มีอาการปวดเล็กน้อย
มคี ่าเฉลี่ยร้อยละ 34.7 รองลงมาไม่ปวดเลยเฉลีย่ ร้อยละ 30.7 ปวดปานกลางเฉลยี่ ร้อยละ 26.7 แต่เม่ือ
พิจารณาเปน็ รายข้อพบว่า มอี าการปวดเล็กน้อยขณะยนื ลงน้าหนัก เฉลยี่ รอ้ ยละ 60.0 ปวดมากในขณะ
เดินเฉลี่ยรอ้ ยละ 13.3

90

ตารางที่ 4.17 แสดงค่าร้อยละของผลการประเมินข้อเข่าเสื่อม ตามแบบสอบถาม modified
WOMAC ฉบับภาษาไทย ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศ จาแนกเป็นรายข้อก่อนการเข้า
รว่ มกิจกรรมฯ (n = 25) ดา้ นอาการขอ้ ฝืด ขอ้ ยดื (stiffness dimension)

ระดบั อาการ

รายการประเมิน ไมฝ่ ดื เลย ฝดื เลก็ น้อย ฝืดมาก ฝืดมากทีส่ ดุ

1. ข้อฝืดชว่ งเช้า (ขณะตน่ื นอน) ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ
2. ขอ้ ฝดื ในช่วงระหว่างวนั
13.3 86.7 - -
เฉล่ยี รอ้ ยละ
33.3 66.7 - -
23.3 76.7 - -

จากตารางที่ 4.17 ผลการประเมินข้อเข่าเส่ือม ตามแบบสอบถาม modified WOMAC
ฉบับภาษาไทย ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศ ด้านอาการข้อข้อฝืด-ข้อยืด เมื่อพิจารณา
ในภาพรวมพบว่า มีอาการฝืดเล็กน้อยเฉล่ียร้อยละ 76.7 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีอาการฝืด
ชว่ งเชา้ (ขณะตน่ื นอน)มีอาการฝดื เลก็ นอ้ ยเฉล่ียรอ้ ยละ 86.7

91

ตารางท่ี 4.18. แสดงค่าร้อยละของผลการประเมินข้อเข่าเสื่อม ตามแบบสอบถาม modi fied
WOMAC ฉบับภาษาไทย ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศ จาแนกเป็นรายข้อก่อน
การเขา้ ร่วม กิจกรรมฯ (n = 25) ระดบั ความสามารถในการใช้งาน(Function dimension)

ระดบั ความสามารถในการใชง้ าน

รายการประเมิน ทาได้ดีมาก ทาได้เลก็ นอ้ ย เปน็ ปญั หามาก เปน็ ปัญหามากท่สี ดุ

รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

1. การลงบนั ได 20.0 53.3 13.4 -
40.0 26.7 13.4
2. การขึน้ บนั ได 20.0 46.6 33.4
-
3. การลุกยนื จากทา่ นง่ั 20.0 46.7 33.3
60.0 6.7 6.7
4. การยนื 13.3 59.9 13.4 -
6.7
5. การเดินบนพ้ืนราบ 20.0

6. การขน้ึ ลงรถยนต์ 6.7

7. การไปซ้ือ ของนอกบา้ น

หรอื การไปจา่ ยตลาด 6.7 46.7 20.0 20.0

8. การใสก่ างเกง 6.7 40.1 40.0 13.4

9. การลกุ จากเตยี ง 6.7 53.4 20.0 20.0

10. การถอดกางเกง 6.7 53.3 26.7 13.4

11. การเข้าออกจากห้องอาบนา้ 6.7 73.3 20.0 -

12. การนงั่ 6.7 80.0 13.4 -

13. การเขา้ -ออกจากสว้ ม 6.7 66.6 26.6 -

14. การทางานบา้ นหนักๆ 6.7 46.7 26.7 20.0

15. การทางานบ้านเบาๆ 6.7 73.3 20.0 -

เฉล่ยี รอ้ ยละ 11.3 56.0 14.2 7.6

จากตารางที่ 4.18 ผลการประเมินข้อเข่าเส่ือม ตามแบบสอบถาม modified WOMAC
ฉบับภาษาไทย ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศ เมื่อพิจารณาในภาพรวมพบว่าระดับ
ความสามารถในการใช้งาน สามารถทาได้เล็กน้อยมีค่าเฉล่ียร้อยละ 56.0 รองลงมามีปัญหามากเฉล่ีย
ร้อยละ 14.2 สามารถทางานได้ดีมากเฉล่ยี ร้อยละ 11.3 มปี ัญหามากเฉลย่ี รอ้ ยละ 7.6 เมื่อพจิ ารณาเป็น
รายข้อพบว่า การใช้งานที่มีปัญหามากสุด ได้แก่ การไปซ้ือ ของนอกบ้านหรือการไปจ่ายตลาด การลุก
จากเตยี งและการทางานบา้ นหนกั ๆ มคี ่าเฉล่รี ้อยละ 20.0 ตามลาดับ

92

ตารางท่ี 4.19 แสดงคา่ รอ้ ยละของผลการตรวจสอบสภาพร่างกายดว้ ยแพทยแ์ ผนไทยปจั จุบนั ตาม
รายการตรวจสุขภาพ จาแนกเป็น 9 รายการตามสุขภาวะของกลุ่มตัวอย่างก่อนการเข้า
รว่ มกจิ กรรม (n = 24)

ผลการตรวจสอบสภาพรา่ งกาย

ราย ก าร ปกติ ไมป่ กติ
ตรวจสอบ
จานวน(คน) รอ้ ยละ จานวน(คน) รอ้ ยละ
นา้ ตาล (FBS)
การทางานของไต(Creatinine) 18 75.0 6 25.0
เกาท์ (Uric acid)
ไขมนั โคเลสเตอรอล(Choresterol) 24 100 --
ไขมันไตรกลเี ซอร์ไรด(์ Triglyceride)
ไขมนั ดี(HDL-C) 21 87.5 3 12.5
ไขมันเลว(LDL-C)
การทางานของตบั (AST) 9 37.5 15 62.5
การทางานของตบั (ALT)
16 66.7 8 33.3
เฉลยี่ ร้อยละ
24 100 --

14 58.3 10 41.7

21 87.0 3 12.5

21 87.5 3 12.5

77.7 22.3

จากตารางท่ี 4.19 ผลการตรวจสอบสภาพร่างกายด้วยแพทย์แผนไทยปัจจุบัน ตามรายการ
ตรวจสุขภาพพบว่า ภาวะสุขภาพมีภาวะปกติเฉลี่ยร้อยละ 77.7 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าการ
ทางานของไต(Creatinine) ไขมันดี(HDL-C) มีภาวะเป็นปกติเฉลี่ยรอ้ ยละ 100 ด้านไขมนั โคเลสเตอรอล
(Choresterol) และไขมันเลว(LDL-C) มีภาวะไม่ปกตเิ ฉลี่ยรอ้ ยละ 62.5,41.7 ตามลาดับ

93

เมื่อคณะผู้วิจัยนาเสนอผลการประชุมวางแผนแบบมีส่วนร่วม พร้อมทั้งผลการประเมินสุข
ภาวะของผ้สู งู อายุแล้ว จึงไดด้ าเนินการจัดกจิ กรรมตอ่ ไปดงั น้ี

1) การจัดเวทีให้ความรู้เก่ียวกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ และการฝึกปฏิบัติตนเองใน
การดูแลสุขภาพผสู้ ูงอายุ บรรยายโดยเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล
ใช้เวลาบรรยาย 1 ชว่ั โมง

2) การให้ความรู้ด้วยการบูรณาการหลักพุทธธรรม ได้แก่ พละ 5 อิทธิบาท 4 และภาวนา
4 เพื่อสร้างความตระหนัก แล้วเกิดความมุ่งม่ันท่ีจะพัฒนาร่างกายและจิตใจตนเองให้มีสุขภาพสมบูรณ์
บรรยายโดยเจ้าอาวาสวัดสคุ นธาราม เจา้ อาวาสวัดองค์พระ อาเภอดา่ นช้าง ใช้เวลาบรรยาย 1 ชว่ั โมง

3) นาเสนอร่างรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมเพื่อขอรับความคิดเห็น
เพ่ิมเติมและการแก้ไขปัญหาให้ตรงกับความต้องการของผู้สูงอายุ ท่ีประชุมร่วมมีมติให้ดาเนินการตาม
หลักการดงั ตอ่ ไปน้ี

3.1 จัดทาตารางปฏิบตั กิ ิจกรรมประจาวนั ทสี่ อดคล้องกับบรบิ ทและวิถีชีวิตของชมุ ชน
3.2 ฝกึ การทาสมาธบิ าบัด (k1- k 5) ฝึกการเดนิ จงกรม ฝกึ การนงั่ สมาธิ สวดมนต์
3.3 จัดใหม้ กี ารบริการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและคัดกรองความเสย่ี ง
3.4 การพฒั นาผ้สู ูงอายุสูก่ ารมสี ุขภาพสมบูรณด์ ว้ ยหลักพทุ ธธรรม
3.5 สง่ เสรมิ ให้ทุกภาคสว่ นในชุมชนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายุ
3.6 จัดให้มีการตรวจสุขภาวะแบบ “ปฏบิ ตั ิการทางชวี ะเคมี”

94

4.3 การดาเนินงานตามแผน/โครงการ/กิจกรรมทไ่ี ด้จากการประชุมวางแผนแบบมสี ่วน
รว่ ม ประกอบด้วย

4.3.1 การจัดทาตารางกิจกรรมการพัฒนาสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมของ
กลมุ่ ตวั อย่าง

วนั เวลา/ กิจกรรม
- กจิ กรรมสวดมนต์
05.30-06.15 น. นั่งสมาธิ
- ออกกาลงั กาย/เดนิ /วง่ิ เหยาะ ๆ
06.50-7.00 น. อาบนา้ /-รับประทานอาหารเช้า
- กิจกรรมพกั ผ่อนตามอัธยาศยั
07.00–7.30 น.
รับประทานอาหารกลางวัน
08.00–9.00 น.. พกั ผอ่ นตามอธั ยาศัย เชน่ นอน/ดูหนงั /ฟงั เพลง/ฟังธรรม/
ร้องเพลง/พดู คุยกบั เพอ่ื นบ้าน
วนั อาทติ ย์ 09.00-12.00 น ร่วมงานกิจกรรมชุมชน/สังคม(ถ้ามี) หรือออกกาลังกาย
ถงึ 12.00-13.00 น. เดิน/วิ่ง/กิจกรรมแอโรบิค/กิจกรรมลีลาศ/กิจกรรมราวง/
สมาธบิ าบัด/เดินจงกรม
วันเสาร์ 13.00–15.00 น อาบนา้

16.00–17. 40 น. รบั ประทานอาหารเย็น(งดเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์)

18.00 พกั ผอ่ นตามอธั ยาศัย
18.30-19.00
19.30–21.00 น สวดมนต์/น่ังสมาธิ
21.00–22 น.
22.00 น–05.00 น พักผอ่ นดว้ ยการนอน

หมายเหตุ

1) ตารางน้ีได้รับความเห็นชอบจากผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมการวิจัย
2) ท่านสามารถปรับเปลย่ี นเวลา กิจกรรม ให้สอดคลอ้ งกับการดาเนินชีวติ ของทา่ นได้เสมอ
3) อยากมีอายยุ นื นาน ต้องอดทน และฝึกปฏิบัตอิ ย่างตอ่ เนอ่ื งจึงจะเกิดผลดตี อ่ สุขภาพ

4.3.2 การประเมินระดับความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย
หลกั พทุ ธธรรม

1) การเปรียบเทียบระดบั ความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย
หลกั พทุ ธธรรม ในภาพรวม ระหว่างกอ่ นและหลังการเข้ารว่ มกิจกรรมฯ

95

เกณฑก์ ารพิจารณา
คะแนนร้อยละ 80 ขึน้ ไป มีความรู้ระดับสงู
คะแนนร้อยละ 60-79 มคี วามรูร้ ะดบั ปานกลาง
คะแนนตา่ กว่า 60 มีความรู้ระดับตา่

ตารางท่ี 4.20 แสดงการเปรยี บเทยี บค่าเฉลย่ี รอ้ ยละของระดบั ความรู้ในการพัฒนารปู แบบการดูแล
สุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ในภาพรวม ระหว่างก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมฯ
(n = 25)

ระดบั ความรู้ในการพฒั นารปู แบบ กอ่ นเข้ารว่ มกจิ กรรม หลงั เข้าร่วมกิจกรรม ผลต่าง
การดแู ละสุขภาพของผสู้ ูงอายุ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

ความรรู้ ะดบั สูง 79.4 89.1 9.7
ความรู้ระดบั ปานกลาง 17.1 8.6 8.5
ความรู้ระดบั ต่า 3.5 2.3 1.2

จากตารางท่ี 4.20 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละของระดับความรู้ในการพัฒนา
รูปแบบการดแู ลสขุ ภาพของผู้สงู อายุด้วยหลกั พุทธธรรม ระหว่าง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวม พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ มีระดับความรู้
สงู ในการดูแลสุขภาพตนเองเฉล่ียร้อยละ 79.4 มีระดับความรู้ปานกลาง เฉล่ียร้อยละ 17.1 และความรู้
ในระดบั ต่าเฉลยี่ ร้อยละ 3.5

และหลังการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวม พบว่ามีระดับความรู้สูงในการดูแล
สุขภาพตนเอง เฉล่ียร้อยละ 89.1 และมีระดับความรู้สูงเพ่ิมข้ึนร้อยละ 9.7 มีระดับความรู้ปานกลาง
เฉล่ยี รอ้ ยละ 8.6 และความรรู้ ะดบั ต่าลดลงเฉลย่ี ร้อยละ 1.2

กราฟท่ี 4.1 แสดงการเปรียบเทยี บระดับความรกู้ อ่ นและหลงั ก่อนการปรบั ปรุงรูปแบบ

กราฟแสดงการเปรยี บเทียบระดับความร้ใู นการดแู ลสุขภาพตนเอง

100

50

0 หลังเขา้ รว่ ม ผลต่าง
ก่อนเข้าร่วม กจิ กรรม
กิจกรรม ความรรู้ ะดับตา่
ความรู้ระดบั ปานกลาง
ความรรู้ ะดับสงู

96

2) การเปรียบเทียบระดับความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย
หลกั พุทธธรรม จาแนกเปน็ รายด้าน ระหวา่ งกอ่ นและหลังการเขา้ ร่วมกิจกรรมฯ

ตารางที่ 4.21 แสดงการเปรียบเทียบค่าร้อยละของระดับความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพ

ของผู้สูงอายุด้วยหลกั พุทธธรรม จาแนกเป็นรายดา้ น ระหว่างก่อนการปรับปรุงรูปแบบและ

หลงั การปรับปรงุ รูปแบบ (n = 25)

ระดบั ความรู้ในการพัฒนารปู แบบ ก่อนการปรับปรุงรูปแบบ หลังการปรบั ปรงุ รปู แบบ ผลตา่ ง

การดูและสขุ ภาพของผ้สู ูงอายุ จานวน(คน) รอ้ ยละ จานวน(คน) ร้อยละ รอ้ ยละ

การพฒั นากาย(กายภาวนา)

ความร้รู ะดบั สูง 24 96.0 22 88.0 8.0

ความรู้ระดบั ปานกลาง 0 - 0.0 3 12.0 12.0

ความร้รู ะดับต่า 1 4.0 0 0.0 0.0

การเขา้ ร่วมกิจกรรมทางสงั คม(ศีลภาวนา)

ความรู้ระดับสูง 21 84.0 23 92.0 8.0
ความรู้ระดบั ปานกลาง 0 0.0 1 4.0 4.0 -
ความรู้ระดับต่า 4 16.0 1 4.0 12.0
ความรูด้ ้านการพฒั นาจติ (จิตภาวนา)
100 4.0
วามรู้ระดบั สงู 24 96.0 25 0.0 -
ความรู้ระดบั ปานกลาง 1 4.00 0.0
ความรู้ระดบั ตา่ ) 0 0.0 68.0 16.0
24.0 8.0
ความรู้ด้านการพฒั นาองค์ความร(ู้ ปญั ญาภาวนา) 4.0 12.0

ความรรู้ ะดับสูง 13 52.0 17
32.0 6
ความรรู้ ะดับปานกลาง 8 16.0 1

ความรรู้ ะดบั ต่า 4

ความรดู้ ้านการดูแลอนามัยสว่ นบคุ คล 19 76.0 21 84.0 8.0
ความรรู้ ะดับสงู 6 24.0 4 16.0 8.0
ความรู้ระดับปานกลาง 0 0.0 0 0.0 0.0
ความรรู้ ะดับต่า
18 72.0 24 96.0 24.0
ความรู้ดา้ นการป้องกนั โรค 7 28.0 1 4.0 24.0
ความรู้ระดบั สูง 0 0.0 0 0.0 0.0
ความรรู้ ะดบั ปานกลาง
ความรู้ระดบั ต่า

97

ตารางที่ 4.21 (ตอ่ ) ก่อนการปรบั ปรุงรูปแบบ หลงั การปรบั ปรุงรูปแบบ ผลต่าง
จานวน(คน) ร้อยละ จานวน(คน) รอ้ ยละ รอ้ ยละ
ระดับความรใู้ นการพฒั นารูปแบบ
การดูและสุขภาพของผู้สงู อายุ 20 80.0 24 96.0 16.0
0 0.0 0 0.0 0.0
ความรดู้ ้านการดูแลสุขภาพจติ 5 20.0 1 4.0 16.0
ความรู้ระดับสูง
ความร้รู ะดบั ปานกลาง
ความรูร้ ะดบั ตา่

เฉลยี่ รอ้ ยละของความรู้ระดบั สูง 79.4 89.1 9.7
เฉล่ียรอ้ ยละของความรู้ระดบั ปานกลาง 17.1 8.6 8.5
เฉล่ยี รอ้ ยละของความรู้ระดับต่า 3.5 2.3 1.2

จากตารางที่ 4.21 ผลการเปรียบเทียบระดับความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพ
ของผสู้ งู อายดุ ว้ ยหลักพุทธธรรม ระหวา่ ง

ก่อนเข้าร่วมกิจกรรมการดาเนินงานตามโครงการวิจัย พิจารณาในภาพรวม พบว่า ส่วน
ใหญ่มีระดับความรู้ถูกต้องทุกด้านเฉล่ียร้อยละ 79.4 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีระดับความรู้
ถกู ตอ้ งสูงมากที่สดุ ได้แก่ ด้านการพัฒนากาย(กายภาวนา)และด้านการพัฒนาจิต(จิตภาวนา) คิดเป็นร้อย
ละ 100 ดา้ นท่ีมีระดับความรถู้ ูกต้องน้อยท่ีสุด ได้แก่เร่ืองการพัฒนาองค์ความรู้(ปัญญาภาวนา) คิดเป็น
รอ้ ยละ 52.0

และหลังการเข้าร่วมกิจกรรมการดาเนินงานตามโครงการวิจัยแล้ว พบว่า ส่วนใหญ่มี
ระดับความรู้ถูกต้องทุกด้านเฉลี่ยร้อยละ 89.1 มีระดับความรู้ถูกต้องเพิ่มข้ึนร้อยละ 9.7 เม่ือพิจารณา
เป็นรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่มีระดับความรู้ถูกต้องสูงมากท่ีสุดในด้านการพัฒนาจติ (จิตภาวนา) คิดเป็น
ร้อยละ 100 รองลงมาได้แก่ ความรู้ด้านการป้องกันโรค และความรู้ด้านการดูแลสุขภาพจิตร้อยละ
96.0 ด้านที่มีระดับความรู้ถูกต้องน้อยท่ีสุดได้แก่ ความรู้เรื่องการพัฒนาองค์ความรู้(ปัญญาภาวนา) คิด
เปน็ รอ้ ยละ 68.0

3) ผลการเปรียบเทยี บความรใู้ นการดแู ลสขุ ภาพตนเองของผู้สงู อายดุ ้วยหลักพุทธธรรม
ในภาพรวมก่อนและหลงั การเขา้ รว่ มกจิ กรรมฯ

98

ตารางท่ี 4.22 จานวนร้อยละของความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม
ด้านการพัฒนากาย(กายภาวนา) จาแนกเป็นรายข้อ ระหว่างก่อนการปรับปรุงรูปแบบและ
หลังการปรบั ปรงุ รปู แบบ (n =25)

ระดับความรใู้ นการพัฒนารปู แบบ กอ่ นการปรับปรงุ รปู แบบ หลังการปรบั ปรงุ รูปแบบ
การดูและสขุ ภาพของผู้สูงอายุ
ถกู ต้อง ไม่ถกู ตอ้ ง ถูกตอ้ ง ไม่ถูกตอ้ ง ผลต่าง
ด้วยหลกั พุทธธรรม
ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

1. ทา่ นควรดื่มน้าสะอาดอย่างน้อยวันละ

6-8 แกว้ ซึง่ จะชว่ ยในการขับถ่ายสะดวก

และระบายของเสียออกจากรา่ งกาย 100 0.0 100 0.0 0.0
4.0 100 0.0 0.0
2. อาหารที่เหมาะกับท่านควรเป็นอาหารออ่ น 0.0 100 0.0 0.0
40.0
หรืออาหารทม่ี กี ากและรสชาติไมจ่ ัด 96.0
64.0
3. ทา่ นจาเปน็ ต้องรับประทานอาหารจาพวกผกั ผล 0.0

ไม้ทุกวันเพราะจะชว่ ยป้องกันโรคทอ้ งผกู 100 8.0
4.0
4. ทา่ นจาเปน็ ต้องรับประทานอาหารใหเ้ พียงพอ

ตอ่ ความต้องการของร่างกาย โดยเฉพาะอาหาร

ประเภท ข้าว เน้ือสตั ว์ นม ผักและผลไม้ 60.0 100 0.0 0.0

5. หากท่านรบั ประทานอาหารทีม่ ไี ขมันสงู เช่น

เนอื้ สัตวต์ ดิ มนั หรอื กะทิหรอื น้าตาล จะทา

ใหม้ ีไขมนั ในเลอื ดสงู ทาให้เสย่ี งตอ่ การเกดิ โรค

หวั ใจขาดเลอื ด 36.0 72.0 18.0 12.0
92.0 8.0 8.0
6. การรับประทานอาหารประเภทปลาเล็กปลานอ้ ย

ผกั ผลไมแ้ ละการด่มื นมช่วยให้ร่างกายของทา่ น

สามารถปอ้ งกนั โรคกระดกู ผุได้ 100

7. ถ้าทา่ นรบั ประทานอาหารประเภท เมลด็ พชื

ท้ังเมลด็ ถ่วั ข้าวกล้อง ผักตา่ งๆเปน็ ประจา

จะทาให้ลดอาการทอ้ งอืดทอ้ งผูก

และขบั ถา่ ยสะดวกมากขึ้น 92.0 88.0 12.0 4.0
84.0 16.0 12.0
8. การออกกาลังกายอยา่ งสม่าเสมอจะชว่ ยลด

และควบคุมนา้ หนกั ตวั ระดับน้าตาล

และไขมันในเลือดของทา่ นได้ 96.0

99

ตารางที่ 4.22 (ต่อ) กอ่ นการปรับปรุงรูปแบบ หลงั การปรบั ปรุงรูปแบบ

ระดับความรใู้ นการพฒั นารูปแบบ ถกู ต้อง ไมถ่ ูกต้อง ถกู ตอ้ ง ไม่ถกู ต้อง ผลตา่ ง
การดแู ละสุขภาพของผสู้ งู อายุ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

ดว้ ยหลกั พทุ ธธรรม 88.0 12.0 84.0 16.0 4.0

9. การปั่นจักรยานเบาๆ การเดนิ อย่างเรว็ 96.0 4.0 80.0 20.0 4.0
การวิ่งเหยาะ ๆ การทากายบรหิ ารด้วย 86.4 13.6 90.8 9.2 4.4

ท่าทางตา่ งๆ ถอื วา่ เปน็ การออกกาลงั กาย
ท่เี หมาะสมกับทา่ น
10. ทา่ นไมค่ วรออกกาลังกายถ้ารู้สกึ เหนื่อย
หรือไมส่ บาย

เฉลีย่ รอ้ ยละ

จากตารางที่ 4.22 ผลการเปรียบเทียบความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของ
ผูส้ ูงอายุดว้ ยหลักพทุ ธธรรม ด้านการพัฒนากาย(กายภาวนา) ระหว่าง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับมีระดับความรู้สูงเฉลี่ยร้อย
ละ 86.4 เม่อื พิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่ามรี ะดับความร้สู งู มากที่สุดในเรอ่ื ง การดม่ื น้าสะอาดอย่างนอ้ ย
วันละ 6-8 แกว้ ซึ่งจะช่วยในการขับถ่ายสะดวกและระบายของเสียออกจากร่างกาย ความจาเป็นต้อง
รับประทานอาหารจาพวกผกั ผลไมท้ ุกวนั เพราะจะช่วยป้องกันโรคท้องผูก และการรบั ประทานอาหาร
ประเภทปลาเล็กปลาน้อย ผักผลไม้และการดม่ื นมช่วยให้ร่างกายของท่านสามารถป้องกันโรคกระดูก
ผุได้ คิดเป็นร้อยละ 100 ตามลาดับ ข้อท่ีมีมีระดับความรู้น้อยท่ีสุดได้แก่ การรับประทานอาหารที่มี
ไขมันสูง เช่น เนื้อสัตว์ติดมันหรือกะทิหรือน้าตาล จะทาให้มีไขมันในเลือดสูงทาให้เสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจขาดเลือดคิดเปน็ ร้อยละ 36.0

และหลังการปรับปรุงรูปแบบฯ พจิ ารณาในภาพรวมมีมีระดับความรู้สูงเฉล่ียรอ้ ยละ 90.08
และมีระดับความรู้สูงเพ่ิมข้ึนร้อยละ 4.4 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามีระดับความรู้สูงมากที่สุดใน
เรื่อง ควรด่ืมน้าสะอาดอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว ซึ่งจะช่วยในการขับถ่ายสะดวกและระบายของเสีย
ออกจากร่างกาย อาหารที่เหมาะกับท่านควรเป็นอาหารอ่อนหรืออาหารที่มีกากและรสชาติไม่จัด
ทา่ นจาเปน็ ต้องรบั ประทานอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายโดยเฉพาะอาหารประเภท
ขา้ ว เนื้อสัตว์ นม ผักและผลไม้ และท่านมีความจาเป็นต้องรับประทานอาหารจาพวกผักผลไม้ทุกวัน
เพราะจะช่วยป้องกันโรคท้องผูก คิดเป็นร้อยละ 100 ตามลาดับ ข้อที่มีระดับความรู้น้อยท่ีสุด ได้แก่
หากท่านรบั ประทานอาหารท่ีมีไขมันสูง เช่น เนื้อสัตว์ติดมันหรือกะทิหรือน้าตาลจะทา ให้มีไขมันใน
เลอื ดสูงทาใหเ้ สย่ี งตอ่ การเกิดโรคหวั ใจขาดเลอื ดคดิ เปน็ รอ้ ยละ 72.0

100

ตารางท่ี 4.23 จานวนร้อยละของความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม
ดา้ นการเข้าร่วมกิจกรรมทางสงั คม (ศีลภาวนา) จาแนกเป็นรายข้อ ระหวา่ งก่อนการปรับปรุง
รูปแบบและหลงั การปรบั ปรงุ รูปแบบ (n =25)

ระดบั ความรูใ้ นการพฒั นารูปแบบ กอ่ นการปรบั ปรุงรปู แบบ หลงั การปรบั ปรุงรูปแบบ
การดแู ละสุขภาพของผู้สูงอายุ
ถกู ต้อง ไม่ถกู ต้อง ถูกตอ้ ง ไม่ถูกต้อง ผลตา่ ง
ด้วยหลักพุทธธรรม ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

1. ถา้ ทา่ นปล่อยให้เกดิ ความวติ กกงั วลอย่เู สมอจะทาให้ 80.0 20.0
เกดิ โรคความดนั โลหติ สูงได้ 80.0 20.0
96.0 4.0
2. ทา่ นเข้ารว่ มถอื ศลี หรอื ปฏบิ ัติกิจกรรมทวี่ ดั 88.0 12.0
3. ทา่ นไปทาบุญทว่ี ัดในวนั พระหรือวันสาคัญทางศาสนา
4. ทา่ นฟงั เทศนฟ์ ังธรรมในวันพระหรือวันสาคญั ทางศาสนา 88.0 12.0
5. ทา่ นมีความสุขเมอ่ื ได้ตดิ ต่อกับเพ่ือนฝูงอยู่เสมอ
84.0 16.0
หรือการทาบญุ การเขา้ รว่ มกิจกรรมงานประเพณตี า่ งๆ
ในชมุ ชน เปน็ ต้น 100 -
6. ท่านเข้าร่วมกิจกรรมทว่ี ัดจัดขึ้น เชน่ ไปช่วยงานวัด
ทอดกฐิน 96.0 4.0
7. ท่านชว่ ยดแู ลรกั ษาสิง่ แวดล้อมและสมบัตสิ าธารณะ 92.0 8.0
68.0 42.0
ของหมบู่ า้ น 87.2 12.8
8. ท่านชว่ ยกจิ กรรมพัฒนาหมู่บา้ น เช่น ทาความสะอาด

ปลูกต้นไม้ เม่อื มีโอกาส
9. ท่านเข้ารว่ มในการทาประชาคมหมู่บา้ น
10. ท่านเป็นที่ปรึกษาให้กบั บุคคลหรือองค์กรเมื่อมีโอกาส

เฉลยี่ ร้อยละ

จากตารางท่ี 4.23 ผลการเปรียบเทียบความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของ
ผสู้ งู อายดุ ้วยหลกั พุทธธรรม ด้านการเขา้ ร่วมกิจกรรมทางสงั คม(ศลี ภาวนา) ระหว่าง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มรี ะดบั ความรสู้ ูงเฉลี่ยร้อยละ 88.0
เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามีระดับความรู้สูงมากที่สุดในเรื่อง การช่วยดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมและ
สมบัติสาธารณะของหมู่บ้านคิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมาได้แก่ การไปทาบุญที่วัดในวันพระหรือวัน
สาคัญทางศาสนา และชว่ ยกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้าน เช่น ทาความสะอาดปลูกต้นไม้ เมื่อมีโอกาส คิดเป็น
ร้อยละ 96.0 ตามลาดับ ข้อที่มีระดับความรู้น้อยท่ีสุด ได้แก่ เป็นท่ีปรึกษาให้กับบุคคลหรือองค์กรเมื่อมี
โอกาสคิดเปน็ รอ้ ยละ 68.0.

และหลังการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับความรู้สูงเฉล่ียร้อยละ
92.0 และมีระดับความรู้สงู เพิ่มขนึ้ ร้อยละ 4.0 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามีระดับความรู้สูงมากท่ีสุด

101

ในเร่ือง การช่วยดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมและสมบัติสาธารณะของหมู่บ้านคิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมา
ได้แก่เรื่อง การไปทาบุญท่ีวัดในวันพระหรือวันสาคัญทางศาสนา และช่วยกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้าน เช่น
ทาความสะอาดปลูกต้นไม้ เม่ือมีโอกาส คิดเป็นร้อยละ 96.0 ตามลาดับ ข้อท่ีมีระดับความรู้น้อยที่สุด
ได้แก่ ถ้าท่านปล่อยให้เกิดความวิตกกังวลอยู่เสมอจะทาให้เกิดโรคความดันโลหิตสูงได้ คิดเป็นร้อยละ
84.0

102

ตารางท่ี 4.24 แสดงการเปรยี บเทยี บจานวนรอ้ ยละของความรใู้ นการพัฒนารปู แบบการดแู ลสุขภาพ
ของผสู้ ูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ดา้ นการพัฒนาจติ (จิตภาวนา) จาแนกเป็นรายข้อ ระหวา่ ง
กอ่ นการปรับปรุงรปู แบบและหลังการปรบั ปรุงรูปแบบ (n =25)

ระดับความรูใ้ นการพัฒนารูปแบบ กอ่ นการปรบั ปรงุ รปู แบบ หลังการปรบั ปรงุ รูปแบบ
การดูและสุขภาพของผู้สงู อายุ
ถกู ต้อง ไม่ถกู ตอ้ ง ถูกต้อง ไม่ถูกตอ้ ง ผลต่าง
ดว้ ยหลกั พทุ ธธรรม ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ

1. ถา้ ท่านมีอารมณ์โกรธบอ่ ยๆ จะทาให้

เกิดความเครยี ด 56.0 44.0 80.0 20.0 24.0
0.0 100 0.0 0.0
2. เมอ่ื ทา่ นทาส่งิ ทท่ี าใหม้ ีความสุขช่วยทาให้
0.0
ร่างกายท่านสดชน่ื และมีชีวิตชวี า 100
4.0
3. สิ่งทท่ี าแล้วมคี วามสขุ ของแต่ละคนอาจ 16.0
0.0
เหมอื นหรอื แตกต่างกนั ไป แต่ต้องเกิด
0.0
ประโยชนต์ อ่ ตัวเองสังคมและไม่เบยี ดเบยี นผอู้ ่ืน 100 100 0.0 0.0
8.0
4. ทา่ นควรเลอื กทาในสิ่งท่ชี อบ และมีความ 4.0

สนุกสนาน เหมาะกับความรปู้ ระสบการณ์เก่าๆ 4.0
8.0
ทม่ี ีอย่แู ล้ว 96.0 96.0 4.0 0.0

5. ท่านมีงานอดิเรกทาในชวี ิตประจาวัน เชน่ 96.0 4.0 12.0
100 0.0 0.0
อ่านหนังสอื หรือสง่ิ อืน่ ที่ท่านอยากทา 84.0

6. บคุ คลในครอบครวั ชื่นชมเมือ่ ทา่ นสุขภาพดี 100

7. เมอื่ ทา่ นเจบ็ ป่วยรู้สกึ ไม่สบายบคุ คลใน

ครอบครัวถามถึงอาหารเจ็บป่วยของท่านด้วย

ความเป็นห่วง 100 96.0 4.0 4.0

8. แมจ้ ะมีความขัดแย้งเกิดข้ึนในครอบครัว

ของทา่ นบคุ คลในครอบครัวก็ยังพดู กบั ท่าน

ด้วยเหตุผลและใสใ่ จในความเป็นอยู่ของทา่ น 92.0 96.0 4.0 4.0
96.0 4.0 0.0
9. บุคคลในครอบครวั คอยให้กาลงั ใจ เมื่อท่าน

ร้สู ึกท้อแทจ้ ากปญั หาส่วนตัวและการเจ็บป่วย 96.0

10 ท่านทากิจกรรมในยามวา่ ง เช่น ไปงาน

บุญอยูเ่ สมอเม่ือมีโอกาส และเมอ่ื รสู้ ึกเครยี ด

จะทากจิ กรรมทีเ่ พลิดเพลินเพือ่ ผ่อนคลาย

เชน่ สวดมนต/์ นั่งสมาธิ 96.0 100 0.0 4.0
96.0 4.0 4.0
เฉลีย่ รอ้ ยละ 92.0

103

จากตารางที่ 4.24 ผลการเปรียบเทียบระดบั ความรใู้ นการพัฒนารปู แบบการดแู ลสุขภาพ
ของผ้สู ูงอายุดว้ ยหลกั พุทธธรรม ดา้ นการพัฒนาจติ ((จติ ภาวนา) ระหว่าง

ก่อนการปรบั ปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มรี ะดับความร้สู ูงเฉลี่ยร้อยละ 92.0
เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามีระดับความรสู้ ูงสงู มากท่ีสุดในเรื่อง เมื่อท่านทาสิ่งท่ีทาให้มีความสุขช่วย
ทาให้ร่างกายท่านสดชื่น และมีชีวิตชีวา ส่งิ ที่ทาแล้วมีความสุขของแตล่ ะคนอาจเหมือนหรือแตกต่างกัน
ไป แต่ต้องเกิดประโยชน์ต่อตัวเองสังคม และไม่เบียดเบียนผู้อื่น บุคคลในครอบครัวชื่นชมเมื่อท่าน
สขุ ภาพดี และเมื่อทา่ นเจบ็ ป่วยรู้สกึ ไมส่ บายบุคคลในครอบครัวถามถึงอาการเจบ็ ป่วยของท่านด้วยความ
เปน็ หว่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ตามลาดับ ขอ้ ที่มีระดับความรู้น้อยท่ีสดุ ได้แก่ ถ้าท่านมอี ารมณ์โกรธบอ่ ยๆ
จะทาใหเ้ กิดความเครยี ด คิดเปน็ ร้อยละ 56.0

และหลังการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับความรู้สูงเฉลี่ยร้อยละ
96.0 และมีระดับความรู้สูงเฉล่ียเพิ่มข้ึนร้อยละ 4.0 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามีระดับความรู้สูงใน
เรือ่ ง เมือ่ ท่านทาสงิ่ ท่ีทาใหม้ ีความสขุ ช่วยทาให้ร่างกายทา่ นสดชื่น และมีชีวิตชีวา สง่ิ ที่ทาแล้วมีความสุข
ของแต่ละคนอาจเหมือนหรือแตกต่างกนั ไป แต่ต้องเกิดประโยชน์ตอ่ ตัวเองสังคมและไม่เบียดเบียนผู้อื่น
บุคคลในครอบครัวช่ืนชมเมื่อท่านสุขภาพดี และท่านเช่ือว่า การรับรู้หลักพุทธธรรม แล้วนาไปปฏิบัติ
อย่างสม่าเสมอจะกอ่ เกดิ ประโยชน์สุขต่อตนเอง คิดเป็นร้อยละ 100 ตามลาดบั ข้อที่มรี ะดับความรู้นอ้ ย
ทส่ี ุด ได้แก่ ถ้าท่านมอี ารมณ์โกรธบ่อยๆ จะทาใหเ้ กิดความเครียดคดิ เป็นรอ้ ยละ 80.0

104

ตารางที่ 4.25 แสดงการเปรียบเทียบจานวนร้อยละของความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพ
ของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ดา้ นการพัฒนาองค์ความรู้(ปญั ญาภาวนา) จาแนกเป็นราย
ขอ้ ระหว่างก่อนการปรับปรงุ รูปแบบและหลงั การปรบั ปรงุ รูปแบบ (n =25)

ระดับความรู้ในการพัฒนารูปแบบ กอ่ นการปรบั ปรุงรูปแบบ หลงั การปรับปรงุ รปู แบบ
การดูและสขุ ภาพของผู้สูงอายุ
ถกู ตอ้ ง ไม่ถูกตอ้ ง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ผลตา่ ง
ดว้ ยหลักพทุ ธธรรม รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

1. ท่านสามารถไปศึกษาหาความรู้ต่างๆ ทีห่ อ้ งสมดุ 4.0 96.0 24.0 76.0 20.0

2. ท่านสามารถไปหาความรูเ้ กี่ยวกับการดแู ล 24.0 92.0 8.0 16.0
8.0 92.0 8.0 0.0
สขุ ภาพที่สถานอี นามยั หรือสถานบริการ 24.0 96.0 4.0 24.0
52.0 72.0 18.0 24.0
สาธารณสุขได้ 76.0 12.0 96.0 4.0 8.0
0.0 100 0.0 0.0
3. ท่านสามารถไปหาความรูท้ ีว่ ดั ใกลบ้ า้ นได้ 92.0
0.0 100 0.0 0.0
4. ทา่ นสามารถไปสนทนาธรรมหาความรู้ 27.0 84.0 16.0 11.0

หรือแลกเปลี่ยนความร้ตู ่างๆ กับพระได้ 72.0

5. ท่านสามารถไปขอรับเอกสารความร้ตู า่ งๆ

ที่สนใจจากศนู ย์การเรียนรูใ้ นชุมชนได้ 48.0

6. ท่านสามารถเข้ารว่ มประชุมเพือ่ รบั รู้ข่าว

สารต่างๆ ทก่ี ลุ่ม องค์กรในชมุ ชนได้ 88.0

7. ทา่ นมคี วามเชอ่ื มั่น(ศรทั ธา)ในหลกั พทุ ธธรรม

คาสอนของพระพุทธเจา้ 100

8. ท่านเชอื่ ว่า การรบั รหู้ ลกั พุทธธรรม แล้วนาไป

ปฏบิ ัติอยา่ งสมา่ เสมอจะก่อเกิดประโยชน์สขุ

ต่อตนเอง 100

เฉลย่ี ร้อยละ 73.0.

จากตารางท่ี 4.25 ผลการเปรียบเทียบความรใู้ นการพัฒนารปู แบบการดูแลสุขภาพของ
ผู้สูงอายุด้วยหลกั พุทธธรรม ด้านการพัฒนาองคค์ วามรู(้ ปัญญาภาวนา) ระหว่าง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับความรู้ถูกต้องเฉลี่ยร้อยละ
73.0 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีระดับความรู้ถูกต้องมากท่ีสุดในเร่ือง มีความเช่ือมั่น(ศรัทธา)ใน
หลกั พุทธธรรม คาสอนของพระพุทธเจา้ และการรับรู้หลกั พุทธธรรม แล้วนาไปปฏิบัตอิ ยา่ งสม่าเสมอจะ
กอ่ เกิดประโยชน์สุขต่อตนเอง คิดเป็นร้อยละ 100 ตามลาดับ ข้อทีม่ รี ะดับความรู้ถูกตอ้ งน้อยทส่ี ดุ ไดแ้ ก่
ทา่ นสามารถไปศกึ ษาหาความร้ตู า่ งๆ ทีห่ อ้ งสมดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.0

และหลงั การปรับปรงุ รูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดบั ความรูถ้ ูกต้องเฉลย่ี ร้อย
ละ 84.0 และมรี ะดับความรู้ถูกต้องเฉล่ียเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.0 เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายข้อพบว่า มรี ะดับ
ความรู้ถูกต้องมากทีส่ ุดในเรอื่ ง ท่านมคี วามเช่ือมน่ั (ศรทั ธา)ในหลกั พุทธธรรมคาสอนของพระพุทธเจา้

105

ท่านเชอ่ื วา่ และการรบั รู้หลกั พุทธธรรม แล้วนาไปปฏิบตั อิ ยา่ งสม่าเสมอจะก่อเกดิ ประโยชน์สขุ ต่อตนเอง
คิดเปน็ ร้อยละ 100 ตามลาดับ ขอ้ ที่มีระดบั ความรถู้ ูกตอ้ งนอ้ ยทสี่ ดุ ไดแ้ ก่.ทา่ นสามารถไปศกึ ษาหา
ความรตู้ า่ งๆ ท่ีห้องสมดุ คิดเปน็ ร้อยละ 24.0

106

ตารางที่ 4.26 แสดงการเปรียบเทียบจานวนร้อยละของความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพ
ของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ด้านการดูแลอนามัยส่วนบุคคล จาแนกเป็นรายข้อ
ระหวา่ งกอ่ นการปรบั ปรงุ รปู แบบและหลังการปรับปรุงรปู แบบ (n =25)

ระดบั ความรู้ในการพฒั นารปู แบบ กอ่ นการปรบั ปรงุ รูปแบบ หลังการปรบั ปรงุ รูปแบบ
การดูและสุขภาพของผสู้ งู อายุ
ถกู ตอ้ ง ไมถ่ ูกต้อง ถกู ตอ้ ง ไม่ถกู ต้อง ผลต่าง
ด้วยหลักพทุ ธธรรม ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ

1. ทา่ นแปรงฟนั ด้านหน้า ด้านหลงั ฟัน 84.0 16.0 92.0 8.0 8.0
เพื่อให้เศษอาหารออกจากซอกฟนั ใหห้ มด
96.0 4.0 96.0 4.0 0.0
2. ท่านควรแปรงฟันอย่างน้อยวนั ละ2 ครงั้
ถา้ เป็นไปได้ควรแปรงฟนั หลงั อาหารทุกมอ้ื 100 0.0 100 0.0 0.0

3. ท่านควรล้างมือก่อนรบั ประทานอาหาร 96.0 4.0 96.0 4.0 0.0
และหลังขบั ถ่าย 94.0 6.0 96.0 4.0 2.0

4. หลังอาบน้าทา่ นไม่ควรสวมเสื้อผ้าชดุ เดิม
ควรเปล่ียนใหม่ทุกครงั้
เฉล่ยี รอ้ ยละ

จากตารางที่ 4.26 ผลการเปรียบเทียบความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของ
ผ้สู งู อายดุ ้วยหลักพทุ ธธรรม ดา้ นด้านการดูแลอนามัยสว่ นบุคคล ระหว่าง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับความรู้ถูกต้องเฉล่ียร้อยละ
94.0 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามีระดับความร้ถู ูกต้องมากที่สุดในเร่ือง ควรล้างมือก่อนรบั ประทาน
อาหาร และหลังขับถ่าย คิดเป็นร้อยละ 100 ข้อท่ีมีระดับความรู้ถูกต้องน้อยที่สุด ได้แก่ การแปรงฟัน
ดา้ นหนา้ - ด้านหลงั ฟันเพื่อใหเ้ ศษอาหารออกจากซอกฟันให้หมด คดิ เปน็ ร้อยละ 84.0

และหลังการปรบั ปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับความร้ถู ูกต้องเฉล่ียร้อย
ละ 96.0 และมีระดับความรู้ถูกต้องเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามีระดับ
ความรู้ถูกต้องมากท่ีสุดในเรื่อง ท่านควรล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังขับถ่าย คิดเป็นร้อยละ
100 ข้อท่ีมีระดับความรู้ถูกต้องน้อยที่สุด ได้แก่ ท่านแปรงฟันด้านหน้า ด้านหลังฟัน เพ่ือให้เศษอาหาร
ออกจากซอกฟนั ใหห้ มด คิดเปน็ ร้อยละ 92.0

107

ตารางที่ 4.27 แสดงการเปรียบเทยี บจานวนร้อยละของความร้ใู นการพฒั นารูปแบบการดูแลสุขภาพ

ของผู้สูงอายดุ ้วยหลักพุทธธรรม ด้านการป้องกันโรคจาแนกเป็นรายข้อ ระหว่างก่อนการ

ปรบั ปรงุ รูปแบบและหลงั การปรับปรุงรปู แบบ (n =25)

ระดับความรู้ในการพัฒนารปู แบบ กอ่ นการปรบั ปรุงรูปแบบ หลงั การปรบั ปรุงรปู แบบ

การดูและสุขภาพของผู้สูงอายุ ถกู ต้อง ไมถ่ กู ตอ้ ง ถกู ตอ้ ง ไมถ่ กู ตอ้ ง ผลต่าง

ด้วยหลักพุทธธรรม รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

1. ท่านควรนอนในห้องทปี่ ดิ หนา้ ตา่ งมิดชิด 72.0 28.0 96.0 4.0 24.0
เพ่ือป้องกนั ฝนุ่ ละอองและเชื้อโรคต่างๆ 80.0 20.0 100 0.0 20.0
2. ทา่ นควรตรวจสขุ ภาพอย่างนอ้ ยปลี ะ 2 ครั้ง
76.0 24.0 98.0 2.0 22.0
เฉลี่ยรอ้ ยละ

จากตารางที่ 4.27 ผลการเปรียบเทียบความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของ
ผสู้ งู อายุดว้ ยหลักพุทธธรรม ดา้ นการปอ้ งกนั โรค ระหวา่ ง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับความรู้ถูกต้องเฉลี่ยร้อยละ
76.0 เมือ่ พจิ ารณาเป็นรายข้อพบว่ามรี ะดบั ความรู้ถูกต้องมากทีส่ ุดในเรือ่ ง การตรวจสุขภาพอย่างน้อยปี
ละ 2 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 80.0 ข้อที่มีระดับความรู้ถูกต้องน้อยท่ีสุด ได้แก่ ควรนอนในห้องที่ปิด
หนา้ ตา่ งมดิ ชิดเพอื่ ปอ้ งกันฝุ่นละอองและเชื้อโรคต่างๆ คดิ เป็นร้อยละ 72.0

และหลังการปรบั ปรุงรูปแบบฯ พจิ ารณาในภาพรวมพบว่า มีระดบั ความรูถ้ ูกต้องเฉล่ียร้อย
ละ 98.0 และมีระดับความรู้ถูกต้องเฉล่ียเพ่ิมขึ้นร้อยละ 22.0 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามีระดับ
ความรถู้ ูกต้องมากท่ีสุดในเรอ่ื ง ท่านควรตรวจสุขภาพอย่างน้อยปลี ะ 2 คร้ัง คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ข้อท่ีมี
ระดับความรู้ถูกต้องน้อยท่ีสุด ได้แก่ ควรนอนในห้องท่ีปิดหน้าต่างมิดชิดเพ่ือป้องกันฝุ่นละอองและเชื้อ
โรคต่างๆ คิดเป็นรอ้ ยละ 96.0

108

4) ระดับการฝกึ ปฏิบตั ิในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผูส้ ูงอายุด้วยหลกั พุทธ
ธรรม จาแนกเปน็ รายข้อ ระหว่างก่อนการปรบั ปรุงรูปแบบและหลังการปรบั ปรุงรูปแบบ

ตารางท่ี 4.28 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละของระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบการ
ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ในภาพรวมระหว่างก่อนการปรับปรุงรูปแบบ
และหลงั การปรบั ปรงุ รูปแบบ(n = 25)

การปฏิบัติในการพฒั นารปู แบบ ปฏิบัติประจา ปฏิบัตบิ างคร้งั ไม่เคยปฏิบัติประจา
การดูแลสขุ ภาพของผู้สูงอายุ ฯ
รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ
ก่อนการปรบั ปรงุ รูปแบบฯ เฉลี่ยร้อยละ
หลงั การปรบั ปรงุ รูปแบบฯเฉล่ียร้อยละฯ 61.2 19.1 19.7

ผลตา่ ง 75.4 12.2 12.4

14.2 6.9 7.3

จากตารางที่ 4.28 ผลการเปรยี บเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละของระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนา
รูปแบบการดแู ลสุขภาพของผ้สู งู อายดุ ้วยหลกั พทุ ธธรรม ในภาพรวม ระหว่าง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจาเฉลี่ยร้อยละ 61.2 มี
ระดบั การฝกึ ปฏิบัติเป็นบางครัง้ เฉล่ียร้อยละ 19.1 และมีระดับการไม่เคยปฏิบัตเิ ปน็ ประจาเฉลี่ยร้อยละ
19.7

และหลังการปรับปรุงรูปแบบฯ พบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจาเฉลี่ยร้อยละ 75.4
ซึ่งมรี ะดบั การฝึกปฏบิ ัติเพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 14.2 มรี ะดับการฝึกปฏิบตั ิเป็นบางครง้ั เฉลย่ี ร้อยละ 122 เพ่ิมข้ึน
เฉล่ียร้อยละ 6.9 และมีระดบั การไม่เคยฝึกปฏิบัติประจาเฉลี่ยร้อยละ 12.4 มีระดับการฝึกปฏิบัติลดลง
เฉลีย่ รอ้ ยละ 7.3

กราฟที่ 4.2 แสดงการเปรยี บเทียบการปฏบิ ัติในการดูแลสุขภาพกอ่ นหลงั ปรับปรุงรูปแบบ

กราฟแสดงการเปรียบเทียบการปฏบิ ัติในการดแู ลสุขภาพตนเอง

80

60

40

20

0 หลังการปรบั ปรงุ รูปแบบฯ ผลตา่ ง
ก่อนการปรับปรุงรปู แบบฯ

ปฏิบัตปิ ระจา ปฏิบตั บิ างคร้ัง ไม่เคยปฏบิ ตั ปิ ระจา

109

5) ระดับการฝึกปฏิบัติในการพฒั นารูปแบบการดูแลสขุ ภาพของผ้สู ูงอายดุ ว้ ยหลักพุทธ
ธรรม จาแนกเป็นรายดา้ น ระหวา่ งกอ่ นการปรบั ปรุงรูปแบบและหลังการปรบั ปรงุ รูปแบบ

ตารางท่ี 4.29 แสดงการเปรียบเทียบระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของ
ผู้สูงอายดุ ้วยหลักพทุ ธธรรม จาแนกเปน็ รายด้าน ระหวา่ งก่อนการปรับปรงุ รปู แบบและหลงั การปรบั ปรุง
รูปแบบ (n = 25)

การปฏบิ ตั ิในการพฒั นารูปแบบ ปฏบิ ัตปิ ระจา ปฏบิ ัติบางคร้ัง ไม่เคยปฏบิ ัตปิ ระจา
การดแู ลสขุ ภาพของผ้สู ูงอายุ ฯ
รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ
การพัฒนากาย(การออกกาลังกาย).

1. การปฏิบัติตวั ในด้านการรับประทานอาหารท่ีมปี ระโยชน์และเหมาะสม

กอ่ นการปรับปรงุ รปู แบบ 58.1 22.1 19.8
15.0
หลงั การปรบั ปรงุ รูปแบบ 61.3 23.7 4.8

ผลต่าง(รอ้ ยละ) 3.2 1.6

2. การปฏบิ ตั ิตัวในด้านการออกกาลังกายทเ่ี หมาะสม

กอ่ นการปรบั ปรงุ รปู แบบ 53.6 14.7 31.7

หลงั การปรบั ปรงุ รปู แบบ 63.3 10.3 26.4

ผลตา่ ง(รอ้ ยละ) 9.7 4.4 4.7

การพฒั นาทางด้านสงั คม(ศลี ภาวนา) 84.0 9.3 6.7
3. การปฏิบตั ิตวั ในดา้ นศลี ภาวนา 92.7 7.3 0.0
7.4 0.3 7.1
ก่อนการปรับปรงุ รปู แบบ
หลังการปรับปรงุ รูปแบบ 56.4 19.6 24.0
ผลต่าง(รอ้ ยละ) 86.0 10.0 4.0
29.6 9.6 20.0
การพัฒนาจติ (จติ ภาวนา)
4. การทาจิตใจใหส้ ดชืน่ เบิกบาน

กอ่ นการปรบั ปรุงรูปแบบ
หลังการปรบั ปรุงรูปแบบ
ผลต่าง(ร้อยละ)

110

ตารางที่ 29(ตอ่ )

การปฏิบัติในการพฒั นารูปแบบ ปฏิบัติประจา ปฏิบัติบางคร้ัง ไมเ่ คยปฏบิ ตั ปิ ระจา

การดแู ลสขุ ภาพของผูส้ งู อายุ ฯ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

การพัฒนาปัญญา(ปัญญาภาวนา)

5. การปฏบิ ตั ิตัวในการพัฒนาปัญญา 53.7 29.1 17.2
ก่อนการปรับปรุงรปู แบบ
หลังการปรับปรุงรปู แบบ 73.7 9.7 16.6
ผลต่าง(ร้อยละ)
20.0 19.4 0.6

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ เฉลย่ี รอ้ ยละ 61.2 18.9 19.9

หลงั การปรับปรงุ รปู แบบฯ เฉลย่ี รอ้ ยละ 75.4 12.2 14.4

ผลตา่ งเฉลี่ยร้อยละ 14.2 6.7 5.5

จากตารางที่ 4.29 ผลการเปรียบเทียบระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบการดูแล
สุขภาพของผูส้ ูงอายดุ ้วยหลักพุทธธรรม จาแนกเป็นรายด้าน ระหว่าง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจา
เฉลี่ยร้อยละ 61.2 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจามากที่สุดด้านการ
การพัฒนาทางด้านสังคม(ศีลภาวนา) คิดเป็นร้อยละ 84.0 มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นบางครั้งมากท่ีสุด
ด้านการพัฒนาปัญญา คิดเป็นร้อยละ 29.1 และมีระดับการไม่เคยฝึกปฏิบัติเป็นประจามากที่สุดด้าน
การปฏิบัตติ วั ในด้านการออกกาลังกายท่เี หมาะสม คดิ เป็นร้อยละ 31.7

และหลังการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติประจา
เฉลี่ยร้อยละ 75.4 และมีระดับการฝึกปฏิบัติประจาเพ่ิมข้ึนร้อยละ 14.2 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
พบวา่ มรี ะดบั การฝกึ ปฏิบตั ิประจามากที่สุดด้าน การปฏบิ ัติตัวในดา้ นศีลภาวนา คิดเป็นร้อยละ 92.7 มี
ระดับการฝึกปฏิบัติเป็นบางครั้งมากท่ีสุดด้าน การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสม คิด
เป็นร้อยละ 22.1 และมีระดับการไม่เคยฝึกปฏิบัติเป็นประจามากท่ีสุดในด้านการปฏิบัติตัวในด้านการ
ออกกาลังกายทีเ่ หมาะสม คิดเปน็ ร้อยละ 31.7

111

6) ระดับการฝกึ ปฏบิ ัตใิ นการพัฒนารปู แบบการดแู ลสขุ ภาพของผ้สู ูงอายุด้วยหลกั พุทธ
ธรรม จาแนกเป็นรายขอ้ ระหวา่ งก่อนการปรบั ปรุงรปู แบบและหลังการปรับปรุงรปู แบบ

ตารางที่ 4.30 แสดงการเปรียบเทียบระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของ
ผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ด้านการพัฒนากาย.(ด้านอาหาร) จาแนกเป็นรายข้อระหว่าง
กอ่ นการปรบั ปรุงรปู แบบและหลงั การปรบั ปรุงรูปแบบ(n = 25)

การปฏิบัตใิ นการพฒั นารูปแบบ ปฏบิ ัติประจา ปฏบิ ตั ิบางครง้ั ไมเ่ คยปฏบิ ตั ปิ ระจา

การดูแลสุขภาพของผู้สงู อายุ ฯ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

การปฏบิ ตั ติ วั ในดา้ นการรบั ประทานอาหารท่เี หมาะสม

1. ทา่ นดมื่ นา้ สะอาดเพียงพอกบั ความต้องการของร่างกายอยา่ งน้อย 6-8 แก้ว ตอ่ วัน

กอ่ นการปรบั ปรุงรปู แบบ 61.0 21.2 17.8

หลงั การปรบั ปรุงรปู แบบ 88.0 12.0 0.0

ผลต่าง(ร้อยละ) 27.0 9.2 17.8

2. ทา่ นได้รบั ประทานอาหารประเภทผักและผลไมต้ า่ ง ๆ อยา่ งพอเพยี ง -
0.0
กอ่ นการปรับปรุงรปู แบบ 96.0 4.0 0.0
0.0
หลังการปรับปรงุ รปู แบบ 96.0 4.0

ผลต่าง(ร้อยละ) 0.0 0.0

3. ท่านรบั ประทานอาหารที่มีไขมันสงู - 44.0 52.0
กอ่ นการปรบั ปรงุ รปู แบบ 4.0 72.0 48.0
หลงั การปรับปรงุ รปู แบบ 0.0 28.0 4.0
ผลตา่ ง(รอ้ ยละ) 4.0

4. ท่านรับประทานอาหารรสจดั 12.0 36.0 52.0
ก่อนการปรับปรุงรูปแบบ 0.0 48.0 52.0
หลังการปรับปรงุ รูปแบบ 12.0 12.0 0.0
ผลต่าง(ร้อยละ)

5. ท่านไดด้ ื่มเคร่อื งดืม่ บารุงร่างกายเป็นประจา

กอ่ นการปรับปรุงรูปแบบ 8.0 36.0 56.0
40.0 60.0
หลงั การปรับปรุงรปู แบบ 0.0 4.0 4.0

ผลตา่ ง(รอ้ ยละ) 8.0

112

ตารางท่ี 4.30 (ต่อ)

การปฏบิ ตั ใิ นการพัฒนารปู แบบ ปฏิบตั ปิ ระจา ปฏิบตั ิบางคร้ัง ไมเ่ คยปฏบิ ตั ปิ ระจา

การดูแลสขุ ภาพของผสู้ ูงอายุ ฯ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

6. ท่านรับประทานอาหารประเภท ข้าว เน้ือ นม ไข่ ผักผลไม้

ก่อนการปรบั ปรงุ รูปแบบ 92.0 4.0 4.0

หลังการปรบั ปรงุ รูปแบบ 92.0 4.0 4.0

ผลตา่ ง(รอ้ ยละ) 0.0 0.0 0.0

7. ท่านรับประทานอาหารจาพวกขนมหวาน 4.0 76.0 20.0
กอ่ นการปรับปรุงรูปแบบ 4.0 76.0 20.0
หลังการปรับปรุงรูปแบบ 0.0 0.0 0.0
ผลต่าง(ร้อยละ)

8. ท่านแปรงฟันโดยแปรงฟัน ดา้ นหน้าและดา้ นหลงั ฟันโดยแปรงเปน็ วง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบ 80.0 4.0 16.0
4.0
หลงั การปรับปรงุ รูปแบบ 96.0 0.0 12.0

ผลตา่ ง(รอ้ ยละ) 16.0 4.0

9. ทา่ นแปรงฟันอยา่ งน้อยวนั ละ2 ครัง้ หรือแปรงฟันหลงั อาหารทกุ มื้อ -

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบ 88.0 12.0 0.0
0.0
หลงั การปรบั ปรงุ รูปแบบ 88.0 12.0
0.0
ผลต่าง(ร้อยละ) 0.0 0.0

10. ท่านใช้แปรงสีฟนั ท่มี ีขนแปรงขนาดอ่อนนมุ่ ไม่แขง็ มาก

ก่อนการปรบั ปรงุ รูปแบบ 100 0.0 0.0
0.0 0.0
หลังการปรับปรุงรูปแบบ 100 0.0 0.0

ผลตา่ ง(รอ้ ยละ) 0.0

11. ทา่ นลา้ งปาก หรือบว้ นปากบอ่ ยๆ -
ก่อนการปรบั ปรุงรปู แบบ
หลงั การปรบั ปรงุ รปู แบบ 96.0 4.0 0.0
ผลตา่ ง(รอ้ ยละ)
100 0.0 0.0

4.0 4.0 0.0

ตารางท่ี 4.30 (ต่อ)

113

การปฏบิ ัติในการพฒั นารปู แบบ ปฏิบตั ิประจา ปฏิบัตบิ างคร้ัง ไม่เคยปฏิบตั ิประจา

การดแู ลสุขภาพของผู้สงู อายุ ฯ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

12. ท่านไดต้ รวจสขุ ภาพฟันโดยทนั ตแพทย์อย่างน้อยปลี ะ1 คร้ัง

กอ่ นการปรบั ปรงุ รูปแบบ 56.0 24.0 20.0

หลงั การปรับปรงุ รูปแบบ 72.0 16.0 12.0

ผลตา่ ง(ร้อยละ) 20.0 8.0 8.0

กอ่ นการปรับปรงุ รปู แบบฯ เฉลย่ี รอ้ ยละ 58.1 22.1 19.8

หลังการปรบั ปรงุ รปู แบบฯ เฉล่ยี รอ้ ยละ 61.3 23.7 15.0

ผลตา่ ง(ร้อยละ) 3.2 1.6 4.8

จากตารางท่ี 4.30 ผลการเปรียบเทียบระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบการดูแล
สขุ ภาพของผสู้ งู อายุดว้ ยหลักพุทธธรรม ด้านการรับประทานอาหาร จาแนกเป็นรายขอ้ . ระหว่าง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจา
เฉลี่ยร้อยละ 58.1 เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่า มีระดบั การฝึกปฏิบัตเิ ป็นประจามากท่ีสุดเร่ือง การใช้
แปรงสีฟันท่ีมีขนแปรงขนาดอ่อนนุ่มไม่แข็งมาก คิดเป็นร้อยละ 100 มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นบางครั้ง
มากท่ีสุดเร่ือง การรบั ประทานอาหารจาพวกขนมหวาน คิดเป็นร้อยละ 76.0 และมีระดับการไม่เคยฝึก
ปฏิบัติเป็นประจามากท่ีสุดเรื่อง การรับประทานอาหารจาพวกขนมหวาน และการได้ตรวจสุขภาพฟัน
โดยทันตแพทยอ์ ยา่ งน้อยปลี ะ1 คร้งั คิดเป็นร้อยละ 20.0 ตามลาดบั

และหลังการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็น
ประจาเฉล่ียร้อยละ 61.3 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติ
ประจามากที่สุดเรื่อง การใช้แปรงสีฟันท่ีมีขนแปรงขนาดอ่อนนุ่มไม่แข็งมาก และการลา้ งปาก หรือบ้วน
ปากบ่อยๆ อยู่เสมอเป็นประจา คิดเป็นร้อยละ 100 ตามลาดับ มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นบางครั้งมาก
ที่สุดเร่ือง การรับประทานอาหารจาพวกขนมหวาน คิดเป็นร้อยละ 76.0 และมีระดับการไม่เคยฝึก
ปฏิบตั เิ ป็นประจามากทีส่ ุดเรอ่ื ง การรับประทานอาหารจาพวกขนมหวาน คิดเป็นรอ้ ยละ 20.0

114

ตารางท่ี 4.31 แสดงการเปรียบเทียบระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของ
ผสู้ ูงอายุด้วยหลักพทุ ธธรรม ดา้ นการพัฒนากาย(ออกกาลงั กาย).จาแนกเปน็ รายขอ้ .ระหว่าง
กอ่ นการปรับปรุงรูปแบบและหลงั การปรบั ปรงุ รปู แบบ .(n = 25)

การปฏบิ ตั ิในการพฒั นารปู แบบ ปฏบิ ัติประจา ปฏิบัติบางครง้ั ไม่เคยปฏิบตั ิประจา

การดแู ลสขุ ภาพของผสู้ งู อายุ ฯ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

ด้านการออกกาลังกายท่เี หมาะสม

1. ท่านมีการออกกาลงั กายสม่าเสมออย่างน้อยครง้ั ละประมาณ 20 นาที

กอ่ นการปรบั ปรงุ รปู แบบ 80.0 20.0 0.0

หลังการปรบั ปรุงรูปแบบ 88.0 12.0 0.0

ผลตา่ ง(รอ้ ยละ) 4.0 8.0 0.0

2. ท่านออกกาลงั กายอยา่ งน้อย 3 วนั /สัปดาห์

ก่อนการปรบั ปรุงรูปแบบ 80.0 20.0 0.0

หลงั การปรับปรุงรูปแบบ 88.0 12.0 0.0

ผลตา่ ง(ร้อยละ) 8.0 8.0 0.0

3. ทา่ นเรม่ิ ต้นออกกาลังกายด้วยการอบอนุ่ ร่างกายก่อน 5-10 นาทแี ล้วจงึ เร่มิ เขา้ กจิ กรรมทเ่ี ลือก 15-

20 นาทีและลดระดับลงจนสภาวะปกติ 5-10นาที

กอ่ นการปรับปรุงรูปแบบ 56.0 28.0 16.0

หลงั การปรับปรงุ รปู แบบ 68.0 20.0 12.0

ผลตา่ ง(ร้อยละ) 12.0 18.0 4.0

4. ท่านใชล้ านออกกาลงั กายประจาหมบู่ ้าน

ก่อนการปรับปรุงรปู แบบ 68.0 4.0 28.0

หลงั การปรับปรงุ รูปแบบ 72.0 16.0 12.0

ผลตา่ ง(เฉลี่ยร้อยละ) 4.0 12.0 16.0

5. ทา่ นใชล้ านวัดออกกาลังกาย

กอ่ นการปรับปรงุ รูปแบบ 0.0 4.0 96.0

หลงั การปรบั ปรงุ รูปแบบ 88.0 8.0 4.0

ผลตา่ ง(เฉลย่ี รอ้ ยละ) 88.0 4.0 92.0

6. ทา่ นใชส้ นามกฬี าภายในโรงเรยี นออกกาลังกาย

กอ่ นการปรบั ปรงุ รูปแบบ 0.0 0.0 100

หลงั การปรับปรงุ รปู แบบ 0.0 0.0 100

ผลต่าง(เฉล่ยี รอ้ ยละ) 0.0 0.0 0.0

115

ตารางท่ี 4.31 (ต่อ)

การปฏบิ ัติในการพัฒนารูปแบบ ปฏบิ ัตปิ ระจา ปฏิบัตบิ างครัง้ ไมเ่ คยปฏบิ ัตปิ ระจา

การดูแลสุขภาพของผ้สู ูงอายุ ฯ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

7. ทา่ นใชส้ วนสาธารณะออกกาลงั กาย

กอ่ นการปรบั ปรงุ รูปแบบ 0.0 0.0 100

หลังการปรับปรุงรูปแบบ 0.0 0.0 100
ผลต่าง(เฉลย่ี รอ้ ยละ) 0.0 0.0 0.0

8. ท่านใชบ้ รเิ วณบ้านของตนเองออกกาลงั กาย

กอ่ นการปรับปรุงรปู แบบ 88.0 4.0 8.0

หลังการปรบั ปรุงรูปแบบ 92.0 8.0 0.0

ผลต่าง(เฉลย่ี รอ้ ยละ) 4.0 4.0 8.0

9. วธิ หี รอื รปู แบบทท่ี า่ นออกกาลังกายคือ การเดนิ เร็ว

กอ่ นการปรบั ปรงุ รปู แบบ 52.0 40.0 8.0

หลงั การปรับปรงุ รปู แบบ 68.0 20.0 12.0

ผลตา่ ง(เฉลี่ยร้อยละ) 16.0 20.0 4.0

10. วิธีหรือรูปแบบทท่ี า่ นออกกาลงั กายคอื การวงิ่ เหยาะ ๆ

กอ่ นการปรบั ปรงุ รปู แบบ 72.0 20.0 8.0

หลังการปรบั ปรุงรูปแบบ 88.0 12.0 0.0

ผลต่าง(เฉลย่ี ร้อยละ) 6.0 8.0 8.0

11. วิธหี รอื รปู แบบทที่ า่ นออกกาลังกายคอื การสมาธิบาบัด/เดนิ จงกรม

กอ่ นการปรับปรงุ รูปแบบ 72.0 16.0 12.0

หลังการปรบั ปรงุ รูปแบบ 88.0 12.0 0.0

ผลต่าง(เฉลี่ยร้อยละ) 16.0 4.0 12.0

12. วธิ ีหรือรปู แบบทีท่ ่านออกกาลงั กายคือ การบริหารแขน มอื คอ เอว ฯลฯ

ก่อนการปรบั ปรุงรูปแบบ 76.0 16.7 8.0

หลงั การปรบั ปรงุ รูปแบบ 92.0 4.0 4.0

ผลต่าง(เฉลี่ยรอ้ ยละ) 16.0 12.0 4.0

ก่อนการปรับปรงุ รปู แบบฯ เฉลย่ี ร้อยละ 53.6 14.7 31.7

หลังการปรบั ปรุงรปู แบบฯ เฉลย่ี ร้อยละ 63.3 10.3 26.4
ผลตา่ ง(เฉล่ียร้อยละ) 9.7 4.4 5.3

จากตารางท่ี 4.31 ผลการเปรียบเทียบระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบการดูแล
สุขภาพของผู้สูงอายดุ ว้ ยหลักพุทธธรรม การออกกาลงั กาย จาแนกเปน็ รายขอ้ ระหว่าง

116

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติประจาเฉลี่ย
ร้อยละ 53.6 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจามากท่ีสุดเร่ือง ท่านใช้
บริเวณบ้านของตนเองออกกาลังกาย คิดเป็นร้อยละ 88.0 มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นบางครั้งมากที่สุด
เร่อื ง วิธหี รือรปู แบบท่ที ่านออกกาลังกายคอื การเดนิ เรว็ คิดเป็นร้อยละ 40.0 และมีระดับการไม่เคยฝึก
ปฏิบัติเป็นประจามากที่สุดเร่ือง ท่านใช้สนามกีฬาภายในโรงเรียนออกกาลังกาย และใช้สวนสาธารณะ
ออกกาลงั กาย คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ตามลาดบั

และหลังการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็น
ประจาเฉลี่ยร้อยละ 63.7 เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีระดับการปฏิบัติเป็น
ประจามากที่สุดเร่ือง การออกกาลังกายสม่าเสมออย่างน้อยครั้งละประมาณ 20 นาที และการออก
กาลังกายอย่างน้อย 3 วัน /สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 88.0 ตามลาดับ มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นบางคร้ัง
มากที่สุดเร่ือง การเร่ิมต้นออกกาลังกายด้วยการอบอุ่นร่างกายก่อน 5-10 นาทีแล้วจึงเร่ิมเข้ากิจกรรมที่
เลือก 15-20 นาที และลดระดับลงจนสภาวะปกติ 5-10นาที คิดเป็นร้อยละ 20.0 และมีระดับการไม่
เคยฝึกปฏิบัติเป็นประจามากท่ีสุดเร่ือง ท่านใช้สนามกีฬาภายในโรงเรียนออกกาลังกาย และใช้
สวนสาธารณะออกกาลงั กาย คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ตามลาดับ

117

ตารางที่ 4.32 แสดงการเปรยี บเทยี บระดบั การฝกึ ปฏิบตั ิในการพฒั นารูปแบบการดแู ลสุขภาพของ
ผู้สงู อายดุ ว้ ยหลักพุทธธรรม ดา้ นสงั คม (ศลี ภาวนา) จาแนกเป็นรายข้อ ระหว่างก่อนการ
ปรบั ปรงุ รปู แบบและหลังการปรบั ปรุงรูปแบบ (n = 25)

การปฏิบตั ิในการพัฒนารูปแบบ ปฏิบตั ิประจา ปฏิบตั บิ างคร้ัง ไมเ่ คยปฏิบตั ปิ ระจา

การดแู ลสขุ ภาพของผ้สู ูงอายุ ฯ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

การฝึกปฏิบัตติ นในด้านสังคม(ศีลภาวนา

1. ทา่ นสมาทานศลี รกั ษาศลี ทุกวนั พระ

กอ่ นการปรบั ปรุงรปู แบบ 84.0 12.0 4.0

หลงั การปรับปรงุ รูปแบบ 92.0 8.0 0.0

ผลต่าง(เฉลย่ี ร้อยละ) 8.0 4.0 4.0

2. ท่านมคี วามปรารถนาดี มีเมตตา กรุณาต่อเพื่อบา้ น

กอ่ นการปรับปรงุ รูปแบบ 76.0 24.0 0.0

หลังการปรบั ปรุงรูปแบบ 92.0 8.0 0.0

ผลตา่ ง(เฉลย่ี ร้อยละ) 16.0 16.0 0.0

3. ท่านมีอาชพี สจุ รติ มีความเอื้อเฟ้ือเผ่อื แผ่

ก่อนการปรบั ปรงุ รปู แบบ 92.0 4.0 4.0

หลังการปรบั ปรงุ รปู แบบ 92.0 8.0 0.0

ผลต่าง(เฉลี่ยร้อยละ) 0.0 4.0 4.0

4. ทา่ นมีความสารวมในกาม ควบคมุ ตนเองใหต้ ง้ั อยูใ่ นความไมเ่ บียดเบียน

กอ่ นการปรับปรุงรูปแบบ 88.0 8.0 4.0

หลงั การปรบั ปรงุ รูปแบบ 92.0 8.0 0.0

ผลตา่ ง(เฉล่ยี ร้อยละ) 4.0 0.0 4.0

5 ท่านพดู แตส่ งิ่ ทเ่ี ปน็ จรงิ และสรา้ งสรรค์

ก่อนการปรบั ปรงุ รูปแบบ 88.0 8.0 4.0

หลงั การปรับปรุงรูปแบบ 96.0 4.0 0.0

ผลตา่ ง(เฉลย่ี ร้อยละ) 8.0 4.0 4.0

6. ท่านมกี ารสารวมระวังกาย ใจ ไม่ให้ตกเปน็ ทาสสง่ิ เสพติด...

ก่อนการปรับปรุงรปู แบบ 76 20.0 4.0

หลังการปรบั ปรุงรูปแบบ 92.0 4.0 4.0

ผลตา่ ง(เฉล่ยี รอ้ ยละ) 16.0 16.0 0.0

กอ่ นการปรบั ปรงุ รปู แบบฯ เฉลีย่ รอ้ ยละ 84.0 9.3 6.7

หลังการปรับปรงุ รูปแบบฯ เฉลี่ยรอ้ ยละ 92.7 7.3 0.0

ผลตา่ ง(เฉล่ียร้อยละ) 8.7 2.0 6.7

118

จากตารางท่ี 4.32 ผลการเปรียบเทียบระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบการดูแล
สขุ ภาพของผสู้ ูงอายดุ ว้ ยหลักพทุ ธธรรม ด้านสังคม(ศีลภาวนา) จาแนกเปน็ รายข้อ ระหวา่ ง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจา
เฉล่ียร้อยละ 84.0 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีระดบั การฝึกปฏิบตั ิเป็นประจามากท่ีสดุ เรื่อง ท่านมี
อาชีพสุจริต มีความเออื้ เฟอ้ื เผื่อแผ่ คิดเป็นร้อยละ 92.0 มรี ะดบั การฝึกปฏิบัตเิ ป็นบางครัง้ มากทสี่ ุดเรือ่ ง
ท่านมีความปรารถนาดี มีเมตตา กรุณาต่อเพ่ือบ้าน คิดเป็นร้อยละ 24.0 และมีระดับการไม่เคยฝึก
ปฏิบัติเป็นประจามากท่ีสุดเร่ือง ท่านสมาทานศีล รักษาศีลทุกวันพระ มีอาชีพสุจริต มีความ
เอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ มีความสารวมในกาม ควบคุมตนเองให้ตั้งอยู่ในความไม่เบียดเบียน พูดแต่ส่ิงที่เป็นจริง
และสรา้ งสรรค์ และมีการสารวมระวังกาย ใจ ไม่ให้ตกเปน็ ทาสสง่ิ เสพติด คิดเป็นรอ้ ยละ 4.0

และหลังการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจา
เฉลี่ยร้อยละ 92.7 เพ่ิมข้ึนร้อยละ 8.7 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจา
มากท่ีสุดเรื่อง ท่านพูดแต่ส่ิงท่ีเป็นจริง และสร้างสรรค์ คิดเฉลี่ยร้อยละ96.0 มีระดับการปฏิบัติเป็น
บางครงั้ มากที่สดุ เร่อื ง ทา่ นสมาทานศีล รักษาศีลทกุ วนั พระ มคี วามปรารถนาดี มีเมตตา กรุณาตอ่ เพือ่ น
บา้ น มีอาชีพสุจริต มีความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่. และมีความสารวมในกาม ควบคุมตนเองให้ตง้ั อยู่ในความไม่
เบียดเบียน คดิ เป็นร้อยละ 8.0 ตามลาดับ มีระดับการไม่เคยฝึกปฏิบัติเป็นประจามากทส่ี ุดได้แก่ ท่านมี
การสารวมระวงั กาย ใจ ไมใ่ หต้ กเปน็ ทาสสิ่งเสพติด คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.0

119

ตารางที่ 4.33 แสดงการเปรียบเทียบระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของ

ผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ด้านการพัฒนาจิต (จิตภาวนา) จาแนกเป็นรายข้อ ระหว่าง

ก่อนการปรับปรงุ รปู แบบและหลังการปรบั ปรุงรูปแบบ (n = 25)

การปฏิบัตใิ นการพัฒนารปู แบบ ปฏิบัตปิ ระจา ปฏบิ ัติบางครัง้ ไม่เคยปฏิบตั ิประจา

การดแู ลสุขภาพของผูส้ ูงอายุ ฯ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ

การฝกึ ปฏิบตั ิตนเองในด้านจติ

1. ท่านออกกาลงั กาย และเลน่ กีฬาเพื่อคลายเครยี ด

ก่อนการปรบั ปรงุ รปู แบบ 52.0 4.0 44.0

หลงั การปรับปรงุ รปู แบบ 100.0 0.0 0.0

ผลต่าง(เฉลย่ี รอ้ ยละ) 48.0 4.0 44.0

2. ท่านนั่งสมาธิทุกคร้ังเพื่อควบคมุ จติ ใหค้ ลายความฟุ้งซา่ น

กอ่ นการปรบั ปรงุ รูปแบบ 28.0 12.0 60.0

หลังการปรบั ปรุงรปู แบบ 92.0 8.0 0.0

ผลตา่ ง(เฉลย่ี รอ้ ยละ) 64.0 4.0 60.0

3. ท่านสวดมนต์ทุกครั้งเพ่ือให้เกิดบุญและแผ่ส่วนบญุ ใหส้ รรพสัตวท์ ้ังหลาย

กอ่ นการปรับปรุงรปู แบบ 64.0 28.0 8.0

หลังการปรบั ปรุงรปู แบบ 80.0 12.0 8.0

ผลต่าง(เฉลี่ยรอ้ ยละ) 16.0 16.0 0.0

4. ทา่ นเห็นผอู้ นื่ ประสบความทุกข์ ก็คิดจะชว่ ยเหลือให้พ้นจากทุกข์

กอ่ นการปรับปรงุ รูปแบบ 64.0 28.0 8.0

หลังการปรับปรุงรปู แบบ 84.0 8.0 8.0

ผลต่าง(เฉลย่ี รอ้ ยละ) 20.0 20.0 0.0

5. ท่านรสู้ กึ ท้อแทต้ ่อชีวิต กค็ ิดทบทวนหาเหตนุ ้นั ๆ

ก่อนการปรบั ปรงุ รปู แบบ 60.0 40.0 0.0

หลงั การปรบั ปรุงรปู แบบ 80.0 12.0 8.0

ผลตา่ ง(เฉลย่ี ร้อยละ) 20.0 28.0 8.0

6. ทา่ นระงับความโกรธได้เพราะความรักตอ่ สงิ่ น้นั ๆ

กอ่ นการปรบั ปรงุ รปู แบบ 32.0 44.0 24.0

หลังการปรบั ปรงุ รูปแบบ 80.0 16.0 4.0

ผลต่าง(เฉล่ยี รอ้ ยละ) 48.0 28.0 20.0

120

ตารางที่ 4.33 (ต่อ)

การปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นารูปแบบ ปฏบิ ตั ปิ ระจา ปฏบิ ัติบางครัง้ ไม่เคยปฏบิ ตั ิประจา

การดูแลสขุ ภาพของผู้สูงอายุ ฯ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ

7. ทา่ นเดนิ จงกรมเพราะได้ออกกาลังกาย จติ เป็นสมาธิ

กอ่ นการปรับปรงุ รปู แบบ 72.0 28.0 0.0

หลังการปรบั ปรงุ รูปแบบ 80.0 20.0 0.0

ผลตา่ ง(เฉล่ียร้อยละ) 8.0 8.0 0.0

8. ทา่ นทาสมาธบิ าบัด เพราะช่วยลดความเจบ็ ปวดขอ้ เข่า การปวดเม่ือยตามตวั บ่า ไหล่

กอ่ นการปรับปรงุ รปู แบบ 40.0 12.0 48.0

หลงั การปรบั ปรงุ รปู แบบ 84.0 16.0 0.0

ผลตา่ ง(เฉล่ยี ร้อยละ) 44.0 4.0 48.0

9. การเลีย้ งชีพในทางท่ชี อบ ทาให้ทา่ นมสี มาธิ ไม่โกรธง่าย ใหอ้ ภยั

ก่อนการปรับปรงุ รปู แบบ 84.0 8.0 8.0

หลงั การปรบั ปรุงรูปแบบ 92.0 4.0 4.0

ผลตา่ ง(เฉล่ยี ร้อยละ) 8.0 4.0 4.0

10. ทา่ นฝกึ จิตใหร้ ู้จักควบคมุ ฝกึ หัดกายและวาจา เปน็ การฝกึ ฝนพฒั นาจิตใจพรอ้ มกนั ไปดว้ ย

กอ่ นการปรับปรุงรูปแบบ 68.0 20.0 12.0

หลงั การปรับปรุงรปู แบบ 88.0 4.0 4.0

ผลต่าง(เฉลีย่ ร้อยละ) 20.0 16.0 8.0

ก่อนการปรบั ปรุงรปู แบบฯ เฉลีย่ รอ้ ยละ 56.4 19.6 24.0

หลงั การปรับปรุงรปู แบบฯ เฉล่ยี รอ้ ยละ 86.0 10.0 4.0

ผลตา่ ง(เฉล่ียรอ้ ยละ) 29.6 3.5 20.0

จากตารางที่ 4.33 ผลการเปรียบเทียบระดบั การฝึกปฏบิ ัตใิ นการพัฒนารปู แบบการดแู ล
สขุ ภาพของผ้สู งู อายุดว้ ยหลักพทุ ธธรรม ดา้ นการพัฒนาจิต (จติ ภาวนา) ระหวา่ ง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจา
เฉล่ียร้อยละ 56.0 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจามากที่สุดเร่ือง การ
เลี้ยงชีพในทางท่ีชอบ ทาให้ท่านมีสมาธิ ไม่โกรธง่าย ให้อภัย คิดเป็นร้อยละ 84.0 มีระดับการฝึกปฏิบัติ
เป็นบางคร้ังมากท่ีสุดเรื่อง ท่านระงับความโกรธได้เพราะความรักต่อส่ิงน้ันๆ คิดเป็นร้อยละ 40.0 มี
ระดับการไม่เคยฝึกปฏิบัติเป็นประจามากท่ีสุดเร่ือง ท่านน่ังสมาธิทุกคร้ังเพ่ือควบคุมจิตให้คลายความ
ฟ้งุ ซ่าน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 60.0

และหลังการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็น
ประจาเฉล่ียร้อยละ 86.0 เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.6 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติ

121

ประจามากที่สุดเรื่อง ท่านออกกาลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อคลายเครียด คิดเฉล่ียร้อยละ 100 มีระดับ
การฝึกปฏิบตั ิเป็นบางครงั้ มากทีส่ ุดเรอื่ ง การเข้าร่วมชมรมต่างๆ เช่น ชมรมกฬี า/ชมรมผสู้ ูงอายุ คิดเป็น
ร้อยละ 28.0 มีระดับการไม่เคยฝึกปฏิบัติเป็นประจามากท่ีสุดเร่อื ง . ท่านเดินจงกรมเพราะได้ออกกาลัง
กาย จติ เป็นสมาธิ คดิ เฉลยี่ รอ้ ยละ 20.0

122

ตารางท่ี 4.34 แสดงการเปรียบเทยี บระดบั การฝกึ ปฏบิ ตั ิในการพัฒนารูปแบบการดูแลสขุ ภาพของ
ผ้สู ูงอายดุ ว้ ยหลกั พุทธธรรม การพฒั นาปัญญา(ปัญญาภาวนา) จาแนกเปน็ รายขอ้ ระหวา่ งก่อนการ
ปรับปรุงรปู แบบและหลงั การปรับปรุงรูปแบบ (n = 25)

การปฏิบัตใิ นการพัฒนารปู แบบ ปฏิบัติประจา ปฏบิ ตั บิ างคร้งั ไม่เคยปฏบิ ัตปิ ระจา

การดูแลสุขภาพของผู้สงู อายุ ฯ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ

การฝึกปฏบิ ตั ิตนเองดา้ นปญั ญา

1. ท่านสามารถหาความรเู้ ก่ียวกบั การดูแลสุขภาพได้ท่โี รงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล

กอ่ นการปรบั ปรงุ รูปแบบ 0.0 0.0 100.0

หลังการปรับปรงุ รูปแบบ 20.0 16.0 64.0

ผลตา่ ง(เฉลย่ี ร้อยละ) 20.0 16.0 36.0

2. ทา่ นฟังเทศน์เพื่อใหร้ ้เู ท่าทันชวี ติ ตนตามความเปน็ จรงิ

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบ 20.0 64.0 16.0

หลงั การปรับปรงุ รูปแบบ 52.0 4.0 44.0

ผลต่าง(เฉลย่ี ร้อยละ) 32.0 60.0 28.0

.3. ทา่ นรักษาศีลเพอื่ ใหเ้ กดิ สมาธิ ลดความโลภ ความโกรธ ความหลง และคลายเครยี ดลงได้บา้ ง

กอ่ นการปรบั ปรุงรปู แบบ 72.0 28.0 0.0

หลังการปรับปรงุ รูปแบบ 92.0 8.0 0.0

ผลต่าง(เฉลี่ยร้อยละ) 20.0 20.0 0.0

4. ทา่ นไปสนทนาธรรมหาความรเู้ ท่าทนั เหตปุ ัจจยั นนั้

ก่อนการปรับปรุงรปู แบบ 76.0 20.0 4.0

หลงั การปรบั ปรงุ รปู แบบ 84.0 12.0 4.0

ผลต่าง(เฉลีย่ รอ้ ยละ) 8.0 8.0 0.0

.5. ทา่ นปรกึ ษาเพ่ือน/คนในครอบครวั รับรูป้ ระสบการณใ์ ห้ตรงกับความเป็นจริง

กอ่ นการปรบั ปรงุ รปู แบบ 76.0 24.0 0.0

หลังการปรบั ปรงุ รูปแบบ 84.0 12.0 4.0

ผลตา่ ง(เฉล่ียร้อยละ) 8.0 12.0 4.0

6. ท่านอา่ นหนงั สือทว่ั ไปเพื่อใหร้ เู้ ท่าทนั ทุกเหตุการณ์

ก่อนการปรับปรงุ รูปแบบ 44.0 56.0 0.0

หลงั การปรับปรงุ รูปแบบ 92.0.0 8.0 0.0

ผลตา่ ง(เฉล่ียรอ้ ยละ) 48.0 56.0 0.0

123

ตารางท่ี 4.34 (ต่อ)

การปฏิบตั ใิ นการพฒั นารปู แบบ ปฏิบตั ิประจา ปฏิบัตบิ างครัง้ ไม่เคยปฏบิ ัตปิ ระจา

การดูแลสขุ ภาพของผู้สูงอายุ ฯ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

7.ท่านดูโทรทศั นเ์ พื่อใหเ้ กิดความเพลิดเพลนิ และมีความรทู้ ันเหตกุ ารณ์ปจั จุบัน

กอ่ นการปรบั ปรงุ รปู แบบ 88.0 12.0 0.0

หลังการปรบั ปรงุ รปู แบบ 92.0 8.0 0.0

ผลต่าง(เฉลยี่ รอ้ ยละ) 4.0 4.0 0.0

กอ่ นการปรบั ปรงุ รูปแบบฯเฉล่ยี ร้อยละ 53.7 29.1 17.2

หลังการปรบั ปรุงรูปแบบฯเฉลย่ี รอ้ ยละ 73.7 9.7 16.6
ผลตา่ ง(เฉลี่ยรอ้ ยละ)
20.0 19.4 0.6

จากตารางที่ 4.34 ผลการเปรียบเทียบระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบการดูแล
สุขภาพของผสู้ งู อายุดว้ ยหลักพุทธธรรม ดา้ นการพัฒนาปญั ญา จาแนกรายขอ้ ระหวา่ ง

ก่อนการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจา
เฉล่ียรอ้ ยละ 53.7 เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจามากที่สดุ เรื่อง ท่านดู
โทรทศั น์เพ่ือให้เกดิ ความเพลิดเพลินและมคี วามรทู้ นั เหตกุ ารณป์ ัจจุบัน คดิ เป็นรอ้ ยละ 88.0 มีระดบั การ
ฝึกปฏิบัติเป็นบางครั้งมากท่ีสุดเร่ือง ท่านฟังเทศน์เพ่ือให้รู้เท่าทันชีวิตตนตามความเป็นจริงคิดเป็นร้อย
ละ 64.0 มีระดับการไม่เคยฝึกปฏิบัติเป็นประจามากท่ีสุดเรื่อง ท่านสามารถหาความรู้เกี่ยวกับการดูแล
สขุ ภาพไดท้ โี่ รงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล คดิ เฉลีย่ รอ้ ยละ 100

และหลังการปรับปรุงรูปแบบฯ พิจารณาในภาพรวมพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็น
ประจาเฉล่ียร้อยละ 73.7 เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.0 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีระดับการฝึกปฏิบัติ
ประจามากที่สุดเร่ือง ท่านรักษาศีลเพ่ือให้เกิดสมาธิ ลดความโลภ ความโกรธ ความหลง และคลาย
เครียดลงได้บ้าง และการอ่านหนังสือทั่วไปเพ่ือให้รู้เท่าทันทุกเหตุการณ์ คิดเป็นร้อยละ 92.0 มีระดับ
การฝึกปฏิบัติเป็นบางครั้งมากท่ีสุดได้แก่ การหาความรู้ตา่ งๆ ท่ีหอ้ งสมุดท่านดูโทรทัศน์เพื่อใหเ้ กิดความ
เพลิดเพลินและมีความรู้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน และการดูโทรทัศน์เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลินและมี
ความรู้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน คิดเป็นร้อยละ 92.0 ตามลาดับ มีระดับการไม่เคยฝึกปฏิบัติเป็นประจา
มากท่ีสุดได้แก่ ท่านสามารถหาความรูเ้ กี่ยวกบั การดแู ลสุขภาพได้ทโี่ รงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล
คดิ เป็นรอ้ ยละ 64.0

124

7) คาถามปลายเปดิ
เคร่อื งมอื การวิจยั .ในสว่ นท่ี 4 เป็นคาถามท่มี ุง่ ให้กล่มุ ตัวอย่างไดแ้ สดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับ
การดแู ลสขุ ภาพตนเอง มจี านวน 6 ขอ้
คณะผู้วจิ ยั ได้ทาการสมั ภาษณ์ ดว้ ยการอธิบายข้อคาถามอย่างละเอยี ดให้ผู้สงู อายุที่เป็นกลุม่
ตวั อยา่ งฟังแต่ละข้อ พร้อมท้ังขออนญุ าตบนั ทึกข้อมลู ลงในกระดาษคาถาม เม่ือบนั ทึกเสรจ็ แลว้ ก็อา่ นให้
ฟงั อีกครัง้ หนึ่ง ก่อนจะถามในข้อต่อไป และได้พจิ ารณาตัดทอนข้อความบางคาออกเพ่อื ให้เกิดความ
เหมาะสมทางด้านวิชากา

ตารางที่ 4.35 แสดงผลสรุปข้อความท่ีได้จากการสมั ภาษณ์ (n = 19)

ขอ้ ที่ คาถามด้าน คาตอบ ความถ่ี ร้อยละ

1 ความรู้และการปฏบิ ตั ใิ น ควรเลอื กรบั ประทานอาหารและหาความรู้เรื่องอาหาร 16 84.21

การรับประทานอาหารทมี่ ี ทเ่ี หมาะสมกบั วัยสูงอายุ ควรบรโิ ภคเน้ือปลา ผัก

ประโยชน์และเหมาะสม ผลไม้ ไมร่ บั ประทานอาหารรสจัด และมไี ขมนั สงู

2 ความรู้และการปฏิบตั ใิ น ควรแกว่งแขน และการบรหิ ารสว่ นต่างของร่างกาย 18 94.74
การออกกาลังกายท่ี หาความรเู้ รือ่ งการออกกาลงั กายทเี่ หมาะสม และควร

เหมาะสม ออกเปน็ ประจาวัน ๆ ละประมาณ 1 ชม. หรือเดินเรว็

วิง่ เหยาะ ๆ ป่นั จกั รยาน เปน็ ตน้

3 ความรูแ้ ละการปฏิบัตใิ น ควรฝึกปฏบิ ตั ธิ รรม นัง่ สมาธิ คยุ กบั เพือ่ น ไปวดั เดิน 19 100
การทาจิตใจให้สดชนื่ เบิก เลน่ ดโู ทรทศั น์ ฟังเพลง ฟงั ขา่ ว ฟังรายการธรรมะ

บาน

4 ความร้แู ละการปฏบิ ตั ใิ น ควรมกี ารสร้างอาชีพเสรมิ การปลกู ตน้ ไม้ อา่ นหนงั สือ 17 89.47

การกิจกรรมนนั ทนาการ การทาอาหาร การทากจิ กรรม อยากได้รบั ความรู้การ

และงานอดเิ รก ทางานอดิเรกท่ีสร้างรายได้เกดิ อาชพี ท่ีบ้าน

5 ดา้ นความรู้และการปฏบิ ตั ิ ปจั จุบนั ฟันหักไปเกือบหมดปากแล้ว บางรายกใ็ สฟ่ ัน 19 100

ในการดแู ลสุขภาพชอ่ ง ปลอม แตม่ ีบางส่วนตอบวา่ ควรแปรงฟันอยา่ งนอ้ ยวนั

ปากทถี่ กู ตอ้ ง ละ 2 ครั้ง และไปตรวจฟนั ทุก ๆ ปี

6 ดา้ นปัญหา อุปสรรค และ ไมอ่ อกกาลงั กายกนั การรบั ประทานอาหารท่เี ลือก 18 94.74

ข้อเสนอแนะเก่ยี วกบั การ ไม่ได้ การเดินทางไปอนามยั ลาบากเพราะไมม่ พี าหนะ

ดูแลสขุ ภาพของตนเอง ประจาทาง อยู่ตามลาพัง ขาดผู้ดแู ล มีโรคเร้อื รงั เช่น

เบาหวาน ความดันโลหติ สงู

ขอ้ เสนอแนะ ควรฝึกทาจิตใจให้แจม่ ใส และอยาก

ไดเ้ คร่ืองออกกาลังกายไวป้ ระจาลานวดั

จากตารางท่ี 4.35 พบว่า คณะผ้วู จิ ัยไดท้ าการสัมภาษณผ์ ู้สูงอายุที่เปน็ กล่มุ ตัวอยา่ ง
จานวน 25 คน สมคั รใจตอบคาถาม จานวน 19 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 76.00

125

8) เปรียบเทียบผลการพัฒนารูปแบบการดูแลสขุ ภาพของผสู้ ูงอายดุ ว้ ยหลักพุทธธรรม
ระหว่างผลการประเมินระยะท่ี 1 กับระยะที่ 2 (สัปดาห์ที่ 20 กับสปั ดาห์ท่ี 43) ในดา้ นความร้แู ละ
การฝึกปฏิบตั โิ ดยใชส้ ถติ ิ Paired t-test (n = 25)

ตารางที่ 4.36 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียระดับความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของ
ผสู้ ูงอายุดว้ ยหลักพทุ ธธรรม จาแนกเป็นรายดา้ น ระหว่างก่อนการปรับปรุงรปู แบบและหลัง
การปรบั ปรงุ รปู แบบ โดยใชส้ ถติ ิ Paired t-test (n = 25)

ประเด็นการเปรยี บเทยี บ คะแนนกอ่ นการร่วม คะแนนกอ่ นการร่วม t p
กจิ กรรม กจิ กรรม
(Pre-Test ) (Post-Test)

× S.D × S.D.

1. กายภาวนา” 8.64 0.99 9.52 0.65 -4.745 .000

2. ศลี ภาวนา 8.68 2.09 9.72 0.54 -2.764 .011

3. จิตภาวนา 8.320 1.24 9.48 0.509 -4.529 .000

4. ปัญญาภาวนา 5.80 1.25 6.72 0.39 -3.071 .005

5. การดูแลอนามยั ส่วนบคุ คล 3.76 0.43 3.84 0.37 -1.445 .161

6. การป้องกนั โรค 1.52 0.58 1.72 0.54 -1.309 .203

7. ความรู้ด้านสขุ ภาพจติ 0.48 0.50 0.88 0.33 -3.464 .002

* p – value < .05

จากตารางท่ี 4.36 พบว่าผลการเปรยี บเทียบระดับความร้กู ารดแู ลสขุ ภาพของผู้สงู อายุดว้ ย
หลักพุทธธรรม ระหว่างก่อนการปรับปรุงรูปแบบและหลังการปรับปรุงรูปแบบ “แตกต่างกัน”อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ยกเว้นการดูแลอนามัยสว่ นบุคคล และการป้องกันโรค “ไม่แตกตา่ งกัน”
p – value > .05

126

ตารางที่ 4.37 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยการฝึกปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบการดแู ลสุขภาพของ
ผสู้ ูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม จาแนกเป็นรายด้าน ระหวา่ งกอ่ นการปรบั ปรุงรูปแบบและหลัง
การปรบั ปรงุ รปู แบบ โดยใชส้ ถติ ิ Paired t-test (n = 25)

ประเด็นการเปรียบเทียบ คะแนนกอ่ นการร่วม คะแนนกอ่ นการร่วม t p
กจิ กรรม กิจกรรม
(Pre-Test ) (Post-Test)

× S.D × S.D.

1. การพัฒนากาย

(การรับประทานอาหาร)ฯ” 19.02 1.77 20.45 1.98 -3.628 .001

2. การพฒั นากาย

(การออกกาลงั กาย) 12.10 3.22 12.74 3.38 -2.426 .023

3. การพัฒนาด้านสงั คม

(ศลี ภาวนา) 5.48 1.61 6.12 1.76 -3.361 .003

4. การพัฒนาจติ (จิตภาวนา) 8.68 3.43 9.40 3.60 -3.166 .004

5. การพัฒนาปญั ญา

(ปญั ญาภาวนา) 7.28 3.23 7.76 3.36 -3.116 .005

* p – value < .05

จากตารางท่ี 4.37 พบว่า ผลการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียระดับการฝึกปฏิบัติในการพัฒนา
รปู แบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลกั พุทธธรรม ระหวา่ งกอ่ นการปรับปรงุ รูปแบบและหลงั การ
ปรับปรงุ รูปแบบ “แตกตา่ งกัน”ทุกด้าน อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05

127

ตารางที่ 4.38 แสดงค่าร้อยละการเปรียบเทียบผลการตรวจเลือดด้วยแพทย์แผนไทยปัจจุบัน ตาม
รายการตรวจสุขภาพ(ชีวะเคมี การเจาะเลือดที่ปลายนิ้ว) จาแนกเป็น 9 รายการของกลุ่ม
ตวั อยา่ งก่อนและหลงั การปรับปรงุ รูปแบบฯ

ผลการตรวจสอบสภาพร่างกาย

รายการตรวจสอบ ก่อน( n = 24) หลงั (n = 25) ผลตา่ ง

ปกติ ไมป่ กติ ปกติ ไม่ปกติ ปกติ ไมป่ กติ

รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

นา้ ตาล(FBS) 75.0 25.0 88.0 12.0 +13.0 -13.0

การทางานของไต(Creatinine) 100 - 100 - 100 -

เกาท์( Uric acid) 87.5 12.5 100 - 100 -

ไขมนั โคเลสเตอรอล(Choresterol) 37.5 62.5 64.0 36.0 +26.5 -26.5

ไขมันไตรกลเี ซอร์ไรด์(Triglyceride) 66.7 33.3 80.0 20.0 +13.3 -13.3

ไขมันด(ี HDL-C) 100 - 100 - - -

ไขมนั เลว(LDL-C) 58.3 41.7 64.0 36.0 +5.7 -57.0

การทางานของตับ(AST) 87.0 12.5 96.0 4.0 +9.0 -8.5

การทางานของตบั (ALT) 87.5 12.5 96.0 4.0 +9.0 -8.5

จากตารางท่ี 4.38 .พบว่า ผลการตรวจสขุ ภาพของกลมุ่ ตวั อย่างท่ีเข้าร่วมกิจกรรมมีการฝึก
ปฏิบัติตนเองด้วยหลักพุทธธรรม นาความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปปฏิบัติเป็นเวลา 43 สัปดาห์
สง่ ผลให้สุขภาพของผู้สงู อายุโดยรวมมีสุขภาวะดขี ึ้น ได้แก่ การทางานของไต (Creatinine) และไขมันดี
(HDL-C) มีคา่ ปกติคงท่ี ทร่ี ้อยละ 100 สุขภาวะที่มกี ารเปลยี่ นแปลงเขา้ สู้ภาวะปกติมากที่สุดได้แก่ เกาท์
( Uric acid) การทางานของตับ(AST) การทางานของตับ(ALT) น้าตาล(FBS) มีค่าปกติเมื่อส้ินสุดการ
ร่วมกิจกรรมร้อยละ 100, 96.0, 88.0 ตามลาดับ ในขณะเดียวกันค่าไม่ปกติก็ลดลงได้แก่ ไขมันเลว
(LDL-C) ไขมันโคเลสเตอรอล (Choresterol) และไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride) มีค่าไม่ปกติ
ลดลงท่ี -57.0,-26.5 -13.3 ตามลาดับ

128

กราฟท่ี 4.3 แสดงการเปรียบเทยี บผลการตรวจสอบสภาพร่างกายทางชีวะเคมี

กราฟแสดงการเปรียบเทยี บผลการตรวจสอบสภาพรา่ งกายทางชีวะเคมี

30

20

10

0

-10

-20

-30 ผลตา่ ง ไมป่ กติ ร้อยละ

ผลตา่ ง ปกติ ร้อยละ

4.4 สรุปผลกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนรว่ มและการถอดบทเรยี น

ผลจากการจดั กจิ กรรมการพฒั นารูปแบบการดแู ลสุขภาพ จากท้งั 3 กลมุ่ สรปุ ได้ดงั นี้
1) ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมส่วนใหญ่เข้าใจแนวทางการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของตนเอง
บนหลักการ “ตนแลเป็นท่ีพึ่งแห่งตน” การจะมีสขุ ภาพยืนยาวและอยู่ไดโ้ ดยไม่เปน็ ภาระแกผ่ ้อู ่ืน คอื การ
ออกกาลังกาย รับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัย มีจิตเมตตา กรุณา ไม่อิจฉา ไม่เบียดเบียนตนเอง
และเพื่อนบ้าน พักผ่อนให้เหมาะสมกับวัย ดูหนัง ฟังเพลง ฟังข่าวสารบ้านเมือง เพื่อเพิ่มเติมความรู้ให้
เท่าทันกบั บ้านเมืองเรา
2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่เข้าใจแนวคิดเก่ียวกับสุขภาพ แนวคิดพลังขับเคล่ือนจาก
ภายในตนเอง แนวคิดการทางานแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนอย่างแท้จริง เพราะเป็นกระบวนการท่ีสาคัญ
ในการเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ให้กับชุมชน เกดิ การพัฒนาสุขภาพจากความตอ้ งการของตนเอง
3) สง่ิ ทผี่ ู้สูงอายุภาคภูมิใจเมื่อเข้าร่วมกิจกรรมในคร้งั นี้ คือ การได้เรียนรู้วิธีการบาบัดต่างๆ
การใช้หลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนามาสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดความพยายาม และลงมอื ปฏิบัติ
ตามพุทธศาสนสภุ าษติ ท่ีว่า “ตนแลเป็นท่ีพ่งึ แห่งตน คนอ่ืนใครเลา่ จะเป็นที่พง่ึ แก่ตนเองได้”ในการฝกึ น่ัง
สมาธิทาให้จิตใจสงบ ไม่ฟุ้งซ่าน การสวดมนต์ก็ได้แผ่ส่วนกุศลให้เจ้ากรรมนายเวรทุกวัน ทาให้รู้สึกมี
ความสขุ มาก
4) ประโยชน์ท่ีได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ ได้แก่ การฝึกสมาธิ การทาสมาธิบาบัด
การเดินจงกรม การสวดมนต์ ได้รับความรู้ด้านการดูแลสุขภาพที่สามารถนาไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวัน
ได้ ช่วยคลายเครียด
5) ความประทับใจท่ีได้เข้าร่วมกิจกรรม ได้เรียนรู้การออกกาลังกายง่ายๆ ที่ไม่ต้องเสีย
ค่าใช้จ่ายซื้ออุปกรณ์ออกกาลังกาย เช่นการทาสมาธิบาบัด การเดินจงกรม การน่ังสมาธิ การสวดมนต์

129

เม่ือได้ปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง ผลท่ีเกิดกับรา่ งกายและสภาพจิตใจทาให้เกิดความสุข นอนหลับสบาย หาย
เครยี ด ไมต่ ้องกนิ ยา ขับถ่ายได้เปน็ ปกติ ไดพ้ บปะแลกเปลีย่ นกบั เพือ่ นวยั เดียวกันอย่างมีความสขุ

6) ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมกจิ กรรม ได้แก่ การเดนิ ทางมาประชุมเพ่อื ประเมินผล
การฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ่วี ดั เพราะไม่มีรถโดยสารประจาทาง

4.5 สรุป องค์ความรู้การพัฒนารูปแบบ การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม
ประกอบดว้ ย

1 ข้อมูลพื้นฐาน ของชุมชนวัดสุคนธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย ส่วนใหญ่จบ
การศึกษาระดับประถมศึกษา มีอาชีพทาการเกษตร มีวิถีชีวิตยึดโยงกับพระพุทธศาสนา มีรายได้เฉล่ีย
4,000 บาทขึน้ ไป ไมด่ ่ืมแอลกอฮอล์ ไมส่ บู บุหร่ี

2 สภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ ในหมู่ท่ี 2 และหมู่ที่ 3 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนใหญ่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังด้านความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และป่วย
ดา้ นเบาหวาน

3 สภาพการณ์ของผู้สูงอายุ ในหมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนใหญ่มีปัญหาเร่ืองการเดินทาง ขาดแคลนเงิน ไม่ออกกาลังกาย ขาด
ความรูแ้ ละข้อมูลขา่ วสาร ขาดการรบั ประทานอาหารทเ่ี ปน็ ประโยชน์ ขาดการออกกาลังกายทเ่ี หมาะสม
ขาดการร่วมกิจกรรมทางสังคม ขาดการเย่ียมบ้านจากเจ้าหน้าท่ี ขาดโอกาสในการท่องเท่ียงพักผ่อน
หย่อนใจ

4. ขอ้ เสนอแนะ
4.1 ควรออกกาลังกายและปฏิบัติเป็นประจา เช่น การเดิน ควรทาทุกวันและเพิ่ม

ระยะทางเดินอาทิตยล์ ะ 20 เมตร การเตน้ ราในงานแหน่ าค แห่กฐนิ ผ้าปา่
4.2 แนวทางการปฏิบัติเพื่อคลายความเครียดและวิตกกังวล ได้แก่ พูดคุยกับเพื่อน

บ้าน ปลูกตน้ ไม้ เล้ียงสตั ว์ นอนพักผ่อน ดูหนัง ฟงั เพลง ฝึกสมาธิ ระบายเล่าเร่ืองให้ลูกหลานฟัง เขา้ วัด
สมาทานศลี ฟงั พระเทศน์

4.3 ควรมีการให้กาลังใจสมาชิกในครอบครัว ได้แก่ การปลอบโยนกัน พูดคุยกัน
ปรกึ ษากัน การชว่ ยเหลือความเป็นอยู่ ชว่ ยเหลอื กันยามเจบ็ ป่วย

4.4 ควรกาหนดใหม้ กี ารจดั กิจกรรมสรา้ งเสรมิ ความรเู้ รื่องการดแู ลสุขภาพ
4.5 ควรกาหนดใหม้ ีการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหม้ ีการจัดต้งั ชมรมผสู้ งู อายุ
4.6 ควร กาหนดให้มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านกาย ด้านสังคม ด้านจิตใจและด้าน
ปัญญา
4.7 กาหนดให้มีการติดตามประเมินผลการฝึกปฏิบัติของกลุ่มผู้สูงอายุท่ีเข้าร่วม
กิจกรรม
4.8 กาหนดใหม้ กี ารตรวจสขุ ภาพโดยแพทย์แผนปจั จุบนั
5. ผลการทดลองรูปแบบการดแู ลสขุ ภาพผสู้ ูงอายดุ ว้ ยหลกั พทุ ธธรรม

5.1 ด้านความรู้ มีระดับความรู้สูงข้ึน ก่อนปรับปรุงรูปแบบ มีระดับความรู้ร้อยละ
79.40 หลงั การปรบั ปรงุ รูปแบบมีระดบั ความรู้สงู ขน้ึ ร้อยละ 89.10 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9.70

130

5.2 ด้านการปฏิบัติ มีระดับการปฏิบัติประจา ก่อนปรับปรุงรูปแบบ มีระดับการ
ปฏิบัติประจา ร้อยละ 61.20 หลังการปรับปรุงรูปแบบมีระดับการปฏิบัติประจา สูงขึ้นร้อยละ 75.40
เพิม่ ข้นึ รอ้ ยละ 14.20

5.3 ผลการตรวจสุขภาพร่างกาย(ปฏิบัติการทางชีวะเคมี)ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีการ
เปลยี่ นแปลงสุขภาพไปในทศิ ทางความเป็นปกตแิ ละมีสุขภาพดีขึ้น

การถอดบทเรียน

ผลจากการวิจัยในครัง้ นสี้ ามารถนาไปสรู่ ปู แบบการพฒั นาสุขภาพผูส้ ูงอายดุ ้วยหลักพทุ ธ
ธรรม ไดด้ งั นี้

1) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการเสริมสร้างสขุ ภาพผู้สูงอายุ โดยอาศัยกลุ่มท่เี ป็น
ทางการช่วยขับเคล่ือน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นาชุมชนและวัดร่วมกันจัดกิจกรรามเฉพาะ
ผู้สูงอายุ เชน่ กิจกรรมวันสาคัญต่างๆ กจิ กรรมออกกาลังกาย กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา บทบาทของ
ชุมชนในการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอย่างเป็นรปู ธรรม เช่น การให้ข้อมูลข่าวสารด้านการส่งเสริม
สุขภาพด้วยการประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสาย การให้คาปรึกษาหารือ จัดกจิ กรรมประชาคม จัดเวที
สาธารณะอยา่ งสมา่ เสมอเพ่ือเพ่มิ โอกาสใหผ้ สู้ ูงอายุได้รว่ มกิจกรรม

2) การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพและการคัดกรอง ชุมชนต้องการปรับพฤติกรรม
เพื่อลดโอกาสกอ่ โรคซ้าซอ้ น และปอ้ งกันการเกดิ โรคในระยะที่ 1 กิจกรรมที่ปฏบิ ตั ิได้เชิงรูปธรรม เช่น
การศึกษาความต้องการด้านการส่งเสริมสุขภาพอย่างครบถ้วนทุกมิติของสุขภาวะอย่างเป็นระบบ การ
ให้ความรู้เพอ่ื เสริมพลงั จัดอบรมเพอ่ื เพิ่มทักษะให้กบั กล่มุ แกนนา และอาสาสาธารณสุข

3) การจัดการความรู้เพื่อการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ซ่ึงเป็นความรู้ท่ีตอบสนอง
ความต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ และสร้างโอกาสให้ผู้สูงอายุเข้าถึงองค์ความรู้ท่ีสนับสนุนการ
ตดั สนิ ใจดา้ นสุขภาพด้วยตนเองอย่างเหมาะสม เพอื่ นาไปสู่การปรับมโนทศั น์ในการดแู ลสุขภาพตนเอง

4) การดแู ลสุขภาพผู้สูงอายุดว้ ยหลักพทุ ธธรรม

ปัจจุบันปัญหาโรคไร้เชื้อกาลังเป็นปัญหาของประเทศไทย ซ่ึงสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก
พฤติกรรมการใช้ชีวติ ท่ีเปลี่ยนไป การจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้กับประชาชนเอให้เกิดสุขภาพ
ที่ดีโดยเฉพาะผู้สูงอายุท่ีมีการสะสมพฤติกรรมการใช้ชีวิตมายาวนาน คุ้นชินกับความเป็นอยู่การจะ
ปรับเปลี่ยนจาเป็นต้องปรับแนวคิดว่า “สิ่งทั้งหลายท้ังปวงเป็นธรรมชาติท่ีมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม
ธรรมดา” ผู้สูงอายุก็เป็นวัยแห่งความเสื่อมถอย ทั้งด้านร่างกายและด้านจิตใจ การสร้างความตระหนัก
ให้เกิดการยอมรับ เกิดการเรียนรู้ เกิดความพอดี หรือเกิดความสมดุลของชีวิต ซ่ึงได้นาหลักพุทธธรรม
มาบูรณาการ ดังน้ี

(1) ใช้หลักพละ 5

ตามแนวคิดของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้กล่าวไว้ว่า “...ในการเข้าถึง
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา จะต้องปฏิบัติหลักธรรมย่อยๆ หลายอย่าง หลักธรรมหรือข้อปฏิบัติ
เหล่าน้ี จะต้องกลมกลืนพอดีกันได้แก่ อินทรีย์ 5 ผู้ปฏิบัติธรรมจะมีการเน้นคาว่า สมตา คือมีความ

131

สมดุลกันทั้ง ศรัทธา วริ ิยะ สติ สมาธิ และปัญญา การปฏิบตั ิจะต้องพอดีกัน ระหวา่ งวิริยะกับสมาธิ และ
ความพอดรี ะหว่างศรัทธากบั ปญั ญา โดยมีสติเปน็ เครอ่ื งควบคุม...”1

(2) ใชห้ ลักอิทธบิ าท 4
- ฉันทะ คือ ความพอใจ รักใคร่ เต็มใจ และฝักใฝ่ในงานอยู่เสมอ ทุ่มเทความสามารถ
และปรารถนาเพอ่ื ทจ่ี ะทางานนัน้ ใหด้ ีท่ีสดุ
- วริ ยิ ะคือ ความเพียรพยายาม ความอตุ สาหะและมานะบากบน่ั ท่ีจะทางานหรือทา
สิ่งหนึ่งส่ิงใดใหด้ ที ีส่ ดุ ไมท่ ้อถอยเม่ือเกดิ อุปสรรค และความยากลาบากตา่ งๆ ดว้ ยการมองปัญหาหรือ
อุปสรรคท่ขี ัดขวางต่อการทาส่งิ น้นั เป็นสิง่ ท่ที า้ ทาย และต้องเอาชนะใหส้ าเร็จ
- จิตตะ การเอาใจใส่ และให้ใจจดจอ่ อยู่กับอยู่กบั สง่ิ ท่ีทา มีสมาธมิ น่ั คงอยูก่ บั งาน ไม่
ปลอ่ ยปละละเลยในงานที่ทา และทางานดว้ ยความตงั้ ใจที่จะให้งานนัน้ สาเร็จ
- วิมังสา คือ การสอบสวน ไตร่ตรอง พิจารณาตรวจสอบในสิ่งท่ีกาลังทานั้นๆ รวมถึง
การรจู้ กั คน้ ควา้ ทดลอง คดิ ค้น และร้จู กั คดิ แกไ้ ขปรับปรงุ งาน ใหก้ ้าวหน้าอย่เู สมอ2
(3) ใชห้ ลกั ภาวนา 4
ภาวนา 4 เป็นแนวพฒั นาให้ผสู้ งู อายนุ าไปฝึกปฏิบตั ิตามตารางกจิ กรรมประจาวัน
หลกั พละ 5 สรา้ งความตระหนัก หลักอิทธิบาท 4 สร้างความพยายาม ในการดูแลสขุ ภาพตนเอง เพ่ือให้
เกดิ การพฒั นาสขุ ภาพในองค์รวม 4 ด้าน ได้แก่
- การพฒั นากาย คอื การพฒั นาร่างกายด้วยการออกกาลงั กาย เชน่ การเดิน การวิ่ง
เหยาะๆ การเดินจงกรม การทาสมาธิบาบัด การอยกู่ ับส่งิ แวดล้อมท่ีเกื้อกูลกัน การบริโภคปัจจัยสต่ี รง
ตามคุณค่าท่ีแท้จริง
- การพฒั นาศลี คือ การพฒั นาดา้ นกายและวาจา มีความสัมพนั ธ์ทางสงั คมกบั ผอู้ นื อ
ย่างเหมาะสม เก้ือกลู สร้างสรรค์ ส่งเสริมสนั ตสิ ุข
- การพฒั นาจิตคือ การพัฒนาจติ ตนเองให้มคี วามสมบูรณท์ ั้งคุณภาพ สมรรถภาพและ
สขุ ภาพจติ ที่ดดี ูแลสภาวะจิตใจตนเอง
- การพัฒนาปัญญา คือ การพัฒนาตนเองให้รู้จักคดิ พิจารณา วินิจฉัย แก้ปัญหา และ
ดาเนินการต่าง ๆ ดว้ ยปญั ญา คิดพิจารณาทุกส่งิ อยา่ งรอบคอบ

1 สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต, ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา,(ฉบับสองภาษา),2558,หน้า
11-12.

2 สขุ ภาพจิต/ศาสนา, [ออนไลน์] เขา้ ถงึ เม่อื 11 เมษายน 2561 เขา้ ถงึ ได้จาก thaiheal thlife.com .

132

ตารางภาพท่ี 4.1 แสดงรปู แบบการดูแลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ้วยหลกั พุทธธรรม

การมีส่วนร่วมของ การจัดบริการส่งเสริม
ชมุ ชนในการ สขุ ภาพและการคดั

เสรมิ สรา้ งสุขภาพ กรอง
ผู้สงู อายุ

รปู แบบการดแู ลสุขภาพ อทิ ธิบาท 4
ผูส้ ูงอายดุ ้วยหลกั พุทธธรรม

การจดั การความรู้ การดแู ลสุขภาพ ภาวนา
เพอื่ การสง่ เสรมิ 4
สุขภาพในชุมชน พละ ผสู้ งู อายุดว้ ยหลกั
พุทธธรรม
5ะ

5

บทท่ี 5

สรปุ ผลการวจิ ยั และขอ้ เสนอแนะ

การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบมีส่วนร่วม คณะผู้วิจัยนาเสนอผลการวิจัย แบ่ง
ออกเป็น 3 ส่วน ดงั น้ี

สว่ นท่ี 1 สรุปความเปน็ มา วัตถปุ ระสงค์ ขอบเขตและวิธกี ารวิจัยทใ่ี ช้
ส่วนท่ี 2 สรุปผลการวจิ ยั (ตามวัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัยและการวิเคราะห)์
สว่ นที่ 3 ข้อเสนอแนะ

ในแตล่ ะส่วนสรปุ ได้ ดงั น้ี

5.1 สรุปความเป็นมา วตั ถุประสงค์ ขอบเขตและวิธีการวิจยั ทใ่ี ช้

ประเทศไทยจาเป็นต้องเตรียมตัวรับมือกับสถานการณ์ประชากรสูงวัยอย่างรวดเร็ว การมี
สัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุมากขึ้นจะเป็นการเพิ่มภาระของรัฐ สังคม ชุมชน และครอบครัวท่ีต้อง
คอยดูแลสุขภาพ ค่าใช้จ่ายในการยังชีพ รวมท้ังสถานท่ีอยู่อาศัยให้เหมาะสมกับผู้สูงวัย สุขภาพ
ผู้สูงอายุของไทยมีแนวโน้มเสื่อมถอยหลายด้านพร้อม ๆ กัน ส่วนหน่ึงอาจเกิดจากความจากัดในการ
เข้าถึงบริการสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งครัวเรือนท่ีผู้สูงอายุอาศัยโดยลาพัง และ/หรือประสบความ
ยากลาบากในการเดินทาง ความเทา่ เทียมกนั ในการเข้าถึงบริการของผูส้ ูงอายุทอ่ี าศยั อยู่ตามลาพังเพิ่ม
สูงขึ้น และเข้าถึงบริการได้น้อยกว่าผู้สูงอายุในครัวเรือนที่มีญาติหรือผู้ดูแลอยู่ด้วย รวมทั้งการเข้าถึง
บริการขนส่งโดยสารสาธารณะทต่ี ้องมีค่าใช้จา่ ยเพ่ิมสูงขึ้น บริบทชมุ ชนวัดสุคนธาราม ในหมูท่ ่ี 2 และ
หมู่ท่ี 3 มีลักษณะการอยู่อาศยั ตามลาพังคนเดียวมีอัตราส่วนเพิ่มมากข้ึน มีรายได้หลักจากการเกษตร
มีรายได้ต่ากว่าเส้นความยากจน แหล่งรายได้หลักจากบุตรลดลงอย่างต่อเน่ือง และส่วนใหญ่ผู้สูงอายุ
ยังทางานอยู่ การขาดแคลนการบริการรถโดยสารในพื้นที่แห่งนี้ซึ่งมีความรุนแรงมากกว่าในเขตอ่ืนๆ
จึงร่วมกับองค์กรทุกภาคส่วนวางแผนการดูแลผู้สูงอายุ (Healthy aging) แบบบูรณาการทั้งในด้าน
สุขภาพ กาย จิตใจ สงั คม สามารถพ่ึงตนเองได้ มีคุณภาพชวี ิตที่ดีตามศักยภาพ และมีการปรับตัวจาก
วัยหน่ึงสู่วัยหน่ึงอย่างราบร่ืน จึงทาการวิจัยเชิงทดลองแบบมีส่วนร่วมขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ
วิเคราะห์สถานการณ์การดูแลสุขภาพ และการประเมินรวมท้ังการพัฒนารูปแบบในการดูแลสุขภาพ
ของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม โดยกาหนดพื้นท่ีในการวิจัยในหมู่ท่ี 2 และหมู่ที่ 3 วัดสุคนธาราม
ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปฏิบัติการประชุมแบบมีส่วนร่วมกับกลุ่ม
อาสาสมัครสาธารณสุข ตัวแทนชุมชนและองค์กรภาครัฐ จานวน 12 คน และทาการทดลองกับกลุ่ม
ผสู้ งู อายทุ ม่ี อี ายุตงั้ แต่ 60 ปี – 69 ปี ท่สี มัครใจเข้าร่วมโครงการวจิ ยั จานวน 25 คน

5.2 สรุปผลการวจิ ัย

5.2.1 จากวัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั เพ่ือวิเคราะห์สถานการณ์ผู้สูงอายุ ผลการวิจัยพบว่า
ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 64.9 ปี มีสถานภาพสมรส(คู่) สาเร็จศึกษาระดับช้ัน

134

ประถมศึกษา ร้อยละ 84.0 ประกอบอาชีพหลักทางการเกษตร มีรายได้ตั้งแต่ 4,001 บาทขึ้นไป มี
รายไดเ้ ฉลี่ยต่อปีสูงสดุ 700,000 บาท ต่าสุด 7,200 บาท รายได้สว่ นใหญไ่ ด้จากตนเอง มีจานวนผู้อยู่
อาศัยในครอบครัว 1-3 คน มีโรคประจาตัวป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง มีการออกกาลังกายใช้
วธิ ีการเดนิ เร็ว ใชร้ ะยะเวลา 20 – 30 นาที และไมส่ ูบบหุ ร่ี ไมด่ ่มื เครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์

สภาพการณ์ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุจากผลการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
และการศกึ ษาเอกสาร พบว่า

1) มผี ู้สูงอายปุ ่วยเปน็ โรคเรอ้ื รังด้านความดันโลหติ สูงร้อยละ 27.91 ปว่ ยไขมันในเลือดสูง
ร้อยละ 25.58 ปว่ ยดา้ นเบาหวานร้อยละ 12.09

2) ผลการคัดกรองสุขภาพ พบว่า ส่วนใหญ่มีความสามารถในการประกอบกิจวัตร
ประจาวันสามารถปฏิบัติด้วยตนเองได้ มีอาการปวดข้อเล็กน้อยขณะยืนลงน้าหนัก และมีสุขภาพจิต
เทา่ กับคนทั่วไป

3) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ในหมบู่ ้านมีปัญหาการเดินทางท่ีไม่สะดวก ขาดแคลนเงิน ไม่ได้ออก
กาลังกายอย่างสม่าเสมอ ขาดการรวมกลุ่มทากิจกรรมออกกาลังกาย ขาดอุปกรณ์ในการออกกาลัง
กาย ขาดผู้นาการออกกาลังกายและขาดสถานที่สาหรับเป็นศูนย์กลางการออกกาลังกาย ขาดความรู้
ในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้อง ขาดการสร้างสุขภาพที่เหมาะสมตามวัย ขาดการประชุม
วางแผนรวมกลุ่ม ขาดผู้นาและการประสานงานกับหน่วยงานราชการต่างๆ ขาดข้อมูลข่าวสารท่ีเป็น
ประโยชน์ ขาดการรับประทานอาหารเสรมิ สขุ ภาพ อันเน่ืองมาจากการที่ผูส้ ูงอายุบางรายมีรายไดน้ อ้ ย
ไม่พอใช้จ่าย หรือลูกหลานรีบไปทางานนอกบ้านไม่มีเวลาเตรียมอาหารให้รับประทานได้เต็มที่
เท่าท่ีควร ขาดการพบปะสังสรรค์กับเพื่อนผู้สูงอายุด้วยกัน ไม่มีอาชีพ คิดถึงลูกหลาน ขาดการเย่ียม
บ้านจากเจา้ หน้าท่ที ีไ่ มส่ ามารถดูแลไดอ้ ย่างทั่วถึง ขาดโอกาสในการท่องเทย่ี งพักผ่อนหยอ่ นใจ

สอดคล้องกับสถานการณ์ทางสุขภาพของผู้สูงอายุ ระบุว่า “...การสารวจสุขภาพ
ประชาชนโดยการตรวจร่างกายพบว่า โรคที่มักพบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง
เบาหวาน ข้ออักเสบ/ข้อเส่ือม โรคถุงลมโป่งพอง/หลอดลมปอดอุดก้ันเร้ือรัง หลอดเลือดหัวใจตีบ
กล้ามเน้ือหัวใจตาย และอัมพาต.”1 และรายงานผลการวิจัยของศรีสุดา วงศ์วิเศษกุล และคณะ2 เร่ือง
รูปแบบการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
พบว่า ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุของเขตบางพลัดได้แก่ ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคของ
กลา้ มเนือ้ และข้อ และเบาหวาน และพบดว้ ยวา่ ผู้สงู อายุสว่ นหน่งึ มโี รคเรื้อรังมากกวา่ หน่งึ โรค เช่น พบ
เบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูง ความดนั โลหติ สงู ร่วมกับไขมนั ในเลอื ดสูง เบาหวานรว่ มกับไขมันใน
เลือดสูง และความดนั โลหิตสูงร่วมกับเบาหวานและไขมนั ในเลือดสงู และงานวิจัยของสมบัติ ประจญ
ศานต์ และคณะ เรื่อง แนวทางพัฒนาสุขภาวะด้านสังคมของผู้สูงอายุในพื้นที่ลาน้าห้วยจระเข้มาก

1 อา้ งแล้ว, สถานการณ์ผ้สู ูงอายไุ ทย พ.ศ.2559,หนา้ 37
2 ศรีสุดา วงศว์ ิเศษกลุ และคณะ, “รปู แบบการเสริมสรา้ งสขุ ภาพผู้สูงอายุโดยการมสี ่วนร่วมของ
ชมุ ชน เขตบางพลดั กรุงเทพมหานคร”,คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ J.10 (2):พฤษภาคม-สิงหาคม
2559 หนา้ 164.

135

จังหวัดบุรีรัมย์3 ผลการวิจัยพบว่า สุขภาวะด้านร่างกายผู้สูงอายุส่วนใหญ่ร่างกายแข็งแรงแต่มีโรค
ประจาตัวทีพ่ บมากทีส่ ดุ ไดแ้ ก่โรคเบาหวาน โรคหวั ใจ และโรคความดันโลหิต สามารถเคลอ่ื นไหวและ
ทากิจวัตรประจาวันได้ด้วยตนเอง แต่ส่วนใหญ่ไม่สามารถข้ึนลงบันไดจากชั้นล่างของอาคารไปยังชั้น
บนได้เองเพราะมีอาการปวดขา ปวดเข่า ทาให้เดินลาบากต้องอาศัยคนช่วยพยุง ยังกลั้นปัสสาวะ
อุจจาระได้ตามปกติ นอนหลับน้อยกว่า 5 ชั่วโมงต่อวัน คร่ึงหน่ึงมีการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
ซึ่งสามารถอธิบายได้ด้วยทฤษฎีผู้สูงอายุว่าด้วยการเปล่ียนแปลงของผู้สูงอายุ ของกุลยา ตันติวา
อาชีวะ4 กล่าวว่า “...ปรากฏการณ์ของความมีอายุนั้น จะดาเนินไปอย่างช้าๆเม่ือเลยวัยกลางคนไป
แล้วร่างกายจะเร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างและหน้าท่ีของเซลล์เนื้อเยื่อ ความเต่งตึงลดลง
กล้ามเน้ือลดความแข็งแรงขาดความกระฉับกระเฉง ขาดความไวในการตอบสนองต่อส่ิงเร้า
ความสามารถในการทางานประสมประสานกันของระบบประสาทและกล้ามเน้ือถดถอย ซ่ึงการ
เปลีย่ นแปลงนเ้ี กดิ ข้นึ กับทกุ ระบบของร่างกาย แต่ในอัตราและระยะเวลาที่ตา่ งกัน...”

5.2.2. จากวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อประเมินรูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
ด้วยหลักพุทธธรรมของวัดสุคนธาราม ตาบลเทพมงคล คณะผู้วิจัยได้นารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพ
ของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมไปปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของกลุ่มตัวอย่าง โดยเพ่ิมจานวนเวลา
การออกกาลังกาย เพม่ิ กิจกรรมการออกกาลังกาย แลว้ ทาการประเมนิ ผลรูปแบบการดแู ลสขุ ภาพของ
ผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมในระยะท่ี 2 (หลังการปรับปรุง) ซ่ึงประกอบด้วยการรับรู้ในด้านกาย
ภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา การสร้างแรงจูงใจให้เกิดความพยายามปฏิบัติตาม
หลกั ภาวนา 4 อยา่ งต่อเนอ่ื งและสมา่ เสมอ ด้วยการทดสอบสมมตุ ิฐานใช้คา่ สถติ ิ Paired t-test “การ
เรียนรู้จากการเข้าร่วมโครงการวิจัย และผลการฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลัก
พทุ ธธรรม ระหวา่ งก่อนและหลังการปรับปรุงรูปแบบการพัฒนาการดแู ลสุขภาพของผ้สู ูงอายุดว้ ยหลัก
พุทธธรรม แตกตา่ งกนั ” ผลการทดสอบ มีดงั น้ี

1) การเปรียบเทียบค่าเฉลย่ี ระดับความรู้การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม
ระหว่างก่อนการปรับปรุงและหลังการปรบั ปรุงรูปแบบ พบว่า แตกต่างกันอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ .05 ยกเวน้ การดแู ลอนามัยส่วนบุคคล และการปอ้ งกันโรค “ไม่แตกต่างกนั ” p – value > .05

2) การเปรียบเทียบค่าเฉล่ียระดับการฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลัก
พทุ ธธรรมระหวา่ งก่อนและหลังการปรบั ปรุงรูปแบบ พบว่า แตกต่างกัน ทุกด้าน อยา่ งมีนัยสาคัญทาง
สถิติท่รี ะดับ .05

สอดคล้องกับผลการวิจัยของ จุรีวรรณ มณีแสง และคณะ เรอื่ ง ประสิทธิผลของการสร้าง
เสริมสุขภาพแบบมีส่วนรว่ มต่อสุขภาพผู้สูงอายจุ ังหวัดปทุมธานี5.พบว่า ผู้สูงอายุหลังเข้าร่วมโครงการ

3 สมบตั ิ ประจญศานต์ และคณะ, แนวทางพฒั นาสุขภาวะด้านสังคมของผู้สงู อายใุ นพืน้ ท่ีล้าน้าหว้ ย
จระเขม้ าก จังหวัดบุรีรมั ย์,วารสารวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฎั บุรีรัมย์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม
2557 หนา้ 24.

4 กลุ ยา ตนั ตวิ าอาชวี ะ, คมู่ อื ผูส้ ูงอายสุ ุขภาพสงู วยั ดูแลไดด้ ว้ ยตัวเอง,หน้า 18-41,

5 จุรีวรรณ มณีแสง และคณะ, ประสิทธิผลของการสร้างเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมต่อสุขภาพ
ผสู้ งู อายุจงั หวัดปทมุ ธานี, www.western.ac.th/media/attachments/2017/09/13/elderly2.

136

สร้างเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมมีความรู้ การรับรู้ และความคาดหวังของการปฏิบัติตน และมี
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
และจากการเปรียบเทียบพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพก่อนและหลัง เข้าร่วมโครงการ พบว่า มี
ความแตกต่างอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติ (P < .05) โดยหลังเข้าร่วมโครงการ ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการ
บริโภคอาหาร การออกกาลังกาย และการจัดการความเครียดอยู่ในระดับดี ซึ่งสูง กว่าก่อนเข้าร่วม
โครงการ และผลการวจิ ัยของกิตติมาพร โลกาวิทย์ เร่ือง ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ของผู้สูงอายใุ นชุมชนจงั หวัดปทุมธานี6 พบว่า กลุม่ ตัวอยา่ งมีภาวะสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (X 
3.41) เมื่อ พิจารณารายด้านพบว่า ภาวะสุขภาพด้านร่างกาย : ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร

ประจาวัน อยู่ในระดับดี (X  3.40 ) และพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุอยู่ในระดับดี (X 
3.11) โดยพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพดีที่สุด ส่วนด้านออกกกาลัง กาย
ส่วนมากอยู่ในระดับไม่ดี ภาวะสุขภาพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมี นัยสาคัญ
ทางสถิติทีร่ ะดบั .01 (r = .65) อายุมคี วามสัมพนั ธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอยา่ งมี นยั สาคัญทาง
สถิติระดับ .01 (r = -.19) สถานภาพสมรสมีความสันพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริม สุขภาพอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (r = .-09) รายได้มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมี
นัยสาคญั ทางสถติ ิ .01 (r = .31) ส่วนเพศไมม่ ีความสัมพนั ธ์กบั พฤตกิ รรมส่งเสรมิ สุขภาพ

5.2.3 จากวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพ่ือพฒั นารูปแบบการดแู ลสุขภาพของผสู้ ูงอายดุ ้วย
หลักพุทธธรรมของวัดสุคนธาราม ตาบลเทพมงคล คณะผู้วิจัยได้นารูปแบบการดูแลสุขภาพของ
ผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมท่ีผ่านการทดลองแล้วนามาทดลองกับกลุ่มตัวอย่างในระยะที่ 1(ก่อนการ
ปรับปรุงรูปแบบ) และระยะท่ี 2 (หลังการปรับปรุงรูปแบบ) แล้วทาการประเมินผลรูปแบบการดูแล
สุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ซึ่งประกอบด้วยการรับรู้ในด้านกายภาวนา ศีลภาวนา จิต
ภาวนา และปัญญาภาวนา การสร้างแรงจูงใจให้เกิดความพยายามปฏิบัติตามหลักภาวนา 4 อย่าง
ต่อเนอื่ งและสม่าเสมอ ผลการประเมินสรปุ ได้ ดงั นี้

1) ด้านความรู้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ พบว่า ก่อนการปรับปรุงรูปแบบ มีระดับ
ความรู้ในการดูแลสขุ ภาพตนเองในระดับคอ่ นข้างสูงร้อยละ 79.4 ส่วนใหญ่มีระดบั ความรู้สงู มากท่ีสุด
ในด้านการพัฒนากาย(กายภาวนา) และด้านการพัฒนาจิต(จิตภาวนา) คิดเป็นร้อยละ 100 หลังการ
ปรับปรุงรูปแบบมีระดับความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองในระดับสูงร้อยละ 89.1 ส่วนใหญ่มีระดับ
ความรู้สูงมากท่ีสุดในด้านการพัฒนากาย(กายภาวนา) และด้านการพัฒนาจิต(จิตภาวนา) คดิ เปน็ ร้อย
ละ 96.0

2) ด้านการฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายดุ ้วยหลักพุทธธรรม พบว่า ก่อนการ
ปรับปรุงรูปแบบมีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจาเฉลี่ยร้อยละ 61.2 ส่วนใหญ่มีระดับการฝึกปฏิบัติ
เป็นประจามากท่ีสุดด้านการพัฒนาทางด้านสังคม(ศีลภาวนา) คิดเป็นร้อยละ 84.0 หลังการปรับปรุง
รปู แบบมีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจาเฉลี่ยร้อยละ 75.4 ส่วนใหญ่มีระดับการฝึกปฏิบัติเป็นประจา
มากที่สดุ ดา้ นการพฒั นาทางดา้ นสังคม(ศลี ภาวนา) คดิ เป็นรอ้ ยละ 92.7

6 กิตติมาพร โลกาวิทย์,ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ของผู้สูงอายุในชุมชนจังหวัด
ปทมุ ธานี,วารสารวชิ าการมหาวทิ ยาลยั ปทุมธานี, ปที ่ี5 ฉบับที่1 มกราคม – เมษายน 2556,หนา้ 194.


Click to View FlipBook Version