The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-13 10:41:22

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม

การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม:
วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

รายงานการวจิ ัย

เร่อื ง

การพฒั นารูปแบบการดูแลสขุ ภาพของผู้สูงอายดุ ้วยหลกั พทุ ธธรรม:
วัดสุคนธาราม อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

โดย

พระครโู สภณวรี านวุ ัตร,ดร.
พรอ้ มคณะฯ

มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
วิทยาลยั สงฆ์สุพรรณบรุ ศี รีสวุ รรณภูมิ
พ.ศ.2561

ไดร้ บั ทุนอดุ หนุนการวิจัยจาก มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
MCU RS 610761310

2

รายงานการวจิ ยั

เร่ือง
การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สงู อายุด้วยหลกั พุทธธรรม:

วัดสุคนธาราม อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles

in Buddhists: Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province
โดย

พระครูโสภณวรี านุวัตร, ดร.
พรอ้ มคณะ ฯ

มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
วิทยาลัยสงฆ์สพุ รรณบุรศี รสี ุวรรณภมู ิ
พ.ศ.2561

ไดร้ บั ทนุ อุดหนุนการวิจยั จากมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
MCU RS 610761310

(ลขิ สทิ ธเิ์ ป็นของมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั )

3

Research Report

The Development of Model Health Care of The Elderly With Principles
in Buddhists:Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

By
Phrakhrusophonweeranuwat, Dr. and Themes
Mahachulalongkornrajavidyalaya University
SuphanBuri Sri Suwanaphumi Buddhist College

B.E. 2561

Research Projects Funded by Mahachulalongkornrajavidyalaya
University

MCU RS 610761310
(Copyright Mahachulalongkornrajavidyalaya University)

ช่ือรายงานการวิจยั : การพฒั นารปู แบบการดแู ลสขุ ภาพของผู้สูงอายุดว้ ยหลักพทุ ธธรรม
วัดสุคนธาราม อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
: พระครโู สภณวรี านวุ ัตร,ดร., พระครูวบิ ลู เจติยานุรกั ษ์,ดร.,

ผวู้ จิ ยั : พระมหานพรักษ์ ขนฺติโสภโณ,ดร.,

พระครสู ุวรรณจันทนวิ ฐิ ,และนายเอกมงคล เพช็ รวงษ์,

สว่ นงาน : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

วิทยาลัยสพุ รรณบรุ ีศรีสุวรรณภมู ิ วดั ปา่ เลไลยก์วรวหิ าร

จังหวัดสพุ รรณบุรี

ปงี บประมาณ : 2561

ทุนอดุ หนุนการวจิ ยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

บทคดั ยอ่

การวิจัยครั้งน้ี เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) วิเคราะห์
สถานการณ์ สภาพการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายุ 2) การประเมินและ 3)การพฒั นารูปแบบการดูแลสุขภาพ
ผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ดาเนินการ เป็น 4 ระยะ คือ 1) ระยะตรียมการ ทาการเก็บข้อมูลด้วย
แบบประเมินคัดกรอง เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลท่ัวไป แบบ
ประเมินความรแู้ ละการปฏิบัติตัว และข้อคิดเห็นการดูแลสุขภาพตนเอง กลุ่มที่ใช้ในการวิจัย เลือกด้วย
ความสมัครใจ มี 2 กลมุ่ คือกล่มุ ท่ีเข้าร่วมกจิ กรรมการวางแผนแบบมีสาวนร่วมไดแ้ ก่ ตวั แทนผ้นู าชุมชน
ข้าราชการสาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุข จานวน 12 คน กลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง
จานวน 25 คน วิเคราะหข์ ้อมลู ดา้ ยค่ารอ้ ยละ ค่าเฉล่ยี สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) ระยะดาเนินการ ใช้
รูปแบบการสนทนากลุ่ม จัดประชุมโดยประยุกต์กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม ดาเนินการ
วิเคราะห์เน้ือหาเพ่ือสร้างรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม 3) ระยะประเมินผล
ประเมินรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม และ 4) ระยะสรุปผล เป็นการพัฒนา
รูปแบบด้วยการเปรียบเทียบข้อมูลระดับความรู้และการฝึกปฏิบัติก่อนและหลังการปรับปรุงรูปแบบ
วิเคราะห์หาคา่ ด้วยสถิติ Paired t-test กาหนดนยั สาคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั 0.05

ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุเฉล่ีย 64.9 ปี
มีสถานภาพสมรส(คู่) สาเร็จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา มีอาชีพหลักทางการเกษตร มีรายได้ด้วย
ตนเองต้ังแต่ 4,001 บาทข้ึนไป มีผู้อยู่อาศัยร่วมในครอบครัว 1-3 คน ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง มี
การออกกาลังกายด้วยการเดินเร็ว ใช้เวลา 20 – 30 นาที และส่วนใหญ่ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ สภาพการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุ พบว่า ป่วยเป็นโรคเร้ือรังด้านความดันโลหิตสูงร้อยละ
27.91 ป่วยไขมันในเลือดสูงคิดร้อยละ 25.58 ป่วยด้านเบาหวานร้อยละ 12.09 ส่วนใหญ่มี
ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวันสามารถปฏิบัติด้วยตนเองได้ มีอาการปวดข้อเล็กน้อย
ขณะยืนลงน้าหนัก และมีสุขภาพจิตเท่ากับคนทั่วไป ปัญหา อุปสรรค พบว่า มีปัญหาด้านการคมนาคม



ขาดความรู้และข้อมูลข่าวสาร ขาดการรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ ขาดการออกกาลังกายท่ี
เหมาะสม ขาดการร่วมกิจกรรมทางสังคม ขาดการเย่ียมบ้านจากเจ้าหน้าท่ี ขาดโอกาสในการท่องเท่ียง
พักผ่อนหย่อนใจ หลังจากการเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนารูปแบบ เม่ือเปรียบเทียบด้านความรู้ พบว่า
หลังการพัฒนารูปแบบมคี วามรู้มากกว่าก่อนการพัฒนารูปแบบร้อยละ 9.70 ด้านการปฏิบัติ พบว่า หลัง
การพัฒนารูปแบบมีการปฏิบัติตนเองมากกว่าก่อนการพัฒนารูปแบบร้อยละ 14.20 ซึ่งมีระดับความรู้
แตกตา่ งกันอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 ยกเว้นการดูแลอนามัยส่วนบุคคล และการป้องกันโรค
“ไม่แตกต่างกัน” p – value > .05 และระดับการฝึกปฏิบัติ แตกต่างกัน ทุกด้าน อย่างมีนัยสาคัญทาง
สถติ ิที่ระดับ .05 และผลการตรวจเลือด(ชวี ะเคมี) โดยรวมมสี ขุ ภาวะดขี น้ึ

จะเห็นได้ว่า รปู แบบการดูแลสุขภาพผ้สู ูงอายุท่ีนาหลักพุทธธรรมมาบูรณาการให้สอดคล้อง
กบั วถิ ีชุมชน ส่งผลให้ผูส้ ูงอายุมีความรู้ และมีการปฏิบัติกจิ กรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง รู้จักวิธีการ
ปอ้ งกนั โรคไดอ้ ย่างต่อเนือ่ ง ซ่งึ สง่ ผลให้ผู้สูงอายมุ ีสุขภาพและคุณภาพชวี ติ ทีด่ ีข้ึน

คาสาคญั : การพัฒนารูปแบบ การดูแลสุขภาพ ผสู้ งู อายุ หลักพทุ ธธรรม :



Research Title : The Development of Model Health Care of The Elderly

Researchers : With Principles in Buddhists : Watsukhontharam
Bangsai Distric Pranakhornsriayuthaya Province
Phrakhrusophonweeranuwat,Dr.,
Phrakhru wiboonje tiyanurak,Dr.,
Phramaha Nopparak khantisopano,Dr.,

Phrakrusuwanchanthaniwit , and

Aekmongkol Phetchawong
Department : Mahachulalongkornrajavidyalaya University SuphanBuri

Sri Suvarnabhum Buddhist College
Fiscal Year : 2561
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University

Abstract

This research is a particular experimental research. The purpose of this Point
is mentioned for 1) The situation analysis and the condition of elderly health care 2)
Assessment and 3) development of the elderly health care model with the principle of
Buddha Dhamma. There are divided for 4 periods of time, 1) Preparation periods. The
information data are collected with a screening test and to be involved with tools &
equipment are composing with General information interview plus knowledge,
practicing assessment form and doing my self-care with research group in Voluntary
selection There are purposed in two groups as following as; first group that participates
in planning activities, including Community leaders Public Health Official and 12 public
health volunteers. There are a number of 25 elderly people in the sample group,
thread data analysis, percentage, mean, and standard deviation, 2) Operation periods.
We are using the group chat for arrange and organize in the meetings by applying
participatory planning processes. To conduct an analysis for elderly health care with
the principle of Buddhism. 3) Assessment periods. Assessment of elderly people
health care with Buddhist principles and 4) Summary periods. The development of
the model by comparing with the knowledge and practicing before and after. An
Analysis of values with Paired t-test level 0.05 statistic.

The research has found and the report of the samples are female more than
males, with an average age of 64.9 years, marital status (couple), primary school



graduation. There have a major agricultural career, earn income starts from 4,001 baht
or more than that. There are a number of 1-3 residents in the family who have got a
patients with high blood pressure, there is a fast walking exercise that takes 20 - 30
minutes. They actually do not smoke, not consume any alcohol The health condition
of the elderly found that 27.91 percent has chronic diseases in hypertension, high
blood cholesterol, 25.58 percent, 12.09 percent of diabetes mellitus. There is a slight
pain when standing down to weight and having mental health equal to the general
population. Lack of knowledge and information, beneficial food, proper exercise, social
activities, visits home from staff and also lack of opportunities to surf & relax. After
participating in the theme development activities they are comparing with some
knowledge. It has found that after the development of the model, having some more
knowledge than before the development of the 9.70 percent in practicing, it is found
that after the development of the self-practice than before the development of 14.20
percent. There are some different knowledge significantly at the level of .05, except
for personal health care. The disease prevention it make "No difference" p - value> .05
and different practicing levels in all aspects with statistical significance at the level of
.05 and overall blood test results (biochemistry), all totally the healthy is getting more
better and stronger.

It could be seen that the elderly health care model are integrates with the
Buddha Dharma principle to be integrated with the community's way. Impact of
knowledge of the elder, having their own health care activities. Know how to prevent
disease continuously, the results of healthy care is better and get a quality of life for
the elderly.

Keywords ; Development, Health Care, model,Principles in Buddhists”



กติ ตกิ รรมประกาศ

งานวิจัยฉบับน้ี สาเร็จได้ด้วยดีเพราะได้รับความเมตตาอนุเคราะห์ช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่ง
จากคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้มีพระคุณทั้งหลาย ผู้วิจัยขอจารึกนามให้ปรากฏเพื่อเป็นเกียรติ ท่าน
ดงั ตอ่ ไปน้ี

ขอกราบขอบพระคุณพระเดชพระคุณพระธรรมพุทธิมงคล สิรินนฺโท (สอิ้ง อาจสน์สถิต)
เจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร, เป็นท่ีปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานกิตติมศักด์ิ
วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี ที่
สนับสนุนข้อมูลตา่ งๆ เปน็ อย่างดี

ขอกราบขอบคุณท่านผู้อานวยการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ พระเดชพระคุณพระสุธีรัตน
บัณฑิต และคณาจารย์ในสถาบันวิจัยทุกรปู /คน ได้กรุณาเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาให้คาแนะนาช้ีแนะตรวจ
แกไ้ ขจนทาให้งานวจิ ัยฉบบั น้ี ดาเนนิ ไปได้โดยสมบรู ณ์

ขอขอบคุณผู้บริหารและคณาจารย์ประจาหลักสูตรและคณาจารย์พร้อมเจ้าหน้าที่วิทยาลัย
สงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิจังหวัดสุพรรณบุรี ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านวิชาการ แนวคิด ที่เป็น
ประโยชน์ต่อการทาวิจัย โดยเฉพาะคณะทางานทั้งหมดที่ใหค้ วามรว่ มมอื สนบั สนุนในการจัดทางานวิจัย
คร้งั น้ี ทกุ อยา่ งทกุ ประการเป็นอยา่ งดเี ยี่ยม

ขอขอบคุณ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้สูงอายุที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ และผู้แทนจาก
องค์การส่วนท้องถ่ิน ชุมชนวัดสุคนธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทุกๆทา่ น อานิสงส์ คุณูปการท่ีเกิดจากการทางานวิจัยนี้ ผู้วิจัย ขอน้อมถวายเป็นสักการบูชาแด่คุณพระ
ศรีรัตนตรัย ผู้ให้ข้อมูล ท่านเจ้าของตารา ข้อมูลจากออนไลท์ ที่ผู้วิจัยนามาใช้เพ่ือการศึกษาค้นคว้า
ตลอดถึงผู้มีอปุ การคณุ ทกุ ท่าน

พระครูโสภณวรี านุวตั ร,ดร.
17 มีนาคม 2562



สารบญั

บทคดั ย่อภาษาไทย........................................................................................................................ก
บทคัดย่อภาษาองั กฤษ .................................................................................................................ง
กิตติกรรมประกาศ .......................................................................................................................ฉ
สารบญั ช
สารบัญตาราง
สารบะญกราฟ .............................................................................................................................ฌ
สารบัญแผนภมู ิ..............................................................................................................................ญ
คาอธิบายสญั ลักษณแ์ ละคาย่อ ......................................................................................................ฐ

บทท่ี 1. บทนา ............................................................................................................................1

1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา...................................................................1
1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั .........................................................................................4
1.3 ปญั หาการวจิ ัย .........................................................................................................4
1.4 ขอบเขตการวิจัย สมมติฐานการวจิ ยั ......................................................................4
1.5 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย .........................................................................5
1.6 สมมตฐิ านการวจิ ยั .................................................................................................9
1.7 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รบั .......................................................................................10

บทท่ี 2. แนวคิด ทฤษฏแี ละงานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง ........................................................................11
2.1 แนวคิดการพฒั นาการวิจัยโดยใช้รปู แบบ .................................................................11
2.2 ทฤษฏเี กยี่ วกบั ผสู้ ูงอายุ ............................................................................................13
2.3 แนวคดิ การมสี ่วนร่วม...............................................................................................28
2.4 แนวคดิ วธิ ีการวจิ ัยเชิงปฏบิ ัติการแบบมีสว่ นรว่ ม.......................................................31
2.5 เทคนคิ กระบวนการระดมสมองแบบมสี ่วนร่วม ........................................................33
2.6 หลักพทุ ธธรรม .........................................................................................................35
2.7 คุณประโยชน์ของการสวดมนต์และการฝกึ สมาธิ ......................................................41
2.8 บรบิ ทของพ้นื ท่ีทาการวิจยั .......................................................................................47
2.9 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง...................................................................................................48
2.10 กรอบการวจิ ยั ........................................................................................................54

บทท่ี 3. วิธดี าเนนิ การวจิ ยั .........................................................................................................55
3.1 รูปแบบการวจิ ัย……………………………………………………………………......................... ..55



3.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ..58
3.3 เครือ่ งมือการวจิ ัย ..59
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมลู การวิจยั ..62
3.5 การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 3 สว่ น ..64
3.6 สตู รสถิติทใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ..64

บทท่ี 4. ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล....................................................................................................65
4.1 การศกึ ษาข้อมลู พนื้ ฐานของชมุ ขน............................................................................66
4.2 ผลการจัดประชุมวางแผนโดยกระบวนการมีสว่ นรว่ ม (A–I-C)
ของชุมชนในการ พฒั นารปู แบบการดแู ลสุขภาพของผูส้ ูงอายุด้วยหลกั พทุ ธธรรม 69
4.3 การดาเนนิ งานตามแผน/โครงการ/กิจกรรมท่ไี ด้จากการประชมุ วางแผน
แบบมีส่วนร่วม .................................................................................................................94
4.4 สรปุ ผลกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมและการถอดบทเรียน............................128
4.5 องคค์ วามรูท้ ีเ่ กดิ จากการวิจยั เร่อื งการ พฒั นารปู แบบการดแู ลสขุ ภาพ
ของผสู้ ูงอายดุ ้วยหลกั พุทธธรรม .......................................................................................129

บทท่ี 5. สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ..........................................................133
5.1 สรปุ ความเปน็ มา วตั ถุประสงค์ ขอบเขตและวิธีการวจิ ยั .........................................133
5.2 สรุปผลการวิจัย…………………………………………………………………………………………….. 133
5.3 ขอ้ เสนอแนะ………………………………………………………………………………………….. .... ..141

บรรณานกุ รม ........................................................................................................................ 143
ภาคผนวก ................................................................................................................. 148
ภาคผนวก ก บทความวชิ าการ .......................................................................................149
ภาคผนวก ข กจิ กรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการนาผลจากโครงการวจิ ัยไปใช้ประโยชน์…........ ..166
ภาคผนวก ค ตารางเปรียบเทียบกจิ กรรมท่ไี ดด้ าเนนิ การและผลท่ีได้จากการวจิ ยั … ..... ..169
ภาคผนวก ง เคร่อื งมือเพือ่ การวิจัย………………………………………………………….............. ..175
ภาคผนวก จ ภาพประกอบในการวิจัย ……………………………………………………………….. ..234
ภาคผนวก ฉ แบบสรุปโครงการวจิ ัย……….......................................................................244
ประวัตผิ ู้วิจัย ……………………………………………………………………………………………………....251



สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา้

4.1 แสดงจานวนประชากร.....................................................................................................69
4.2 แสดงการสรุปผลการจัดประชุมแบบมสี ่วนร่วม ในการนาเสนอปัญหา
4.3 แสดงการสรุปจากผลการจัดประชุมแบบมสี ่วนรว่ ม แนวทางการแก้ไข

ปญั หา ของกล่มุ ผู้สงู อายุ ..................................................................................................72
4.4 แสดงถึงความตระหนกั รบั รแู้ ละความพยายามในการแก้ไขปญั หา

ของกลมุ่ ผู้สงู อายุ..............................................................................................................73
4.5 แสดงการสรุปผลการจดั ประชมุ แบบมสี ว่ นรว่ ม ของกล่มุ ตัวแทน

แกนนาชมุ ชน...................................................................................................................74
4.6 แสดงการสรุปผลการจัดประชุมแบบมีส่วนร่วม ของกลุ่มตัวแทนแกน

นาชมุ ชนของผสู้ ูงวัย.........................................................................................................75
4.7 แสดงการสรุปผลการจัดประชุมแบบมีสว่ นร่วม ของเจ้าหน้าที่

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเทพมงคล และอาสาสมัครสาธารณสขุ .........................76
4.8 แสดงการสรุปผลการจัดประชมุ แบบมีสว่ นร่วม ของกล่มุ เจา้ หนา้ ท่ี

โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลเทพมงคล และอาสาสมัครสาธารณสุข .........................77
4.9 แสดงการสรปุ ผลการจัดประชุมแบบมีสว่ นรว่ ม ของกลุ่มเจา้ หน้าท่ี

โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลเทพมงคล และอาสาสมัครสาธารณสุข .........................78
4.10 แสดงผลการดาเนนิ งานตามแผนโดยกระบวนการมีสว่ นรว่ ม ..........................................79
4.11. แสดงจานวนและอัตราป่วยโรคเรอ้ื รงั ของผสู้ ูงอายุ ........................................................82
4.12. แสดงคา่ ร้อยละของขอ้ มลู คณุ ลกั ษณะส่วนบคุ คลกลุ่มตัวอยา่ ง ......................................82
4.13 แสดงคา่ ร้อยละของผลการประเมิน ADL. การจาแนกผู้สูงอายุ.......................................86
4.14 แสดงค่าร้อยละของรายงานผลการคดั กรองสขุ ภาพจติ ที่พงึ ประสงค์...............................87
4.15 แสดงค่ารอ้ ยละของรายงานผลการคัดกรองสุขภาพจติ ที่พงึ ประสงค์...............................88
4.16. แสดงค่าร้อยละของผลการประเมินขอ้ เข่าเสอ่ื ม ตามแบบสอบถาม.................................89
4.17 แสดงค่าร้อยละของผลการประเมนิ ขอ้ เขา่ เสื่อม ตามแบบสอบถาม ................................90
4.18. แสดงค่าร้อยละของผลการประเมนิ ขอ้ เข่าเส่ือมตามแบบสอบถาม..................................91
4.19 แสดงค่าร้อยละของผลการตรวจสอบสภาพรา่ งกายด้วยแพทย์

แผนไทยปจั จุบนั ตามรายการตรวจสุขภาพ ...................................................................92
4.20 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลยี่ ร้อยละของระดับความร้ใู นการพฒั นา

รูปแบบการดูแล สขุ ภาพของผู้สูงอายุดว้ ยหลกั พุทธธรรม ..............................................95
4.21 แสดงการเปรยี บเทยี บคา่ รอ้ ยละของระดับความรู้ในการพัฒนารปู แบบ



การดแู ลสุขภาพของผู้สงู อายุด้วยหลกั พทุ ธธรรม............................................................96
4.22 จานวนรอ้ ยละของความรู้ในการดแู ลสุขภาพตนเองของผสู้ ูงอายุ

ด้วยหลกั พทุ ธธรรม ดา้ นการพฒั นากาย(กายภาวนา).....................................................98
4.23 จานวนรอ้ ยละของความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองของผสู้ ูง

อายดุ ว้ ยหลกั พทุ ธธรรม ด้านการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม (ศลี ภาวนา)........................100
4.24 แสดงการเปรียบเทยี บจานวนร้อยละของความรู้ในการพฒั นา

รปู แบบการดูแลสขุ ภาพของผู้สงู อายุด้วยหลกั พุทธธรรม ด้านการพัฒนาจิต(จติ ภาวนา).102
4.25 แสดงการเปรยี บเทยี บจานวนร้อยละของความรู้ในการพัฒนา

รูปแบบการดูแลสขุ ภาพของผสู้ ูงอายดุ ว้ ยหลกั พุทธธรรม ..............................................104
4.26 แสดงการเปรียบเทยี บจานวนรอ้ ยละของความรู้ในการพฒั นารปู แบบ

การดแู ลสุขภาพของผสู้ งู อายดุ ้วยหลักพทุ ธธรรม ด้านการดูแลอนามยั ส่วนบคุ คล ..........106
4.27 แสดงการเปรียบเทียบจานวนรอ้ ยละของความร้ใู นการพฒั นารปู แบบ

การดแู ลสุขภาพของผูส้ ูงอายุดว้ ยหลักพุทธธรรม ดา้ นการป้องกันโรค............................107
4.28 แสดงการเปรียบเทียบคา่ เฉล่ยี ร้อยละของระดับการฝกึ ปฏิบตั ิ

ในการพฒั นารูปแบบการดแู ลสขุ ภาพของผู้สูงอายดุ ว้ ยหลกั พทุ ธธรรม ...........................108
4.29 แสดงการเปรยี บเทียบระดับการฝกึ ปฏิบตั ิในการพฒั นารูปแบบ

การดูแลสุขภาพของผูส้ ูงอายดุ ว้ ยหลักพทุ ธธรรม............................................................109
4.30 แสดงการเปรยี บเทียบระดับการฝกึ ปฏิบัติในการพัฒนารูปแบบ

การดแู ลสุขภาพของผู้สูงอายดุ ้วยหลักพทุ ธธรรม............................................................111
4.31 แสดงการเปรียบเทียบระดับการฝึกปฏิบัตใิ นการพฒั นารูปแบบการ

ดูแลสุขภาพของผสู้ งู อายดุ ้วยหลักพุทธธรรม ดา้ นการพัฒนากาย(ออกกาลังกาย............114
4.32 แสดงการเปรียบเทียบระดับการฝึกปฏบิ ัตใิ นการพฒั นารปู แบบ

การดแู ลสขุ ภาพของผู้สูงอายดุ ้วยหลกั พทุ ธธรรม ด้านสงั คม (ศีลภาวนา ........................117
4.33 แสดงการเปรียบเทยี บระดบั การฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นการพัฒนารปู แบบ

การดแู ลสขุ ภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ด้านการพัฒนาจิต (จิตภาวนา ............119
4.34 แสดงการเปรยี บเทียบระดับการฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นการพัฒนารูปแบบ

การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายดุ ้วยหลักพทุ ธธรรม การพฒั นาปัญญา(ปญั ญาภาวนา).......122
4.35 แสดงผลสรุปข้อความท่ีไดจ้ ากการสมั ภาษณ์ ..................................................................124
4.36 แสดงการเปรียบเทียบคา่ เฉลยี่ ระดับความรูใ้ นการพัฒนารูปแบบ

การดแู ลสุขภาพของผู้สูงอายดุ ้วยหลักพุทธธรรม............................................................125
4.37 แสดงการเปรยี บเทยี บค่าเฉลย่ี การฝกึ ปฏิบัติในการพฒั นารปู แบบ

การดแู ลสขุ ภาพของผู้สูงอายุด้วยหลกั พทุ ธธรรม............................................................126
4.38 แสดงคา่ รอ้ ยละการเปรยี บเทยี บผลการตรวจเลอื ดด้วยแพทย์แผนไทย

ปจั จุบนั ตามรายการตรวจสุขภาพ(ชวี ะเคมี การเจาะเลอื ดทปี่ ลายน้ิว ...........................127



สารบัญแผนภมู ิ

1.1 แสดงกระบวนการประเมนิ รปู แบบการดแู ลสขุ ภาพผ้สู งู อายุ .................................................7

1.2 รูปแบบการวิจัยเชิงทดลอง………………………………………………………………………………… 54

2.10 กรอบการวจิ ัย.................................................................................................................. 54

ตารางกิจกรรมการพัฒนาสุขภาพของผสู้ ูงอายดุ ้วยหลักพุทธธรรม .............................................. 94

ตารางภาพท่ี 4.1 แสดงรปู แบบการดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายดุ ้วยหลักพทุ ธธรรม ............................. ..132

กราฟที่ 4.1 แสดงการเปรียบเทียบระดับความรู้ก่อนและหลังก่อนการปรบั ปรุงรูปแบบ ............ ..95

กราฟท่ี 4.2 แสดงการเปรยี บเทียบการปฏบิ ัติในการดูแลสุขภาพก่อนหลังปรับปรุงรูปแบบ....... ..108

กราฟที่ 4.3 แสดงการเปรยี บเทียบผลการตรวจสอบสภาพร่างกายทางชีวะเคมี 128



คาอธบิ ายสญั ลักษณ์และคาย่อ

1.คาย่อภาษาไทย

อกั ษรย่อบอกชอื่ คมั ภรี ์ต่างๆ ได้จัดทาตามทอี่ า้ งในพระไตรปิฎกภาษาบาลี และภาษาไทย
อรรถกถา ฎีกาและปกรณวิเสส ภาษาบาลี ใช้ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เพ่ือเป็นเอกสาร
ประกอบการสอนรายวิชาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉพาะท่ีต้องการอ้างหลาย
ฉบบั จะใสอ่ ักษรยอ่ ของฉบบั นั้นๆ ไว้ คมั ภรี ์ภาษาบาลบี างคัมภรี ์มิได้ใชอ้ ักษรยอ่ ๆไว้ ใหพ้ ิมพ์รายละเอียด
แบบเชงิ อรรถทว่ั ไป อักษรย่อเรียงตามลาดบั คมั ภรี ์ ดงั น้ี

พระวินัยปฎิ ก

คาย่อ คาเตม็
วิ.ม. (บาลี) วนิ ยปฏิ ก มหาวคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี
วิ.ม. (ไทย) วนิ ยปฎิ ก มหาวรรค (ภาษาไทย)

พระสุตตนั ตปิฎก

ที.ม. (ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก ทีฆนิกาย มหาวรรค (ภาษาไทย)
ท.ี ปา. (บาล)ี สุตตฺ นตฺ ปิฏก ทฆี นกิ าย ปาฏกิ วคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี
ท.ี ปา. (ไทย) สุตตนั ตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏกิ วรรค (ภาษาไทย)
ม.ม.ู (ไทย)
องฺ.ปญฺจก. (บาล)ี สตุ ตนั ตปฎิ ก มชั ฌิมนกิ าย มูลปณั ณาสก์ (ภาษาไทย)
องฺ.ปญจฺ ก. (ไทย) สตุ ฺตนตฺ ปิฎก องคฺ ุตฺตรนกิ าย ปญฺจกนปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. อฏฐฺ ก.(ไทย) สุตตนั ตปฎิ ก องั คุตตรนิกาย ปญั จกนบิ าต (ภาษาไทย)
ข.ุ ชา.นวก.(บาลี) สตุ ตันตปฎิ ก ขุททกนกิ าย อฏฐฺ กนบิ าตชาดก (ภาษาไทย)
สตุ ฺตนตฺ ปิฎก ขุทฺทกนิกาย นวกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
วิ.จู.อ. (บาลี)
ว.ิ ป.อ. (บาล)ี อรรถกถาพระวนิ ยั ปฎิ ก
วนิ ยปฏิ ก สมนฺตปาสาทกิ า จูฬวคคฺ อฏฐฺ กถา (ภาษาบาล)ี
วินยปฏิ ก สมนฺตปาสาทิกา ปรวิ ารวคคฺ อฏฺฐกถา (ภาษาบาล)ี

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ

การสูงวัยของประชากรเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในประเทศต่างๆทั่วโลกจากรายงาน
สถานการณ์ผู้สูงอายุได้ระบุว่า ในปี พ.ศ. 2559 โลกของเรามีประชากรท้ังหมดประมาณ 7,433 ล้าน
คน ในจานวนนี้เป็นประชากรสูงอายุท่ีมีอายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน 929 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ
12.5 ของประชากรทั้งหมด และมีแนวโน้มว่าประชากรโลกจะมีอายุสูงข้ึนเรื่อย ๆ ในขณะท่ีประเทศ
พัฒนาแล้วได้กลายเป็นประเทศที่เข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ไปแล้วทุกประเทศ ส่วนประเทศท่ี
กาลังพัฒนากาลังมีประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว หลายประเทศได้กลายเป็นสังคมสูงอายุ
แล้ว และหลายประเทศกาลงจะกลายเป็นสงั คมสงู อายุ1

สถานการณ์สูงวัยของประชากรไทยในรอบสิบปีที่ผ่านมา จากรายงานสถานการณ์
ผสู้ งู อายไุ ทยพบว่า ประชากรไทยเพิ่มขึ้นข้าลงอย่างมากเมือ่ 50 ปีก่อน เคยเพ่ิมด้วยอัตราสูงอย่างร้อย
ละ 3 ต่อปี แต่ปัจจุบันลดต่าเหลือเพียงร้อยละ 0.5 ต่อปี อัตราการเพิ่มประชากรลดช้าลงอย่างมาก
ในขณะท่ีประชากรสูงอายุกลับเพิ่มด้วยอัตราเร็วข้ึน เมื่อปี 2503 ประเทศไทยมีประชากรอายุ 60 ปี
ข้ึนไปเพียง 1 ลา้ นคนหรือร้อยละ 4 ของประชากรจานวน 26 ลา้ นคน จนถึงปี 2559 มปี ระชากรอายุ
60 ปีข้ึนไป มจี านวน 11 ล้านคนหรอื ร้อยละ 16.5 ของประชากร 65.9 ล้านคน และคาดประมาณว่า
ในปี 2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่ “สังคมผสู้ ูงอายอุ ย่างสมบรู ณ์”2

ประเทศไทยจาเป็นต้องเตรียมตัวรับมือกับสถานการณป์ ระชากรสูงวยั อย่างรวดเร็ว การมี
สว่ นของประชากรผูส้ ูงอายุมากขึ้นจะเป็นการเพิ่มภาระของรัฐ สงั คม ชุมชน และครอบครวั ท่ีต้องคอย
ดูแลสุขภาพ ค่าใช้จ่ายในการยังชีพ รวมทั้งสถานที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมกับผู้สูงวัย ดังนั้นจึง
จาเป็นต้องเตรียมพร้อมด้านการระดมทรัพยากร พัฒนารูปแบบและระบบต่างๆในการให้บรกิ ารด้าน
สุขภาพอย่างเท่าเทียมกันแก่ผู้สูงอายุท่ีจะเพ่ิมจานวนข้ึนอีกมากในปี 2565 และปี 2574 การมีอายุอยู่
ยืนยาวข้ึนไม่ได้เป็นส่ิงที่บ่งช้ีว่า ผู้สูงอายุจะอยู่ในภาวะอยู่ดีมีสุขหรือสุขภาพชีวิตที่ดีในบั้นปลายของ
ชีวิตทกุ คน จากรายงานสถานการณ์ผสู้ ูงอายุไทย ปี 2559 รายงานว่า “ผู้สงู อายุจานวนมากอาจจัดอยู่

1 มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.), สถำนกำรณ์ผู้สูงอำยุ พ.ศ.2559,บทสรุป
สาหรับผู้บริหารและข้อเสนอแนะ,(จังหวัดนครปฐม: พร้ินเทอรี่ จากัด 999 อาคารศูนย์การเรียนรู้ ชั้น 2
มหาวิทยาลัยมหิดล,2559),หนา้ 3

2 เรือ่ งเดียวกนั ,หน้า 4

2

ในภาวะเปราะบาง หนึ่งในสามของผู้สูงอายุมีรายได้ต่ากว่าเส้นความยากจน บุตรซึ่งเคยเป็นแหล่ง
รายได้หลักสาคัญของผู้สูงอายุมีสัดส่วนลดลง ร้อยละของผู้สูงอายุที่อยู่ตามลาพังคนเดียวหรืออยู่กับ
ผู้สูงอายุด้วยกันตามลาพังมีแนวโน้มสูงขึ้น จานวนผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงประมาณ 4 แสนคน
เป็นโรคสมองเส่ือมประมาณ 6 แสนคน ผู้สูงอายุที่อยู่ในเขตเมืองและชนบทท่ีมีสถานภาพทาง
เศรษฐกิจต่างกันยังมีความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงบริการสุขภาพอนามัย ซึ่งเกิดจากข้อกาจัดในการ
เดนิ ทาง3

ปี พ.ศ. 2559 จงั หวดั พระนครศรีอยุธยามีประชากรทัง้ ส้ิน จานวน 810,320 คน มีจานวน
ประชากรสูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป จานวน 132,790 คน คิดเป็นร้อยละ 16.39 ของระดับประเทศ 4
ในขณะท่ีดัชนีการสูงวัยเม่ือปี พ.ศ. 2558 จานวนผู้สูงอายุ(60 ปี +) มีจานวน 127,500 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 98.30 ในปี 2563 จานวนผู้สงู อายุ(60 ปี +) จานวน 149,800 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 126.20ใน
ปี พ.ศ. 2568 จานวนผู้สงู อายุจานวนผู้สงู อายุ(60 ปี +) จานวน 175,300 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 162.16
และในปี 2573 จานวนผู้สูงอายุ(60 ปี +) จานวน 197,900 คน คิดเป็นร้อยละ 203.39 ตามลาดับ 5
และเม่ือเทียบสัดส่วนของกลุ่มประชากรท่ีเกิดขึ้นในช่วง ปีพ.ศ. 2506 - 2526 อีก 7 ปีข้างหน้า
ประชากรรุ่นน้ีจะเริ่มเคล่ือนเข้าสู่วัยสูงอายุ ซึ่งจะทาให้จานวนประชากรสูงอายุในจังหวัด
พระนครศรอี ยุธยาเพิม่ ขึน้ อยา่ งรวดเร็วเป็นจานวนมาก

การเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายวิภาคและทางสรีรวิทยาเน่ืองจากความชราเกิดข้ึนในทุก
ระบบอวัยวะของผู้สูงอายุ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศาสตราจารย์ น.พ. ประเสริฐ อัสสันตชัย
คณะแพทย์ศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหดิ ล ได้สรุปไว้ ดังนี้

1. การมีลกั ษณะทางเวชกรรมทแ่ี ตกตา่ งจากผ้ปู ่วยทั่วไป ได้แก่ ภาวการณ์หกล้ม การ
สูญเสยี ความสามารถในการเดิน อาการซึมสับสนเฉียบพลัน(Delirium) ภาวะสมองเสอ่ื ม(Dementia)
อาการน้าหนักลด ตลอดจนภาวะเปราะบาง (Frailty)

2. การมีพยาธิสภาพหลายชนิดในหลายระบบอวัยวะในเวลาเดียวกนั แลว้ ส่งผลกระทบซึ่ง
กนั และกัน

3. การใช้ยาหลายขนานร่วมกัน (Poly pharmacy) เป็นสาเหตสุ าคญั ท่ีสุดต่อการเกดิ ผล
ไมพ่ ึงประสงค์จากยา

3 มลู นิธสิ ถาบนั วจิ ยั และพัฒนาผู้สงู อายุไทย (มส.ผส.), สถำนกำรณผ์ ้สู งู อำยุ พ.ศ.2559,,หนา้ 3- 4,
4 กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ระบบสถติ ิทำงกำรลงทะเบียน,สถิติประชากรและบา้ น –
จานวนประประชากรจาแนกรายอายุ,ขอ้ มูล ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2559
5 สานักงานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์,ศูนย์เทคโนโลยีสำรสนเทศและ
กำรสื่อสำร,ประชำกรสูงอำยุไทย : ปัจจุบนั และอนำคต,เอกสารประมวลสถิติดา้ นสังคม 1/2558,พฤศจกิ ายน
2557 .(มปท.)

3

4. การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นสังคมท่สี ง่ ผลต่อสขุ ภาพโดยรวมของผสู้ ูงอายุ เช่น ผู้ดแู ล
ผสู้ ูงอายุ สถานะทางเศรษฐกิจ สงั คมและสิง่ แวดล้อมรอบตัวผูส้ งู อายุ ผปู้ ว่ ยสูงอายุจงึ ต้องการดูแลทาง
สังคม(Social care) พร้อมกับการดูแลทางสุขภาพ6

สขุ ภาพผู้สูงอายขุ องไทยมแี นวโน้มเสอื่ มถอยหลายด้านพร้อม ๆ กัน ส่วนหนึ่งอาจเกดิ จาก
ความจากัดในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยเฉพาะอย่างย่ิงครัวเรือนที่ผู้สูงอายุอาศัยโดยลาพัง และ/
หรือประสบความยากลาบากในการเดินทาง และความจริงเป็นท่ียอมรับทั่งโลกคือ ระบบบริการ
สุขภาพของไทยและทั้งโลกถนัดในการดูแลภาวะเฉียบพลัน ในด้านความเท่าเทียมกันในการเข้าถึง
บริการของผู้สูงอายุพบว่า ครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุอาศัยอยู่ตามลาพังเพิ่มสูงขึ้น ผู้สูงอายุในครัวเรือน
เหล่าน้ีเข้าถึงบริการได้น้อยกว่าผู้สูงอายุในครัวเรือนท่ีมีญาติหรือผู้ดูแลอยู่ด้วย รวมทั้งการเข้าถึง
บรกิ ารขนส่งโดยสารสาธารณะที่ตอ้ งมีคา่ ใชจ้ า่ ยเพมิ่ สูงขน้ึ 7 ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของผู้สงู อายใุ นหมู่ท่ี
2 และหมู่ท่ี 3 ที่มีถิ่นฐานอยู่ในชนบท และอาศัยอยู่ตามลาพังคนเดียวมีอัตราส่วนเพิ่มมากขึ้น
สถานการณ์ทางเศรษฐกจิ มีอาชีพทาการเกษตร มรี ายได้ต่ากวา่ เส้นความยากจน แหล่งรายได้หลักจาก
บุตรลดลงอย่างต่อเนื่อง และส่วนใหญ่ผู้สูงอายุยังทางานอยู่ การขาดแคลนการบริการรถโดยสารใน
พื้นทีแ่ ห่งนจี้ ึงมีความรุนแรงมากกวา่ ในเขตอ่นื ๆ

วดั สคุ นธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นองค์กรการ
กุศลทางด้านพระพุทธศาสนาประเภทนิติบุคคล มีความตระหนักถึงสถานการณ์ผู้สูงวัยท่ีมีความ
แตกต่างระหว่างผู้ป่วยสูงอายุกับผู้ป่วยผู้ใหญ่ท่ัวไป จึงมีความพยายามร่วมกับองค์กรต่าง ๆ ทั้งบ้าน
โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบล อาสาสมัคร กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้แทนจาก
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน วางแผนการดูแลผู้สูงอายุ(Healthy aging)แบบบูรณาการท้ังในด้าน
สุขภาพ กาย จติ ใจ สังคม สามารถพ่ึงตนเองได้ มีคณุ ภาพชีวิตที่ดีตามศักยภาพ และมีการปรับตัวจาก
วัยหนึ่งสู่วัยหนึ่งอย่างราบร่ืน ให้เป็นไปตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับท่ี 2(พ.ศ.2545 – 2564) ที่มุ่ง
ให้ “ผู้สูงวัยเป็นหลักชัยของสังคม”8 จะมุ่งสร้างสังคมเพื่อคนทุกวัยได้เตรียมพร้อมและได้ประโยชน์
เต็มตามศักยภาพทางกาย จิต ปัญญา และเป็นสังคมที่ส่งเสริมและยอมรับผู้สูงอายุให้มีบทบาททาง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ชุมชน และครอบครัว เกื้อกลู ตอ่ ความผูกพนั ระหว่างคนต่างวัย เปน็ สังคม
ท่ผี สู้ ูงอายุดารงชพี อย่างเท่าเทียม สมศักด์ศิ รี เต็มความภาคภูมใิ จ เป็นอิสระ มีส่วนรว่ ม และได้รับการ
ดแู ลทุกทท่ี ุกโอกาส จึงรว่ มกับคณะวิจยั ทไ่ี ดร้ ับทนุ สนับสนนุ การวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณ
ราชวิทยาลยั แสวงหาทางเลือก “การพัฒนารปู แบบการดูแลสุขภาพของผสู้ งู อายดุ ้วยหลกั พุทธธรรม”
เพราะหลักพุทธธรรมสามารถบูรณาการกับหลักการแพทย์แผนปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วย
หลักคาสอนของพระพุทธศาสนาสามารถพัฒนาจิตใจให้มีพลังในการสร้างความสมดลุ หรอื สมตา9 คือ
ความสมดลุ หรือความพอดีกันระหว่างองค์ประกอบทีเ่ รียกว่าอินทรีย์ทงั้ 5 คือศรทั ธา วิริยะ สติ สมาธิ
และปัญญา ควบคุมอารมณ์ที่พงึ ปรารถนาและอารมณ์ที่ไม่พึงปรารถนาใหอ้ ยู่ในปริมาณท่ีพอเหมาะได้

6 มลู นิธสิ ถาบนั วิจยั และพัฒนาผสู้ งู อายไุ ทย (มส.ผส.), สถำนกำรณผ์ สู้ ูงอำยุ พ.ศ.2559,หน้า 46 - 47.
7 เรอ่ื งเดยี วกัน,หนา้ 55-56.
8 เรือ่ งเดยี วกนั ,หนา้ 53.
9 สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต) ลกั ษณะแหง่ พระพุทธศำสนำ ฉบบั สองภำษำ
,กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์เจริญดีม่ังคงการพิมพ์, 2558),หน้า,11.

4

ประกอบกับชุมชนแห่งนี้มีรากเหง้ากุศลศรัทธาในพุทธธรรมมายาวนาน ซึ่งเป็นคา่ นิยมและพฤติกรรม
ดขี องชุมชน ส่วนใหญ่นยิ มทาบุญทาทาน มีความสุภาพอ่อนโยน รักสนั ติ มีความกตัญญูตอ่ บิดามารดา
ครูอาจารย์ รักความเป็นอิสระ วิถีธรรมแห่งชีวติ จึงมีความสาคัญต่อชมุ ชนในฐานะเป็นรากฐานความรู้
ความเช่ือ ม่ันคงในพระพุทธศาสนา การพัฒนาทางเลือกในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุให้มีสุขภาพท่ีดี
ดังพทุ ธศาสนสุภาษิตทว่ี ่า “ธมมฺ จารี สขุ เสติ” แปลความวา่ “ผูป้ ระพฤตธิ รรม ยอ่ มอย่เู ปน็ สขุ ”10 เป็น
การยืนยันว่าการปฏิบตั ิธรรมอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ืองจะช่วยเสริมสร้างพัฒนาการทางสุขภาพกาย
ใจ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

1.2 วตั ถุประสงคข์ องกำรวจิ ัย

1.2.1 เพอื่ วเิ คราะหส์ ถานการณ์ผูส้ ูงอายุ และสภาพการดูแลสขุ ภาพของผสู้ ูงอายุของ
ชุมชนวัดสุคนธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

1.2.2 เพื่อประเมินรปู แบบการดแู ลสุขภาพของผูส้ งู อายุดว้ ยหลักพทุ ธธรรมของวดั สุคน
ธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

1.2.3 เพื่อพฒั นารปู แบบการดแู ลสขุ ภาพของผ้สู งู อายุดว้ ยหลกั พุทธธรรมของวัดสคุ น
ธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

1.3 ปัญหำกำรวจิ ัย

1.3.1 สถานการณผ์ ู้สงู อายใุ นตาบลเทพมงคล อาเภอบางซา้ ย เปน็ อย่างไร
1.3.2 สภาพการดแู ลสขุ ภาพผ้สู ูงอายขุ องวัดสคุ นธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอ
บางซ้าย จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา เป็นอยา่ งไร มีกระบวนการอย่างไร มีรปู แบบเฉพาะท่เี ป็น
เอกลษั ณโ์ ดดเดน่ อย่างไรหรือไม่
1.3.3 การดูแลสุขภาพผูส้ งู อายขุ องวดั สคุ นธาราม มปี ัญหาอปุ สรรค ความต้องการ
จาเป็นอย่างไร
1.3.4 รูปแบบการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายทุ ่ีเหมาะสมควรเป็นอยา่ งไร

1) มีหลักการ แนวคิด ทฤษฎี วิธีการดแู ลสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ อย่างไรบ้าง
2) ตัวแบบท่ดี ีของการดูแลสุขภาพผสู้ งู อายุ ทค่ี วรศกึ ษาเรียนรู้ท่ีไหนบ้าง
เปน็ อย่างไร
3) มหี ลักพุทธธรรม ทก่ี ล่าวถึงการดูแลสุขภาพของคนและผสู้ ูงอายุ อยา่ งไร
บา้ ง มวี ธิ ปี ฏิบัติอย่างไร
4) สามารถนาหลักพุทธธรรมมาสง่ เสริม สนับสนุน หรอื บรู ณาการกับ
หลกั การ แนวคิด ทฤษฎี อน่ื ๆ เพือ่ นามาใช้ในการดูแลสขุ ภาพผ้สู ูงอายุ ได้อย่างไร
5) รปู แบบการส่งเสรมิ สุขภาพผสู้ งู อายุที่พฒั นาขึ้น นาไปใชป้ ฏิบตั ิการจริง
ได้ผลดีอย่างไร

10 ขุ.ธ. (ไทย) 25/37/38.

5

1.4 สมมุตฐิ ำนกำรวจิ ยั

การเรียนรู้จากการเข้าร่วมโครงการ และผลการฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
ด้วยหลักพุทธธรรม ระหว่างก่อนและหลังการปรับปรุงรูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลัก
พทุ ธธรรม แตกตา่ งกนั

1.5 ขอบเขตของกำรวจิ ัย

ในการวจิ ัยครั้งนีผ้ ู้วจิ ัยกาหนดขอบเขตการวจิ ัยไว้ดงั นี้

1.5.1 ขอบเขตดำ้ นพ้นื ท่/ี ประชำกร ประกอบดว้ ย

1) บรบิ ทของชุมชนพน้ื ท่ีวดั สุคนธาราม หมู่ท่ี 2 และหมู่ท่ี 3 ตาบลเทพมงคล
ทเ่ี อ้ือต่อการพฒั นารปู แบบการดแู ลสขุ ภาพของผ้สู ูงอายตุ ั้งแตอ่ ายุ 60 ปี-69 ปี สถานการณ์สขุ ภาพ
ผู้สูงอายุ ปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม ด้านความเป็นอยู่อาศยั ดา้ นเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม และการเมอื ง
การปกครอง

2) การพฒั นารปู แบบการดูแลสุขภาพของผูส้ งู อายุบนฐานการบรู ณาการ
ร่วมกันของภาคีความร่วมมอื ของกลมุ่ องค์กรชมุ ชน และหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้องในพนื้ ท่ีมี 7 ขัน้ ตอน
ได้แก่

ขั้นตอนท่ี 1 ศึกษาสถานการณ์และปัญหาอุปสรรค ความต้องการจาเปน็
ของกลุม่ ผสู้ งู อายุ

- ขัน้ ตอนท่ี 2 วเิ คราะห์ชุมชนและบรบิ ทพืน้ ที่ โดยใช้เทคนิคการวเิ คราะห์
ชมุ ชนแบบมีส่วนร่วม (A-I-C)

ขัน้ ตอนที่ 3 คณะผ้วู ิจัยออกแบบการดูแลสขุ ภาพของผู้สูงอายเุ พื่อบูรณาการ
ในบรบิ ทของพ้ืนทด่ี ้วยหลักพุทธธรรม ประกอบดว้ ย

- 3.1 ข้อสรปุ จากการศึกษาสถานการณ์ ปญั หาอปุ สรรค และความต้องการ
จาเป็นในการดแู ลสุขภาพตนเองของผูส้ งู อายุ

- 3.2 ข้อสรปุ จากการวเิ คราะห์ชุมชนและบริบทของพ้ืนที่
- 3.3 จดั ทารูปแบบการดูแลสขุ ภาพของผสู้ งู อายุด้วยหลักพุทธธรรม

ขน้ั ตอนที่ 4 สรา้ งรปู แบบในการดแู ลสุขภาพของผ้สู งู อายุด้วยหลักพุทธธรรม
โดยผา่ นการตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หาจากผู้ทรงคุณวฒุ ิ จานวน 3 คน

ขนั้ ตอนท่ี 5 เป็นการนารปู แบบไปทดสอบ (Try out) ก่อนนาไปทดลองใช้
จรงิ กับกลุ่มผสู้ งู อายใุ นหมู่ที่ 2 และหมูท่ ี่ 3

ขั้นตอนที่ 6 ทาการประเมินและนารปู แบบไปปรบั ปรงุ แก้ไข
ขน้ั ตอนที่ 7 ทดลองใช้ และทาการประเมนิ ผลดว้ ย pre-test และ post-
Test แล้วทาการพฒั นารปู แบบ มีกระบวนการดาเนินงาน ดงั น้ี
7.1 ทดสอบรูปแบบกำรดแู ลสขุ ภำพของผ้สู ูงอำยดุ ้วยหลักพทุ ธธรรม ประกอบด้วย
7.1.1 วิธดี าเนินการ คณะผวู้ ิจยั นารูปแบบการดแู ลสุขภาพของผสู้ งู อายุไป
ทดสอบใช้ในกลมุ่ ผสู้ ูงอายุทไี่ ม่ใชก่ ลุ่มตวั อยา่ ง จานวน 15 คน ในหมทู่ ี่ 1 ตาบลเทพมงคล อาเภอบาง
ซา้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

6

7.1.2 เครื่องมือทใ่ี ช้ ได้แก่ แบบสมั ภาษณ์ และแบบปฏบิ ัติกิจกรรมเป็นเวลา
2 สปั ดาห์

7.1.3 ทาการวิเคราะห/์ ประเมินผล โดยทาการวิเคราะห์แบบสมั ภาษณ์ และ
แบบปฏิบตั ิกจิ กรรม ศกึ ษาปัญหา/อุปสรรค มีส่วนใดท่ีต้องปรับปรงุ หรอื แก้ไขเพิ่มเติมส่วนใดบ้าง

7.1.4 สรปุ ผลทีไ่ ด้รับ ดว้ ยการปรบั ปรุงแกไ้ ข เพิ่มเติมใหส้ มบูรณ์ ตอ่ ไป
7.2 ทำกำรทดลองใช้รูปแบบกำรดแู ลสขุ ภำพของผสู้ ูงอำยดุ ว้ ยหลกั พุทธธรรม มี
กระบวนการดังนี้

7.2.1 วธิ ีดาเนินการ ผูว้ ิจยั นารปู แบบทป่ี รบั ปรงุ แล้วไปทดลองใช้กบั กลุม่
ผ้สู ูงอายทุ ส่ี มัครใจเข้าร่วมโครงการ จานวน 25 คน ในหมู่ท่ี 2 และหมทู่ ่ี 3 ตาบลเทพมงคล

7.2.2 เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์การดแู ลสขุ ภาวะผู้สงู อายุ แบบวดั
ระดับความรู้การดแู ลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ แบบวดั ระดบั การฝึกปฏบิ ัติ และการตรวจสุขภาพ
โดยแพทย์แผนปจั จบุ นั

7.2.3 ทาการวิเคราะห์/ประเมินผล โดยทาการเปรียบเทียบแบบประเมินการ
ดูแลสขุ ภาวะด้วยสถิตเิ ชงิ อนุมาน(t-test)

7.2.4 ผลท่ไี ดร้ ับ คอื ผลการเปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ร้อยละ
7.3 สรุปผล pre-test และ post - test มีกระบวนกำรดงั น้ี

7.3.1 สรปุ ผลการเปรยี บเทยี บค่าเฉลย่ี รอ้ ยละ
7.3.2 นาเสนอรูปแบบการดูแลสุขภาพของผสู้ งู อายุตามหลักพทุ ธบูรณาการ
ในหมูท่ ่ี 2 และหมู่ที่ 3 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

7

ตารางภาพที่ 1.1 แสดงกระบวนการประเมินรปู แบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุดว้ ยหลักพุทธ
ธรรมของวัดสคุ นธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

1.ทดสอบรูปแบบการดูแลสขุ ภาพของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอำยุ

วิธีดำเนนิ กำร กลุ่มตวั อยำ่ งเปำ้ หมำย เครอ่ื งมือท่ใี ช้

นารปู แบบการดูแล (ผู้สงู อายุหมู่ที่ 1)ทไ่ี ม่ใช่ - การทดสอบ
สขุ ภาพของผสู้ ูงอายุ กลมุ่ ตวั อยา่ งทดสอบ - แบบบนั ทึก
- การสังเกต
จานวน 15 คน

ผลที่ไดร้ บั กำรวเิ ครำะห/์ ประเมนิ ผล

ทาการปรบั ปรุงแก้ไข ตดิ ตามผลการทดสอบ/ปัญหา/
เพิม่ เตมิ ให้สมบรู ณ์ อปุ สรรคตอ้ งปรับปรงุ แก้ไข
เพม่ิ เตมิ ในสว่ นใด

8

2.ทดลองใชร้ ูปแบบการดแู ล
สขุ ภาพของผู้สงู อายุ

วิธดี ำเนนิ กำร กล่มุ ตัวอย่ำงเปำ้ หมำย เครื่องมือที่ใช้
นารูปแบบท่ปี รับปรุงแลว้
ผู้สงู อายุในหมูท่ ี่ 2 ที่ 3 การทดลอง/แบบประเมนิ
ไปทดลอง ใช้กับกลุ่ม ตาบลเทพมงคล การดแู ลสขุ ภาวะ
ตวั อย่าง หม่ทู ่ี 2 และท่ี 3

จานวน 25 คน

ผลท่ีได้รบั การวเิ คราะห์/ประเมนิ

ผลการเปรยี บคา่ เฉลยี่ เปรียบเทยี บผลการประเมิน
t-test การดแู ลสุขภาพ คร้ังที่ 1

และ 2

3. สรุปผล pre – test/post-test

วิธดี ำเนนิ กำร นำเสนอรูปแบบกำรดูแลสขุ ภำพ
ผ้สู งู อำยุด้วยหลกั พุทธบูรณำกำรใน
-สรุปผล หมทู่ ่ี 2 และหมู่ท่ี 3 ต.เทพมงคล
- การเปรียบเทยี บ อ.บำงซ้ำย จ.พระนครศรีอยธุ ยำ

3) ในการวจิ ยั คร้ังน้ี คณะผวู้ ิจัยเลือกใชห้ ลักธรรมประกอบด้วย พละ 5 เพื่อให้
ผเู้ ข้ารว่ มโครงการวจิ ยั เกดิ ความเช่ือม่ันในตนเอง เกดิ ความตระหนัก เกิดการรับรู้ผลที่จะเกิดขึ้นกบั
ตนเอง (Awareness) ในอนาคต และในขณะเดียวกันจะเลอื กใชห้ ลักธรรมอิทธบิ ำท 4 (Attempt)
เป็นกลไกในการขับเคล่ือนจติ ให้เกิดความพยายามทจ่ี ะกา้ วไปสู่การปฏิบัตติ ามหลกั ภำวนำ 4
(Action) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายคอื สุขภาพดี (Achievement)

1.5.2 ขอบเขตดำ้ นตัวแปร

ตวั แปรตน้ ในการวจิ ัยคร้งั น้ีได้แก่ สขุ ภาวะของผู้สงู อายุท่ีมีอายตุ งั้ แต่ 60 ปี ถึง 69 ปี
ตวั แปรตามได้แก่ ผูส้ งู อายุท่ีมีสุขภาวะดีท้งั กาย สงั คม จติ ใจ และปญั ญา

9

1.5.3 ขอบเขตด้ำนพ้นื ที่

การเลือกพ้ืนท่ีทาการวิจัยคร้ังน้ี เป็นการคัดเลือกแบบเจาะจงจากหมู่บ้านที่มี
ผ้สู ูงอายุอาศัยอยู่ตามลาพังมากที่สุด ผู้สูงอายอุ ยู่ในครัวเรือนท่ีมญี าติหรือผู้ดูแลจะดูแลเฉพาะช่วงเย็น
และการเข้าถึงบริการขนส่งโดยสารสาธารณะท่ีต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มสูง ได้แก่ บ้านหมู่ที่ 2 และหมู่ท่ี 3
ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงพื้นท่ีดังกล่าวน้ีไม่มีการดาเนินงานวิจัย
เพื่อเตรียมการรองรบั สถานการณก์ ารพฒั นาสุขภาพของผสู้ ูงอายุในอนาคต

1.5.4 ขอบเขตด้ำนประชำกร

เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกประชากรเขา้ ร่วมโครงการวจิ ยั (Inclusion Criteria) ใน
คร้ังนีไ้ ดแ้ ก่

1) ประชากรที่มีอายุต้ังแต่ 60 ปี – 69 ปี และมีชอื่ อยู่ในทะเบียนบ้าน และอาศัยใน
หมู่ท่ี 2 และหมู่ที่ 3 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซา้ ย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

2) เป็นผู้สมคั รใจเข้ารว่ มในโครงการวจิ ัยตั้งแต่เร่มิ ตน้ จนสิ้นสุดโครงการวจิ ยั
3) ได้รับการพิจารณาอนุญาตจากคณะกรรมการจริยธรรมการวจิ ัยในมนุษย์
4) มสี ภาพร่างกายแข็งแรง สามารถเข้าร่วมกจิ กรรมได้ สามารถอ่าน เขยี น
ภาษาไทยได้ หรอื ตอบคาถามได้
เกณฑ์การพิจารณาคดั ออกจากโครงการวิจยั (Exclusion Criteria) .ในกรณี
1) ตัวแทนทเ่ี ข้าร่วมโครงการวจิ ยั ไมย่ ินดที จี่ ะเขา้ รว่ มโครงการวจิ ัยตอ่ ไป
2) ย้ายถิน่ ที่อยูอ่ าศยั ในขณะทาการวจิ ัย

1.5.5 ขอบเขตดำ้ นระยะเวลำ

การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลองปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory
Action Research-PAR) โดยใช้ กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม (Appreciation Influence
Control : A-I-C) ประกอบด้วย กระบวนการค้นหาปัญหา การวางแผนเพ่ือแก้ปัญหา การดาเนินงาน
เพื่อแก้ปญั หา ตลอดจนการประเมนิ ผลรว่ มกนั ใช้เวลาประมาณ 44 สปั ดาห์

1.6 คำนยิ ำมเฉพำะทีใ่ ช้ในกำรวิจัยคร้งั นี้

ในการวิจัยครงั้ นี้ ผวู้ ิจัยได้ใหน้ ยิ ามศพั ท์ทใี่ ช้ในการวจิ ยั ไว้ ดงั นี้
ผู้สูงอำยุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุต้ังแต่ 60 ปี ถึง-69 ปี ท่ีอาศัยอยู่ในหมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3
ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา และยินดสี มัครเข้ารว่ มในกิจกรรมการวิจัย
ครง้ั น้ี
รูปแบบ หมายถึง โครงสร้างท่ีแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ หรือตัว
แปรต่างๆ ท่ีสามารถใช้รูปแบบอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ในด้านความรู้ และ
การฝึกปฏิบัติตามหลักพุทธธรรม ตามลาดับข้ันตอนขององค์ประกอบการสร้างพละ 5 อิทธิบาท 4
และภาวนา 4 อยา่ งเป็นระบบ

10

กำรพัฒนำรูปแบบ หมายถึง กระบวนการที่คณะผู้วิจัยสร้างหรือพัฒนารูปแบบตาม
หลักการของรูปแบบที่พัฒนาขึ้น ซึ่งมีอยู่ 7 ข้ันตอน และนารูปแบบท่ีสร้างขึ้นไปตรวจสอบและ
ประเมินผลหาคุณภาพของรูปแบบ ตลอดจนการทดสอบประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล จนได้รูปแบบ
ท่ีดีมีคุณภาพ และนาไปสู่สภาวการณ์ท่ีดีในการศึกษาวิจัย การดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุใน
ชมุ ชนวัดสุคนธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

กำรดูแลสุขภำพ หมายถึง การดูแลชีวิตให้มีสุขภาวะดี อยู่ในสภาวะแวดล้อมท่ีดี โดย
หมายรวมถงึ ร่างกาย จิตใจ สงั คม และปญั ญา ใหอ้ ยูใ่ นสภาวะท่สี มดุลในตวั ผ้สู ูงอายแุ ตล่ ะคนท้งั ทาง

ด้านร่างกาย จติ ใจ สงั คม และปญั ญา
สขุ ภำพ หมายถึง ภาวะแห่งความสมบูรณ์ทางรา่ งกาย คือการมีพลานามัยสมบูรณ์ไม่อ้วน
เกินไป ไม่ผอมเกินไป แต่คงศักยภาพตามวัย ความสมบูรณ์ของจิตใจ คือมีอารมณ์ผ่องใส จิตใจไม่
เคร่งเครียด ไม่เป็นกังวล มีเหตุผล มีจิตใจม่ันคง ความสมบูรณ์ทางสังคม เป็นผู้ยอมรับบทบาทที่
ถกู ต้องของตนเองในสังคม สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ รวมถึงอยู่กบั ผู้อน่ื ได้ดี สบายใจ ดูแลตนเอง
ได้
หลักพุทธธรรม หมายถงึ พระธรรมทเี่ ป็นคาส่ังสอนของพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ไดแ้ ก่
1) พละ 5 (power) คือธรรมอันเป็นกาลัง หรือ ธรรมท่ีเป็นใหญ่ในกิจของตน หมายถึง
เป็นใหญ่ในการกระทาหนา้ ทขี่ องตน ทาให้บุคคลมีความเชอ่ื (ศรัทธา) ไมม่ ีความเกียจครา้ น ไม่มคี วาม
ประมาท ไม่มีความฟุ้งซ่าน และ ไม่มีความหลง เป็นพลงั ทาให้เกดิ ความม่ันคง มั่นใจ ความหลงจะเข้า
ครอบงาไม่ได้
2) อิทธิบาท คือ ธรรมให้ถึงความสาเรจ็ มีใจรกั คอื พอใจจะทาสงิ่ นั้น ขยนั หม่ันประกอบ
หม่ันกระทาส่ิงนั้นด้วยความพยายามเข้มแข็ง อดทน ต้ังจิตรับรู้ในส่ิงที่ทา และทาส่ิงน้ันด้วยความคิด
ไม่ปล่อยจิตใจให้ฟุ้งซ่าน และ หม่ันใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ครวญ ตรวจตราหาเหตุผล และตรวจสอบ
ข้อย่ิงหย่อน
3) ภาวนา คอื การพัฒนากาย พัฒนาความประพฤตใิ ห้ตงั้ อยู่ในระเบียบวินยั การ
ฝกึ อบรมจิตใจใหเ้ ข้มแขง็ ม่ันคงเจริญงอกงามดว้ ยคุณธรรม และการพัฒนาปญั ญา

1.7 ประโยชน์ทคี่ ำดว่ำจะได้รับ

1.7.1 ได้รับรู้สถานการณ์และสภาพท่ัวไปในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุของชุมชนวัดสุคน
ธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

1.7.2 ไดร้ บั รผู้ ลการประเมนิ รูปแบบการส่งเสรมิ สขุ ภาพผู้สงู อายดุ ว้ ยหลกั พุทธธรรมของ
วัดสคุ นธาราม ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

1.7.3 สามารถนารูปแบบการดแู ลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักธรรม ของวดั สุคนธาราม
ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการพฒั นาสุขภาพของ
ผ้สู งู อายุใหม้ ปี ระสิทธิภาพดที ้ัง ๔ มติ ิ คอื กาย สังคม จิต และปญั ญา

บทที่ 2

เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง

การศึกษาวิจัยคร้ังน้ีมุ่งศึกษาและพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธ
ธรรม บนฐานการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่น และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ในการพัฒนารูปแบบการ
ดูแลผู้สูงอายุให้เกิดการวางแผนการจัดบริการในพ้ืนท่ี สร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ผู้
ศึกษาวิจัยได้ใช้แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับ แนวคิดการพัฒนารูปแบบ แนวคิดการมีส่วนร่วม แนวคิด
วิธีการวิจัยเชิงทดลองแบบมีส่วนร่วม และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มาประยุกต์ใช้ในการศึกษา
วเิ คราะห์ พัฒนาและใช้รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุในบริบทของชุมชนวัดสุคนธาราม หมู่ท่ี 2 และหมู่ท่ี
3 ตาบลเทพมงคล อาเภอบางซา้ ย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ประกอบด้วย

2.1 แนวคิดการพัฒนาการวจิ ัยโดยใชร้ ูปแบบ
2.2 ทฤษฎกี ารผู้สงู อายุ
2.3 แนวคดิ การมสี ่วนรว่ ม
2.4 แนวคิดวธิ ีการวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมีส่วนรว่ ม
2.5 เทคนคิ กระบวนการระดมสมองแบบมสี ่วนร่วม (A-I-C)
2.6 หลกั พทุ ธธรรม
2.7 คุณประโยชนก์ ารสวดมนตแ์ ละการน่งั สมาธิ
2.8 พ้ืนท่ี ทาการวิจยั
2.9 งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง

2.1. แนวคิดการพฒั นาการวจิ ยั โดยใชร้ ปู แบบ

การวิจัยท่ีใช้รูปแบบ เป็นการวิจัยแนวใหม่ที่กาลังได้รับความสนใจมากขึ้น ท้ังนี้การวิจยั ท่ี
ใช้รูปแบบจะช่วยให้ได้ความรู้ท่มี ีความสมบูรณ์ยิ่งข้ึน เป็นการวิจัยทีพ่ ัฒนาความรู้ มีความชัดเจน เป็น
ระบบ ความหมายของคาวา่ “รปู แบบ (Model)” มีความหมายหลากหลายประการ

คัมภีร์ สุดแท้ กล่าวว่า รูปแบบ หมายถึง ส่ิงท่ีสร้าง หรือพัฒนาขึ้น แสดงให้เห็นถึง
องคป์ ระกอบสาคญั ๆ ของเรื่องใหเ้ ข้าใจง่ายข้ึน เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนินงานตอ่ ไป1

ปัญญา ทองนิล ได้กล่าวว่า รูปแบบ หมายถึง โครงสร้างท่ีเกิดจากทฤษฎี ประสบการณ์
การคาดการณ์ นาเสนอในรูปของขอ้ ความหรือแผนผัง

ทิศนา แขมมณี ได้กล่าวอธิบายความหมายของรูปแบบไว้ว่า รูปแบบ หมายถึง เครื่องมือ
ทางความคิดที่บุคคลใช้ในการสืบสอบหาคาตอบ ความรู้ ความเข้าใจในปรากฏการณ์ท่ี เกิดข้ึน โดย

1คมั ภีร์ สดุ แท้,“การพฒั นารปู แบบการบริหารงานวิชาการสาหรบั โรงเรียนขนาดเล็ก,” วทิ ยานพิ นธ์
ครศุ าสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, (บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 2553),หน้า
177-178.

12

สร้างมาจากความคิด ประสบการณ์ การใช้อุปมาอุปไมย หรือจากทฤษฎี หลักการ ต่างๆ และ
แสดงออกในลักษณะใดลักษณะหนึง่ 2

บาร์โดและฮาร์ตแมน (Bardo and Hartman) ได้กล่าวถึงรปู แบบ ในทางสังคมศาสตร์ไว้
ว่า “เป็นชุดของข้อความเชิงนามธรรมเกี่ยวกับปรากฏการณ์ท่ีเราสนใจ เพื่อใช้ในการนิยาม
คณุ ลกั ษณะและ/ หรือ บรรยายคุณสมบัตินั้นๆ” และยังอธิบายต่อไปว่า รูปแบบเป็นอะไรบางอย่างที่
เราพัฒนาข้ึนมา เพ่ือบรรยายคุณลักษณะท่ีสาคัญของปรากฏการณ์ อย่างใดอย่างหน่ึง เพ่ือให้ง่ายต่อ
การทาความเข้าใจ รูปแบบจึงมิใช่การบรรยายหรืออธิบาย ปรากฏการณ์อย่างละเอียดทุกแง่มุม
เพราะการทาเช่นน้ันจะทาให้รูปแบบมคี วามซบั ซอ้ นและยงุ่ ยากเกินไปในการท่ีจะทาความเขา้ ใจ ซงึ่ จะ
ทาให้คณุ ค่าของรปู แบบนน้ั ด้อยลงไป ส่วนการที่จดั ระบบรูปแบบหนงึ่ ๆ จะตอ้ งมีรายละเอียดมากนอ้ ย
เพียงใดจึงจะเหมาะสม และรูปแบบนั้นๆ ควรมีองค์ประกอบอะไรบ้าง ไม่ได้มีข้อกาหนดเป็นการ
ตายตัว ทั้งน้ีก็แล้วปรากฏการณ์แต่ละอย่างและวัตถุประสงค์ของผู้สร้างรูปแบบท่ีต้องการจะอธิบาย
ปรากฏการณ์นัน้ ๆอยา่ งไร3

สาหรับการวิจัยครั้งนี้รูปแบบจะหมายถึง โครงสร้างท่ีแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
องค์ประกอบต่างๆ หรือตัวแปรต่างๆ ผู้วิจัยสามารถใช้รูปแบบอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
องค์ประกอบต่างๆ หรือ ตัวแปรต่างๆ ที่มีในปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือระบบต่างๆ อธิบายลาดับ
ขนั้ ตอนขององค์ประกอบหรือกจิ กรรมในระบบ

วธิ กี ารวิจัยโดยใช้รปู แบบ

การวิจัยโดยใช้รูปแบบจาแนกออกได้เป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกเป็นการสร้างหรือ
พัฒนารูปแบบ ข้นั ทส่ี องเปน็ การทดสอบความเท่ยี งตรง (Validity) ของรปู แบบ

การสร้างหรือพฒั นารปู แบบ

จากการศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนารูปแบบพบว่า การพัฒนารูปแบบนั้น
อาจจะมีข้ันตอนในการดาเนินงานแตกต่างกันไป แต่โดยท่ัวไปแล้วอาจจะแบ่งออกเป็นสองตอน ใหญ่
ๆ คือ การสร้างรูปแบบ (Construct) และการหาความตรง (Validity) ของรูปแบบ ส่วนรายละเอียด
ในแต่ละขั้นตอนว่ามีการดาเนินการอย่างไรนั้นข้ึนอยู่กับลักษณะและกรอบแนวคิด ซึ่งเป็นพ้ืนฐานใน
การพัฒนารูปแบบน้ันๆ ตัวอยา่ งงานวจิ ยั ที่เกี่ยวกบั การพัฒนารูปแบบ ได้แก่ การพัฒนารปู แบบซ่งึ เป็น
รูปแบบการควบคุมวิทยานิพนธ์ของ บุญชม ศรีสะอาด ซ่ึงได้แบ่งการดาเนินการออกเป็น 2 ขั้นตอน
คือ การพัฒนารูปแบบและการทดสอบ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของรูปแบบ ในส่วนการพัฒนา
รูปแบบน้ัน ดาเนินการ โดย วิเคราะห์ลาดับในการทาวิทยานิพนธ์ หลักการเขียนรายงานการวิจัย
จดุ บกพร่องท่ีมักจะพบใน การทาวิทยานิพนธ์ ฯลฯ แล้วนาองค์ประกอบเหล่านั้นมาสร้างรูปแบบการ

2 ทิศนา แขมมณี,ศาสตรก์ ารสอน: องค์ความรู้เพ่อื การจดั การกระบวนการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธภิ าพ.
พมิ พ์ครงั้ ที 5. (กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย, 2550),หนา้ 3-4.

3 Bardo, J.W.; & Hartman, J.J. Urban Sociology; A Systematic Introduction. New York
: Peacock. 1982 , p 245

13

ควบคุมวิทยานิพนธ์ ตามลาดับขั้นในการทาวิทยานิพนธ์ หลังจากนั้นจะเป็นข้ันตอนท่ี 2 นารูปแบบ
ดงั กลา่ วไปทดสอบและประเมนิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลของรูปแบบ4

จากการศึกษาวิเคราะห์ในเรื่องนี้พอสรุปได้ว่าการสร้างรูปแบบ (Model) น้ันไม่มี
ข้อกาหนดที่ตายตัวแน่นอนว่าต้องการทาอะไรบ้าง แต่โดยทั่วไปจะเริ่มต้นจากการศึกษาองค์ความรู้
(Intensive Knowledge) เกี่ยวกับเร่ืองท่ีเราจะสร้างรูปแบบให้ชัดเจน จากน้ันจึงหาสมมุติฐาน และ
หลักการของรูปแบบท่ีจะพัฒนาแล้วสร้างรูปแบบตามหลักการท่ีกาหนดข้ึนและนารูปแบบท่ีสร้างข้ึน
ไปตรวจสอบและประเมนิ ผลหาคุณภาพของรปู แบบ

สรุปแล้วการพัฒนารูปแบบมีการดาเนินการเป็นสองขั้นตอนใหญ่ คือ การสร้างรูปแบบ
และการหาคณุ ภาพของรปู แบบ

2.2 ทฤษฎีการสูงอายุ

1. ความหมาย
ผู้สูงอายุตามคาจากัดความของมติสมัชชาใหญ่ของโลกผู้สูงอายุที่กรุงเวียนนา พ.ศ. 2525
หมายถึง ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป โดยท่ีประชุมองค์การอนามัยโลกที่เมือง KIEV ประเทศรัสเซีย ปี
ค.ศ. 1963 ไดจ้ ัดประเภทการเป็นผสู้ งู อายุ โดยยึดเอาความยืนยาวของชีวติ ตามปปี ฏิทนิ ดังนี้ คอื
1) วัยสูงอายุ อายุระหว่าง 60 -74 ปี เป็นผู้สูงอายุวัยต้น (Young Old) ยังสามารถทา
กจิ กรรมได้
2) วัยชรา มีอายุ 75 ปีขึ้นไป (Old-Old) ถือว่าเป็นผู้สูงวัยอย่างแท้จริง ผู้สูงอายุตาม
พระราชบัญญตั ิ พ.ศ. 2546 หมายถึง บคุ คลท่มี ีอายุเกนิ 60 ปีบริบูรณ์และมีสัญชาติไทย5

บรรลุ ศิริพานิช ได้กล่าว่า ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้มีอายตุ ั้งแต่ 60 ปีข้ึนไปโดยนับอายุตามปี
ปฏิทิน ซ่ึงเป็นเกณฑ์ที่องค์การระหว่างประเทศได้ตกลงกันเป็นมาตรฐานสากลในการ กาหนดอายุ
เรม่ิ ตน้ ของชราภาพ6

จากความหมายดังกล่าวผสู้ ูงอายุหมายถงึ ผู้ท่ีมีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีการเปลีย่ นแปลงไปตาม
วัย ท้งั ร่างกาย จติ ใจ ปญั ญาและสงั คม

2. เกณฑ์การแบง่ ช่วงอายผุ สู้ งู อายุ

บรรลุ ศริ พิ านชิ ไดจ้ าแนกผู้สูงอายุตามอายุ และภาวะสขุ ภาพออก เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
1) กลุ่มผู้สูงอายุระดับต้น (The Young Old) เป็นผู้มีอายุ 60-70 ปีมีการเปล่ียนแปลง
สภาวะทางกายภาพและสรีระวิทยาเปล่ียนแปลงไปไม่มาก สามารถช่วยตนเองได้เป็นส่วนใหญ่ และ
เพิ่งผ่านวัยท่ีมีประสบการณ์มาก จึงควรนาผู้สูงอายุกลุ่มน้ีไปช่วยงานสร้างสรรค์ต่อวิชาการ และดูแล
ผู้สูงอายวุ ยั อื่น

4 บุญชม ศรีสะอาด .การวจิ ัยเบื้องตน้ . พมิ พค์ รง้ั ที่ 2. (กรงุ เทพมหานคร:สุวรี ิยาสาส์น ,2535).หนา้ 13.
5 กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข, การออกกาลังกายท่ัวไปและเฉพาะโรคผู้สูงอายุกรุงเทพ
มหานคร: โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย, 2548),หน้า 1.
6 บรรลุ ศิริพานิช เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. (กรุงเทพมหานคร : กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ,
2532),หน้า 42.

14

2) ผู้สูงอายุระดับกลาง (The Middle Old) เป็นผู้มีอายุ 71-80 ปี มีการเปล่ียนแปลง
สภาวะทางกายภาพและสรีระวิทยาไปแล้วเป็นส่วนใหญ่ มีความพร่องในการดูแลตนเองเริ่มมี ความ
จาเปน็ หรอื ตอ้ งการดแู ลจากบคุ คลอนื่ ในส่วนท่พี รอ่ งไป

3) กลุ่มผู้สูงอายุระดับปลาย (The Old Old) เป็นผู้สูงอายุ 81 ปีขึ้นไป มีการเปล่ียน
แปลงสภาวะทางกายภาพและสรีระวิทยาไปอย่างเห็นชัดเจน มีความพร่องในการดูแลตนเอง จาเป็น
ตอ้ งการการดูแลจากบุคคลอน่ื ในส่วนท่พี รอ่ งไป7

องค์การอนามัยโลกได้ยึดความยาวของชีวิตตามปีปฏิทินเป็นเกณฑ์เบื้องต้น ได้กาหนดวัย
สูงอายุมีอายุในช่วง 60-74 ปี วัยชราจะเป็นกลุ่มอายุ 75 ปีขึ้นไป แต่ในการประชุมสมัชชาโลก
กาหนดใหผ้ ู้สงู อายเุ ปน็ ผ้ทู ม่ี อี ายตุ งั้ แต่ 60 ปีขึ้นไป และเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก

3. การเปลี่ยนแปลงของผ้สู ูงอายุ

ลักษณะการเปลี่ยนแปลงตามสภาพอายุ มีผลกระทบอย่างมากต่อตัวผู้สูงอายุ การทางาน
บคุ คล ส่ิงแวดล้อมและสังคม เหตุเกิดจากความเสื่อมถอยของร่างกายท่ีเพ่ิมขึ้นตามลาดับอายุ แต่การ
เสื่อมถอยนี้มิได้หมายถึงความเจ็บปวด ไม่ใช่การเป็นโรค ผู้ที่อายุมากขึ้นสามารถบารุงรักษาตนเองให้
คงสภาพอยู่ได้ สามารถใช้ชีวติ ได้อย่างกระฉับกระเฉง คล่องตัวเหมือนเดิมหากเข้าใจการเปลี่ยนแปลง
ตามอายุ ผ้วู จิ ยั ได้ทาการศกึ ษาไว้ 4 หวั ขอ้ ดังนี้

1) การเปลีย่ นแปลงทางรา่ งกาย

กุลยา ตันติวาอาชีวะ8 ได้กล่าวว่า ปรากฏการณ์ของความมีอายุน้ัน จะดาเนินไปอย่าง
ช้าๆเมื่อเลยวัยกลางคนไปแล้วร่างกายจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างและหน้าท่ีของเซลล์
เนื้อเย่ือ ความเต่งตึงลดลง กล้ามเน้ือลดความแข็งแรงขาดความกระฉับกระเฉง ขาดความไวในการ
ตอบสนองต่อส่ิงเร้า ความสามารถในการทางานประสมประสานกันของระบบประสาทและกล้ามเน้ือ
ถดถอย ซง่ึ การเปลีย่ นแปลงนเี้ กิดขึน้ กับทกุ ระบบของร่างกาย แตใ่ นอตั ราและระยะเวลาที่ตา่ งกัน ดังน้ี

1.1 ผิวหนัง เมื่อมีอายุมากขึ้น ผิวหนังและเนื้อเย่ือผิวหนังจะขาดความเต่งตึง ไม่
ยืดหยุ่น มีลักษณะแห้งและเห่ียวย่น โดยเฉพาะใบหน้าเป็นตาแหน่งที่เห็นรอยย่นได้ชัดเจนท่ีสุด เมื่อ
เริ่มมีอายุผิวหนังส่วนหางตาจะย่นยับเป็นตีนกาข้ึน ซ่ึงบางคนอาจยับน้อย แต่กลับไปมีรอยย่นท่ีหนัง
ตาด้านลา่ งแทนหรือหนังตาชั้นลา่ งแทนหรือหนังตาชั้นล่างห้อยเป็นถุงใหญ่ข้ึนตามความมีอายบุ างคน
หน้าผากย่นเป็นรอย นอกจากนี้เม่ืออายุมากขึ้นอีกบางคนจะมีผิวตกกระหรือมีหูด คนแก่เป็นติ่งเนื้อ
งอกเป็นเม็ดเลก็ ๆ สีเหลือง สีน้าตาลหรือดาออกมาตามตัวแขนขาหรอื ใบหน้า เป็นจุดเล็กๆสังเกตเห็น
ได้แตไ่ ม่มีอันตราย

1.2 ตา ความมีอายุทาให้เลนส์ตาเสื่อม ความสามรถในการปรับระยะภาพลดลง
สายตาของคนเริม่ มีอายุจะเปล่ยี นเป็นสายตายาว พบได้เมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป แต่บางคนอาจเร็วกว่าได้

7 บรรลุ ศริ ิพานิช, เรอ่ื งเดยี วกัน หน้า 42
8 กุลยา ตันติวาอาชีวะ, คู่มือผู้สูงอายุสุขภาพสูงวัย ดูแลได้ด้วยตัวเอง,(กรุงเทพมหานคร : เพชร
ประกาย, 2560), หนา้ 18-41.

15

ทาให้อ่านหนังสือต้องใช้แว่นสายตาช่วย การเปล่ียนแปลงของตาอีกประการหน่ึงท่ีพบมากคือ มีวง
แหวนขุ่นขาวเกิดขึ้นที่รอบๆ ตาดา (senilis) สาเหตุเนื่องจากบริเวณขอบตาดามีสารไขมันมาเกาะจับ
เน้ือเยื่อโดยรอบ การเปล่ียนแปลงนี้ไม่เป็นอันตรายต่อตาและการมองเห็นยังเป็นปกติ เพียงแต่ดูหน้า
แล้วเหน็ ตาจะรวู้ ่ามีอายทุ นั ที

1.3 หู เป็นอวัยวะสาคัญของการส่ือสารเช่นเดียวกับตา ลักษณะความเสื่อมของหู
เป็นเช่นเดียวกับตา กล่าวคือเม่ือมีอายุความสามารถในการได้ยินจะลดลง เน่ืองจากความเส่ือมของ
ระบบการไดย้ ินเสยี ง ซงึ่ ประกอบดว้ ย อวัยวะสาคญั 4 ส่วนคอื

1.3.1 หชู น้ั กลางทาหน้าทต่ี อบสนองตอ่ การนาเสียง
1.3.2 หชู ้นั ในทาหนา้ ที่วเิ คราะห์กลไกความถแี ละการถา่ ยโยงสิง่ เรา้
1.3.3 เสน้ ประสาท สาหรบั นาเสียงและเลอื กเฟ้นการไดย้ ินไดฟ้ งั และ
1.3.4 ศูนย์รับเสียงส่วนกลาง ทั้ง 4 ส่วนน้ีจะทาหน้าท่ีประสมประสานและ
แปลเสียง สาเหตุของความเส่ือมของหูมักเกิดจากอวัยวะการรับเสียงดังกล่าวเส่ือม ซึ่งพบมากใน
ผ้สู ูงอายุเลย 70 ปีไปแลว้ เพราะฉะนั้นไม่ตอ้ งกลัว อาจพบได้กับในคนอายุนอ้ ยกว่า 70 ปี แต่เป็นบาง
คนเท่านั้น
1.4 กลา้ มเน้ือ คนจะมีกลา้ มเนอ้ื ที่แขง็ แรงและเจริญเต็มที่ เมื่ออายุประมาณ 25-30
ปหี ลังจากนนั้ ก็จะเส่ือมถอยกาลังลง แตผ่ ู้ท่ีใช้กาลังกลา้ มเน้ืออย่างสมา่ เสมอ เช่น นักกีฬา ผู้ใชแ้ รงงาน
ความแข็งแรงของกลา้ มเนอ้ื จะคงตัวไดน้ านถึงอายุ 60 ปี จากนน้ั ก็เส่อื มสภาพลงเช่นกนั ความแขง็ แรง
ของกล้ามเน้ือจะเสื่อมช้าหรือเร็วข้ึนอยู่กับวิถีการดารงชีวิตของคนๆน้ัน สัดส่วนกล้ามเนื้อแขนขา
ลาตัวท่ีลดขนาดลงจะถูกแทนที่ด้วยเน้ือเยื่อไขมัน ทาให้เกิดการหย่อนยาน ลุ่น เช่น ท่ีหน้าท้อง ต้น
แขนและผนังหน้าท้อง ถา้ อ้วนมากไขมันจะเพิม่ มากเกิดเป็นต้นแขนห้อย เหนียงคอยาน
1.5 กระดูก วัยสูงอายุเป็นวัยที่กระดูกมีความเปราะบางและหักง่าย โดยเฉพาะ
ผู้หญิงหลังหมดประจาเดือน เนื้อกระดูกจะสูญเสียแคลเซียมซึ่งเป็นส่วนประกอบสาคัญได้ง่าย ทาให้
เป็นโรคกระดูกพรุนคือเม่ือหกล้มกระดูกจะหักโดยเฉพาะกระดูกข้อมือ หรือหัวของกระดูกต้นขาตรง
ข้อต่อท่ีสะโพก นอกจากกระดูกพรุนแล้ว ในวัยสูงอายุอาจพบหมอนรองกระดูกสันหลังเส่ือม ทาให้มี
อาการปวดหลัง คนที่อ้วนมาก หรอื คนทที่ างานหนกั ตอ้ งใช้แรงงานจะมกี ระดูกข้อต่อเสื่อมมากกว่าคน
ท่ัวไป ความเส่ือมของกระดูกมีผลต่อโครงสร้างของร่างกายของผู้สูงอายุบางคน ทาให้มีลักษณะไหล่
ค้มุ และหลังโกง่ เมื่อแก่ตวั
1.6 ระบบภายในร่างกาย ในขณะท่ีร่างกายภายนอกมีการเปลี่ยนแปลงไปตามอายุ

ซึ่งสามารถสังเกตเห็นได้ สภาพภายในร่างกายก็มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างช้าๆตามอายุด้วย

โดยเฉพาะการยอ่ ย และการขบั ถ่าย ระบบภายในรา่ งกายทเี่ ปลี่ยนแปลงปรากฏ ดังน้ี

1.6.1 ประสิทธิภาพการดูดซึมอาหารลดลง ปัญหาของผู้สูงอายุในการ

รับประทานอาหารที่สาคัญคือเร่ืองของฟัน มีผู้สูงอายุน้อยคนท่ีจะดารงฟันแท้ของตนไว้ตลอดอายุขัย

ส่วนใหญ่มักพบว่าต้องอาศัยฟันปลอมทาให้การบดเค้ียวอาหารไม่ละเอียด กระบวนการย่อยในปาก

ขาดคุณภาพ เมื่ออายุมากการทางานของกระเพาะและลาไส้จะลดลงตามไปด้วย กระเพาะอาหารจะ

หลั่งเอมไซม์

16

ทริพซิน และเปปซินในปริมาณลดลงกว่า 20% ทาให้อาหารท่ีรับประทานเข้าไปย่อยไม่
สมบูรณ์ร่างกายดูดซึมได้น้อย อีกท้ังอาหารบางอย่างรา่ งกายก็ดูดซึมได้น้อยลงไปด้วย เช่น แคลเซียม
และเหลก็ ดว้ ยภาวการณ์เปลีย่ นแปลงนอ้ี าจเป็นเหตผุ ลให้ผ้สู งู อายุเป็นโรคขาดสารอาหาร

1.6.2 อัตราการเผาผลาญอาหารต่า การเผาผลาญอาหารสัมพันธ์กับการ
หายใจ เม่ือมีอายุการทางานของระบบการหายใจเสื่อมประสิทธิภาพ สาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลง
ของกระดูกซี่โครงทาให้การขยายตัวของช่องอกจากัดประกอบกับเม่ือมีอายุเนื้อเยื่อปอดจะแข็งตัว
ขาดความยืดหยุ่นเป็นเหตุให้การทางานของปอดไม่เต็มที่ สมรรถภาพการหายใจลดลง การรับและ
กระจายออกซิเจนในร่างกายไปสู่เนื้อเย่ือจึงต่า ซ่ึงทาให้อัตราการเผาผลาญอาหารในร่างกายลดลงไป
ด้วย ทางแก้คือการออกกาลังกายหรือมีกิจกรรมทาอย่างสม่าเสมอ จะช่วยรักษาสมรรถภาพการ
ทางานของระบบการหายใจให้คงอยไู่ ด้นานข้นึ ซง่ึ ช่วยใหอ้ ตั ราการเผาผลาญอาหารดีข้ึน

1.6.3 การไหลเวียนของโลหิตไม่ดี เม่อื มอี ายุหลอดเลือดมักแข็งตวั ขาดความ
ยืดหยุ่น จุดน้ีเป็นสาเหตุสาคัญทาให้ผู้สูงอายุมีอาการหน้ามืดเป็นลมง่าย เพราะเลือดไปเล้ียงสมองไม่
ทันการออกกาลังกายที่พอเหมาะจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตให้คงตัวได้ และเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพการทางานของหัวใจ

ดังนนั้ เมือ่ เขา้ วยั สงู อายุ เพื่อคงไว้ซ่ึงสภาพการไหลเวยี นของโลหติ ที่ดี

- ตอ้ งฝึกหายใจเข้าออกยาวๆลึกๆ

- ตอ้ งออกกาลงั กายไม่อยนู่ งิ่

- อยใู่ นทท่ี อ่ี ากาศถา่ ยเทไดด้ ี

- อย่าลืม เดิน ว่ิง เต้นแอโรบิค เต้นรา หรือทาอะไรก็ได้ ที่ทาให้ร่างกายเคล่ือนไหว
อยา่ อยู่นง่ิ รา่ งกายจะเส่อื มไว

1.6.4 การขับถ่าย ผู้สูงอายุมักถ่ายปัสสาวะบ่อย ท้ังน้ีเพราะความจุของ
กระเพาะปัสสาวะลดลงประมาณ 50% ของวัยรุ่นหนุ่มสาว บางรายอาจถ่ายขัดโดยเฉพาะผู้สูงอายุ
ชาย สาเหตุที่พบมากมักเนื่องมาจากต่อมลูกหมากโต อีกอย่างในผู้ใหญ่อาจกลน้ั ปัสสาวะไม่อยู่ เพราะ
กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหย่อน โดยเฉพาะหญิงท่ีคลอดบุตรมาแล้วหลายคน ปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ของผู้สูงอายุเป็นอกี ปัญหาหนึง่ ที่สาคญั โดยเฉพาะท้องผูก ทั้งนี้เนื่องจากระบบการย่อยอาหารไม่ปกติ
และรา่ งกายมีกจิ กรรมต่างๆ ลดลง ลาไส้ไม่เคลื่อนไหว การขับถา่ ยไมค่ ล่องตวั เกิดการกักเก็บของก้อน
อุจจาระทาใหผ้ ้สู งู อายุมกั มปี ัญหาทอ้ งผกู ประจา

การเปล่ียนแปลงของร่างกายแม้จะเป็นไปตามธรรมชาตขิ องสงั ขารและอายุก็ตาม ก็มิควร
ละเลย หากปล่อยไปตามธรรมชาติไม่ปรับตัว โอกาสการเกิดโรคหรือเป็นโรคง่าย มีหลายโรคใน
ผู้สูงอายุท่ีสามารถป้องกันได้ หากเจ้าของกายใส่ใจตนเอง สิ่งที่ต้องจาไว้คือ เม่ือผู้สูงอายุเป็นโรคแล้ว
มักต้องใช้เวลาในการรักษานานกว่าวัยอ่ืนๆ แม้จะเป็นโรคอย่างเดียวกัน ดังน้ัน การป้องกันและ
การใสใ่ จดแู ลสุขภาพจึงเป็นสง่ิ สาคญั ทสี่ ดุ สาหรับผ้มู ีอายุ

17

2.2.1 การเปลี่ยนทางสมรรถภาพ

สมรรถภาพ คือ ความสามรถในการปฏิบัติงานของร่างกาย จิตใจ และสมอง หลายคน
มองเห็นว่าความมอี ายทุ าให้สมรรถภาพด้านต่างๆของคนลดลงโดยอัตโนมัติ ซ่ึงตามข้อเท็จจริงแล้วไม่
เป็นเช่นนั้นเสมอไป ความเส่ือมถอยทางสมรรถภาพในผู้สูงอายุเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ อาจ
เน่ืองจากความจากัดทางร่างกาย การขาดสิ่งจูงใจ หรือปัญหาทางสุขภาพก็ได้ ความเสื่อมถอยทาง
สมรรถภาพท่ีเกิดขึ้นจะเป็นในแง่ความรวดเร็วในการตอบสนองสิ่งเร้าท่ีช้ากว่าวัยรุ่นหนุ่มสาวเท่านั้น
แตถ่ ้าพิจารณาในแง่คุณภาพของสมรรถภาพแล้วยังคงเดิมเป็นส่วนใหญ่ การตัดสนิ สมรรถภาพของคน
มักจะไปมองในแง่ประสิทธิภาพซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่ผู้สูงอายุจะคงความสามารถเช่นน้ัน ต้องมีการ
เปลย่ี นแปลงบา้ ง ปจั จัยทม่ี ีผลต่อสมรรถภาพของผใู้ หญ่ มดี ังนี้

1 การมองรูปลกั ษณต์ นเอง

ผู้สูงอายุจะมีมโนทัศน์และการมองรูปลักษณ์ของตน (Self-image) ที่แตกต่างกัน บางคน
มองเห็นคุณค่า และความสามารถของตน บางคนมองตนอย่างไร้ความหมาย นั่งรอวันตายใช้ชีวิตให้
หมดไปวันหน่ึงๆ โดยไม่มีความหมาย ซ่ึงการมองตนเองเช่นน้ีข้ึนอยู่กับประสบการณ์ในอดีตและ
พัฒนาการของชีวิตว่าประสบผลสาเร็จมากน้อยเพียงใด ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ผู้ตั้งทฤษฏีจิต
วิเคราะห์กล่าวว่า การท่ีบุคคลยึดม่ันถือม่ันอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งของตนนั้น เนื่องจากมีความขัดแย้งใน
จิตใจที่เกิดขึ้นระยะใดระยะหน่ึงของการพัฒนาการตามวัยของชีวิต แล้วไม่สามารถแก้ปัญหาได้ จึง
ถ่ายทอดความคับข้องใจนี้ไปเป็นการยึดความคิดตนเป็นสรณะ มองความสามารถ รูปลักษณ์ และมี
มโนทัศน์ต่อตนเองไปในลักษณะที่ตนคิดว่าควรจะเป็น ซึ่งบางครั้งทาให้การใช้ความสามารถในการ
ปฏบิ ัติงานไมต่ รงกับความสามารถแท้จรงิ ของตน ทาใหด้ เู หมือนว่ามอี ายแุ ลว้ สมรรถภาพลดลง

2 บคุ ลิกภาพ

บุคลิกภาพเปน็ ผลทมี่ าจากกรรมพันธุ์ สิ่งแวดล้อม การรบั รู้ และการคดิ ความเข้าใจก่อตัว
เข้าเป็นบุคลิกภาพของคนๆนั้น ซ่ึงลักษณะบุคลิกภาพและอุปนิสัยในวัยสูงอายุจะเป็นแบบใดนั้น จึง
ขึ้นอยู่กับการพัฒนามาตั้งแต่วัยเด็ก ทางด้านร่างกาย อารมณ์ เชาวน์ปัญญาและการปรับตัวในสังคม
ลักษณะของบุคลิกภาพของแต่ละคนจะบ่งบอกนิสัยการแสดงออกพฤติกรรม ท่าที และจิตใจของคนๆ
นน้ั ดังน้ัน ผู้สงู อายทุ ี่มีบุคลิกภาพอ่อนมาตั้งแต่สมัยเด็ก ก็ย่อมจะมีลักษณะและความสามารถไปอย่าง
นั้นด้วย เมื่อมีข้อจากัดทางกายตามอายุจะเสริมให้บุคลิกสงบมากข้ึน แต่ผู้สูงอายุที่แกร่งกล้ามาก่อน
พอมอี ายุก็ยงั คงบุคลิกแกร่งกล้านั้นได้

3 ความสนใจ

คนเมื่อมีอายุจะมีลักษณะไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นฐาน ไม่สนใจงานท้าทาย ไม่
ชอบงานใหม่ๆ ท่ีต้องใช้การตัดสินใจและความสามารถสูง เพราะความจากัดของร่างกาย ทาให้
ผู้สูงอายุไม่มั่นใจและวิตกกังวลกับความสาเร็จ ไม่กล้าเสี่ยงทา เพราะถ้าผิดพลาดกลัวอายเด็ก อีก
ประการหน่ึงผู้สูงอายุจะมองว่าชีวิตของตนกาลังสิ้นสุด อนาคตและผลลัพธ์ ความหวังในชีวิต
ความสาเร็จ เกียรติยศ ไมม่ ีความหมายต่อไปอีกแล้ว ทาให้ผู้สูงอายุไม่อยากได้ส่ิงใหม่ ส่ิงท่ีผ้สู ูงอายุจะ
หนั ไปสนใจมากขนึ้ กค็ ืองานในลักษณะแบบเดิมทีต่ นคุ้นเคยมามากกวา่ การทางานใหม่ๆ

18

4 ความทรงจา

ความทรงจาของคนเรามีอยู่ 3 ลักษณะ คือ 1) ความจาในอดีต (remote memory)จา
เร่ืองราวเก่าๆท่ีผ่านมาได้ 2) ความจาในเรื่องปัจจุบัน (recent memory) เป็นความจาในเหตุการณ์ที่
เกิดข้ึน เรื่องราว ประสบการณ์ หรือ ข้อมูลที่ได้รับในรอบ 24 ชั่วโมง และ 3) ความจาเฉพาะหน้า
(immediate memory) เป็นการจดจาเร่ืองที่เกิดข้ึนในทันทีชั่วระยะเวลาอันส้ัน ผู้สูงอายุจะมีปัญหา
ความจาในลักษณะที่ 3 มาก ประเภทได้หนา้ ลมื หลัง

ปกติแล้วคนเราจะมีความจาดีมากเม่ืออายุ 5-25 ปี แต่เม่ืออายุมากข้ึนความสามารถใน
การจาจะลดลงตามลาดบั ยกเว้น ความจาเร่อื งในอดีตจะยงั คงดีอยู่และชดั เจน ผูส้ ูงอายจุ ึงมักชอบเล่า
เร่ืองในอดีตที่ตนจดจาได้มากกว่าเหตุการณ์ในปัจจุบัน ซึ่งแท้จริงแล้วผู้สูงอายุอาจจะจาเร่ืองใน
ปัจจุบันได้ดีเช่นกัน แต่ต้องให้เวลาในการคิดและจดจา แต่ความหลากหลายของงานและความกังวล
เปน็ เหตุใหผ้ ้สู งู อายจุ าไมไ่ ด้มากขึ้น

5 ความเสอื่ มของวยั

เม่อื อายุมากขึ้นความสามารถและความฉับไวลดลง มีความเส่ือมถอยทางจิตใจเจ็บป่วยได้
ง่าย ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ยาก ประกอบกับความสามารถในการตอบสนองของระบบประสาท
ส่วนกลางช้า มีความเส่ือมของสมองส่วนคอร์เทกซ์ การประสมประสานความคิดอ่าน การเรียนรู้ขาด
ความว่องไว การรบั สมั ผัสเสอ่ื มลง

องคป์ ระกอบดงั กล่าวทง้ั 5 ประการ มผี ลต่อสมรรถภาพของผู้สูงอายุด้านตา่ ง ๆ ดังน้ี

1 สมรรถภาพทางร่างกาย ผู้สูงอายุจะมีการแสดงออกของพฤติกรรมทางกายช้าลง
ความสามารถทางทักษะกล้ามเน้ือ และพลังงานลดลง การทางานประสานกันของระบบประสาทและ
กล้ามเน้ือขาดประสิทธิภาพ กล้ามเนื้อขาดความตึงตัว ลักษณะการปฏิบัติงานจะเปรียบเทียบไม่ได้กับ
วยั หนมุ่ สาว

2 สมรรถภาพในการเรียนรู้ การศึกษาหาความรู้และสร้างทักษะเป็นกระบวนการสาคัญ
ของชีวิต ผู้สูงอายุจะยังคงสามารถเรียนรู้ได้ แต่อัตราความเร็วในการเรียนรู้จะลดลง ซ่ึงมิได้
หมายความว่า จะไม่เกิดการเรียนรู้ หรือขาดสมรรถภาพในการเรียนรู้ เพียงแต่ต้องใช้เวลาในการ
เรยี นรมู้ ากขน้ึ กว่าเดมิ ผู้สงู อายกุ ็จะสามารถเรียนรู้วิชาการได้เชน่ เดียวกับคนวัยอน่ื แตก่ ารเรียนรู้ในเชิง
ทักษะปฏิบัติ (learning performance) อนั เป็นการเรียนรู้ท่ีมกี ระบวนการและข้ันตอนที่ซับซ้อนต้อง
ใชค้ วามจาเพาะหนา้ ประกอบในการทีจ่ ะเรียนร้นู ้นั

3 ต่อต้านการนานวัตกรรม ซึ่งหมายถึงเทคนิค วิธีการหรือเครื่องมือใหม่ๆมาใช้ในการ
แกป้ ัญหาหรือการทางาน

- มีจติ คานึงถึงแตต่ นเอง ข้อี าย ช่างคิดแตร่ อบคอบ

- ระมดั ระวงั มากข้นึ ใจน้อย ทาอะไรตอ้ งคงที่สม่าเสมอ

- มีปญั หามากในส่งิ ทย่ี ังไมเ่ รยี นรู้ ยอมรับความผดิ พลาดหรือขอ้ บกพร่องได้ยาก

19

4 ความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เชาวน์ปัญญาเป็นความสามารถของบุคคลที่มีต่อ
ส่ิงแวดล้อมในการแสดงออก การกระทา การคิดอย่างมีเหตุผล โดยบูรณาการความสามารถในการ
รับรู้และความรู้เข้าด้วยกัน การแสดงออกทางเชาวน์ปัญญาจะสัมพันธ์กับการเรียนรู้ ความจา การ
แก้ปัญหา เหตุผล ความคิด และความสามารถในการสื่อภาษาและท่าทางให้คนอื่นรับรู้ ต่อเมื่ออายุ
ความสามารถทางเชาวนป์ ญั ญาดงั กล่าวจะลดลง เน่ืองจากความเสื่อมของสมองความจาเป็นของสมอง
ความจาและอาจมปี ญั หาสุขภาพรว่ มด้วย

5 สมรรถภาพทางเพศ จาแนกออกไดเ้ ป็น 2 ประการ

ประการแรกคือความสามารถในการสืบพันธ์ุ ผู้หญิงจะหมดความสามารถในการสืบพันธ์ุ
ทนั ทีท่ีหมดประจาเดือน แต่ความสามารถทางเพศยังคงอยู่ ส่วนผู้ชายคงความสามารถในการสืบพันธุ์
มีไดต้ ลอดอายขุ ยั ไมว่ ่าผ้ชู ายจะแตง่ งานเมอื่ อายุมากเท่าใดก็ตาม กส็ ามารถมบี ตุ รได้เสมอ

ประการท่ีสอง สมรรถภาพทางเพศในแง่เพศสัมพันธท์ ั้งหญิงและชายจะจากัดลง ซึ่งมิได้มี
สาเหตมุ าจากอายุแต่สาเหตุสาคัญมักมาจากความรสู้ ึกต่อการมเี พศสัมพันธ์มากกวา่

องคป์ ระกอบร่วมท่สี าคญั

1 ความกลัว ท่ีกลัวมากคือกลัวไม่ประสบความสาเร็จ หรือกลัวตาย ทาให้ไม่มั่นใจและ
ขาดความสขุ ในเพศสมั พันธ์

2 วัฒนธรรมและค่านิยม สังคมบางแห่งเห็นว่าผู้สูงอายุเป็นวัยที่ควรจะงดเว้นด้านกามา
รมณ์ ซึ่งแม้แต่ผู้สูงอายุเองก็มีความรู้สึกว่าตนเองไม่ควรมีเพศสัมพันธ์อย่างเช่นวัยหนุ่มสาว หรือถ้ามี
ตอ้ งไม่มากเกนิ ไป ควรจากดั ลงบ้าง

3 ความเสื่อมของสุขภาพโดยเฉพาะท่ีมีผลเก่ียวข้องกับเพศสัมพันธ์ เป็นกิจกรรมธรรม
ชาติท่ีเป็นความต้องการจาเป็นอย่างหน่ึงของคน การมีเพศสัมพันธ์จึงเป็นเร่ืองธรรมดาของชีวิตที่
ผูส้ ูงอายกุ ส็ ามารถหาความสุขได้ เว้นเสยี แตว่ ่ามปี ัญหาความเส่อื มของสุขภาพทางร่างกาย

4 ความสามารถในการแก้ปัญหา การแก้ปัญหาขน้ึ อยกู่ ับองคป์ ระกอบสาคัญ คือ ความจา
การเรียนรู้ที่สามารถจะนามาใช้ประสมประสานในการแก้ปัญหา และ สติปัญญาซึ่งจะใช้ทั้ง
กระบวนการเช่น เหตุผล มโนทัศน์ และผลผลิตของสติปัญญา สมรรถนะทางกายอาจเปล่ียนแปลงไป
ในทางลดลง แต่มใิ ช่ถดถอย ผู้สงู อายุตอ้ งยอมรบั การเปล่ียนแปลงน้ี แล้วปรบั ตวั ให้เข้ากบั ความจรงิ จะ
ทาใหภ้ าวการณ์ทางานจะยังคงอยู่ตลอดไป

2.2.3 การเปล่ยี นแปลงทางด้านจติ ใจ

การเปลยี่ นแปลงทางร่างกาย และสมรรถภาพมีผลโดยตรงต่อสภาพจติ ใจของผูส้ งู อายุมอง
รูปลักษณ์ของตนเอง และมโนทัศน์ต่อตนเองเปล่ียนไป แต่ผู้สูงอายุสามารถปรับสภาวะทางจิตใจและ
อารมณไ์ ปตามการเปล่ียนแปลงของรา่ งกายและสมรรถภาพได้โดยอัตโนมัติ มกี ารเรยี นร้ปู ระสบการณ์
ทางจิตใจอยา่ งต่อเนอื่ ง ซงึ่ ทาให้ผสู้ งู อายุสามารถปรบั และยอมรบั ตนเองไดม้ ีความม่นั คงมากข้ึน

20

ข้อดีอย่างหนึ่ง ผู้สูงอายุสามารถปรับและพัฒนาโครงสร้างขององค์ประกอบทางจิตใจไป
ในทางทีดีงามได้มากขึ้น และสามารถควบคุมจิตใจได้ดีกว่าวัยหนุ่มสาว เราจึงพบว่าเม่ือคนมีอายุมาก
ข้ึน มักมีความสุขุมมากข้ึนด้วย ผู้สูงอายุจะพัฒนาลักษณะของโครงสร้างทางจิตใจเฉพาะความเป็น
ตนเอง ซึ่งเป็นฐานะของการแสดงออกตามวัยของบุคคล โดยลักษณะการแสดงออก ข้ึนอยู่กับ
บุคลิกภาพ การศึกษา ประสบการณ์ สภาพสังคมในวัยเด็กและผู้ใหญ่ของคนๆนั้น บางคนมี เมตตา
บางคนมีการวางท่าทางเป็นคุณท้าว บางคนก็สงบชีวิตปลกี วิเวกไปอยู่วัด บุคลิกภาพตามวัยและจติ ใจ
ของผู้สูงอายุเกิดขึ้นตามความมีอายสุ ่วนหนงึ่ แต่อีกสว่ นหน่งึ มาจากประสบการณ์ที่ได้รับทาให้เกดิ การ
กาหนดสภาพทางจติ ใจ และการแสดงออกของผู้สงู อายุตา่ งกนั ไปดงั น้ี

1 การรับรู้ ผู้สูงอายุมักจะยึดม่ันกับความคิดและเหตุผลของตนเองทาให้ยากต่อการรับรู้
ต่อสิ่งใหม่ อีกท้ังความสามารถและประสิทธิภาพของอวัยวะรับความรู้สึกและการสื่อสาร เสื่อม
สมรรถภาพลง ทาให้การทาความเข้าใจ การส่ือข้อมูลด้วยคาพูด กิริยาท่าทาง หรือการส่ือในรูปแบบ
อื่นๆเป็นไปอย่างช้าๆ และไม่สู้สมบูรณ์ ส่งผลให้การแปลความ หรือตีความมีโอกาสผิดพลาดง่าย
ดังนั้น ผู้สูงอายุจึงมักใช้ประสบการณ์ที่เคยผ่านมา เป็นเครื่องมือประกอบการตัดสินการรับรู้ของ
ตนเอง

2 การแสดงออกทางอารมณ์ การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ของผู้สูงอายุเป็นกลไก
เก่ียวเนื่องกับการสนองความต้องการของจิตใจ สืบเน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและ
สมรรถนะ ผู้สูงอายุจะมีความรู้สึกของตนเอง ในแง่ต่างๆ ส่วนใหญ่จะเป็นความท้อแท้ และน้อยใจ
โดยรู้สึกว่า สังคมมิให้ความสาคัญแก่ตนเอง อย่างท่ีท่ีเคยเป็นมาก่อน บางครั้งผู้สูงอายุเอง ก็ลืมไปว่า
ตนไดถ้ ึงวาระแห่งการเปลี่ยนแปลงแลว้ กลายเป็นความโลภ ทาให้ผู้สูงอายุ มีอารมณ์ไม่ม่ันคง เม่ือถูก
กระทบกระเทือนจติ ใจ เพยี งเลก็ น้อยส่งผลใหผ้ ู้สูงอายเุ สยี ใจ หงดุ หงิด หรือโกรธไดง้ า่ ย

3 การสร้างวิถีชีวิตของตนเอง ความมีอายุเป็นการเดินทางใกล้แห่งความสิ้นสุด ผู้สูงอายุ
เริ่มนับเวลาที่เหลือ จากปีไปเป็นเดือน และเป็นชั่วโมง เริ่มเตรียมเข้าสู่สภาวะสุดท้ายของชีวิต
ผู้สูงอายุหลายคนปรับตัว บางคนเดินทางไปสู่งานใหม่ เพื่อกระตุ้นเร้าใจให้ใจสุข แต่ผู้สูงอายุบางคน
กลับสนใจที่จะทางานท่ีบ้านอยู่แบบผู้สูงอายุท่ีพอเพียง และมีไม่น้อยที่หาความสงบทางจิตใจทาง
ศาสนา การเลือกวิถีดาเนินชีวิตให้กับตนเอง เป็นโลกใหม่ของวัยสูงอายุ ซ่ึงมีลักษณะแตกต่างกันไป
ตามเหตุผลและความพึงพอใจของแต่ละบุคคล บางคนมุ่งสร้างความดี บางคนมุ่งชีวิตสงบเข้าวัด ถือ
ศีล กินมังสวิรัติ บางคนชอบเลี้ยงหลาน และบางคนก็ชอบอยู่คนเดียว เพราทาให้รู้สึกอิสระและได้ใช้
ชีวติ อยา่ งทตี่ นชอบในชว่ งสุดท้ายของชีวิต

4 ความสนใจส่ิงแวดล้อม ผู้สูงอายุจะสนใจส่ิงแวดล้อม เฉพาะท่ีทาให้เกิดความพึงพอใจ
และตรงกับความสนใจของตนเองเท่าน้ัน โดยมีอารมณ์เป็นพ้ืนฐาน ความสนใจส่วนใหญ่จะมุ่งไปท่ี
ตัวเอง เพราะมีเวลาที่จะคิดถึงตัวเอง เน่ืองจากว่างจากภารกิจการงาน และสังคม แต่จะชอบหรือ
สนใจในส่ิงที่ตนคุ้นเคยเท่าน้ัน งานแปลกใหม่อื่นๆ จะไม่ชอบหรือชอบน้อยกว่า ความสนใจ
สิ่งแวดล้อมอื่นๆ อาจมีอยู่บ้าง แต่ลดถอยไปมาก ชอบชีวิตเรียบง่าย ความมุ่งหวังหรือใฝ่ฝันในชีวิต
ลดลง หรือไม่มีเลย ชอบที่จะเป็นผู้ตามมากกว่าผู้นา ยกเว้นบางคนที่ยังคงความสามารถอยู่แต่มีน้อย
คนมาก

21

สรุป การเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกายและสมรรถภาพมีผลโดยตรงต่อสภาวะจิตใจ
เพราะลักษณะการเปลี่ยนแปลงของวัยสูงอายุจะเป็นการลดอัตราความเจริญลงไปสู่ความเสื่อม ซึ่งทา
ให้

1 มผี ลกระทบอย่างมากท้งั ตวั บคุ คลและส่งิ แวดลอ้ ม
2 มคี วามเสือ่ มถอยของร่างกายและจติ ใจ
3 ความเส่อื มทีเ่ กดิ จะเพมิ่ ขน้ึ ตามลาดับ
4 การเปลี่ยนแปลงต่างๆจะบังเกิดให้ผู้สูงอายุเห็นว่า เป็นความเสื่อมถอย เริ่มมีข้อจากัด
ท้ังตนเองและสังคม ซึ่งผู้สูงอายุท่ีมีสุขภาพดี จะใช้การปรับตัวที่เป็นคุณ บางคนอาจหาทางออกด้วย
การเริ่มต้นชีวิตใหม่ งานใหม่ หรือยอมรับเง่ือนไจตามวัยของตน การปรับตัวของผู้สูงอายุต่างจากวัย
อืน่ ทั้งทเ่ี ปน็ การปรับตวั เหมอื นกัน

2.2.4 การเปล่ยี นแปลงทางสงั คม

เม่ือมีอายุแล้วร่างกายมีข้อจากัด ทาให้ขาดความกระฉับกระเฉง จากวัยทางานที่รุ่งโรจน์
เป็นเจ้าคนนายคน กิจการรุ่งเรือง มีหน้าท่ีการงานก้าวหน้าตามวัยของคนทางาน แต่เม่ือพ้นปีที่ 60
ของอายุแล้ว ภาระหน้าท่ีและบทบาททางสังคมกลับลดลงตามวัย ต้องห่างเหินจากสังคม ยิ่งถ้า
ผู้สูงอายุนั้นต้องเกษียณจากงานประจา ขาดอานาจหน้าท่ีการยอมรับนับถือ คนท่ีเคยพูดพบหน้าก็
เลี่ยงหลบ ตรงน้ีคอื การเปล่ียนแปลง การยอมรบั ในสงั คมของวยั สงู อายุมกั เป็นไปในทางลบ สงั คมมัก
ประเมนิ ความสามารถของคน ในแง่การปฏบิ ัติ ถึงแม้วา่ จะมีผ้สู ูงอายบุ างคนจะแสดงใหเ้ ห็นว่าความมี
อายมุ ไิ ด้เปน็ อุปสรรคตอ่ การดาเนนิ บทบาท ยงั ทาหน้าท่ไี ดต้ ามปกติ สามารถทางานในหน้าท่ไี ด้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพเหมือนคนวัยทางานก็ตาม แต่ด้วยอานาจหน้าทท่ี ี่ต้องหายไปตามอายุ 60 ปี ซ่ึงเป็นอายุ
การเดินทางออกจากสังคมท่ีทาเป็นประจา ซ่ึงการออกจากสังคมนี้มี 2 กรณี คือ หน่ึง เป็นข้อกาหนด
ของสังคมให้ต้องออกจากบทบาท หน้าท่ีความรับผิดชอบด้วยการปลดเกษียณ เม่ือครบกาหนดเวลา
ตามอายุปีปฏิทินคือ 55-65 ปี และ สอง ออกจากสังคมด้วยสถานการณ์เปล่ียนแปลงตามวยั ด้วยการ
ละจากบทบาทการเป็นผู้นาครอบครัว มาเป็นสมาชิกท่ีปรึกษาของครอบครัว ซึ่งการเปล่ียนแปลง
บทบาทท่ีสองนี้มักเป็นความพึงพอใจและยอมรับสภาพตามวัยของผู้สูงอายุเอง การออกจากสังคมไม่
วา่ กรณีใด มีผลตอ่ ความรูส้ กึ ภายในของผู้สูงอายุ

การแสดงออกของผูส้ งู อายุจะตา่ งกัน จาแนกเป็น 4 ประเภท ดงั น้ี
ประเภทที่ 1 ผู้สูงอายุท่ียอมรับสภาพความมีอายุ จะมีการปรับตัวแบบยอมรับ ผู้สูงอายุ
ประเภทน้ี ยังคงความเป็นตัวเอง และคงความสามารถของตนเองได้ดี มีความพึงพอใจและเห็นคุณค่า
ของชีวิต มีการประพฤติปฏิบัติ โดยสอดคล้องตามวัยของตนด้วยความพอใจ ไม่เป็นภาวะต่อ
ครอบครวั หรอื ผู้เกย่ี วขอ้ ง จาแนกออกไดเ้ ปน็ 3 กลุ่ม คือ
1 กลุ่มท่ีมีความเป็นอยู่อย่างสงบ สามารถอยู่ได้อย่างอิสระ ไม่เป็นภาระครอบครัว มี
ความสขุ กับชวี ติ บ้นั ปลายดว้ ยตนเอง เชน่ ทาสวน ไปวัด ปฏิบตั ิธรรม
2 กลุ่มท่ีมีความสนใจกิจกรรม เป็นกลุ่มท่ีเข้าสังคม และเลือกเข้ากิจกรรมที่ตนสนใจมาก
โดยถือวา่ เป็นส่วนหนึง่ ของกิจวัตรประจาวัน อาจไปทางานใหม่ เป็นวิทยากร

22

3 กลุ่มท่ีมุ่งทาตนเป็นประโยชน์ให้แก้สังคม ตามท่ีจะพึงกระทาได้ คนกลุ่มน้ีจะชอบ
กิจกรรมท่ีมีส่วนร่วม เช่น กิจกรรมสังคมสงเคราะห์ อาสาสมัคร หรือจัดบริการสังคม ตาม
ความสามารถ เป็นต้น

ประเภทท่ี 2 ผู้สูงอายุท่ีชอบต่อสู้และมีพลังใจสูง ผู้สูงอายุน้ี จะมีความกระฉับกระเฉง
คล่องตัว ใจสู้ไม่ยอมแพ้ กับชีวิตและวัย แต่กลับมีความคิด ริเร่ิม สร้างสรรค์ใหม่ๆ ข้ึน มองเห็น
ประโยชน์ท่ีพึงให้แก่สังคม และอนาคต สามารถทางานได้ประสบความสาเร็จ ดังที่คิด ผู้ท่ีมีลักษณะ
เชน่ นี้ ไดแ้ ก่ นกั คดิ นักประดษิ ฐ์ และผนู้ าดา้ นตา่ งๆ เป็นตน้

ประเภทที่ 3 ผู้สูงอายุที่ต้องพ่ึงผู้อ่ืน เป็นกลุ่มผู้สูงอายุท่ีมีพฤติกรรม ถดทอย ไม่ยอม
ช่วยเหลือตัวเอง ไม่ชอบเข้าร่วมกิจกรรม สิ้นหวังและท้อแท้ต่อชีวิต ต้องการความใส่ใจ และเอาใจใส่
จากครอบครัวมากกว่าปกติ เป็นลักษณะที่คิดว่า แก่แล้วทาอะไรไม่ได้ ลูกหลานต้องดูแลผู้สูงอายุ
ประเภทน้ี จะพบได้ในคน 4 จาพวก คอื

1 ร่ารวยมาก ลูกหลานเอาใจใส่ประคบประหงมจนเคยตวั
2 ผู้ที่เคยทางานหนักมาก่อน เมื่อลูกหลานมีฐานะดี ก็ให้ความค้าจุนดูแล และคอย
สนองตอบอยา่ งสม่าเสมอทาให้เกดิ ความสาคญั ตวั เองมากกวา่ ปกติ
3 พวกเคร่งธรรมเนียมและวัฒนธรรม โดยถือว่า ผู้สูงอายุ คือ คนท่ีลูกหลานต้องให้การ
ดูแลรับผิดชอบ ผู้สูงอายกุ ลุ่มน้ี จะแก่ไว เพราะหวังใหด้ ูแล
4 พวกส้นิ หวังในชีวติ ทางานหนกั แตไ่ มไ่ ดผ้ ล เม่ือเริม่ มอี ายุก็หยุดทางานหวังพึง่ ลูกหลาน
ประเภทท่ี 4 ผู้สูงอายุที่ส้ินหวังในชีวิต พฤติกรรมน้ีจะพบในผู้สูงอายุท่ีมีปัญหาสุขภาพ
มีความเส่ือมของร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมรับสภาพความเป็นจริง พยายามหลีกหนีชีวิต เกิดการ
เจ็บปวดทางจิตใจ บางรายคือท้อแทม้ ากถงึ ทาอัตวนิ ิบาตกรรมเมื่อสูงอายุ

4 การมอี ายุยืน
มนุษย์ทุกคนปรารถนาการมีอายุยืน ต้องการมีชีวิตให้นานที่สุดเท่าท่ีจะเป็นได้ บางคนมี
หวัง พ่อแม่ พ่ีน้องเป็นคนมีอายุยืน ตนเองคงจะมีอายุยืนไปด้วย จากการศึกษาพบว่ากรรมพันธ์ุมีส่วน
สัมพันธ์กับการมีอายุยืนน้อยมาก แม้แต่คู่แฝดไข่ใบเดียวกัน อายุยังยืนยาวแตกต่างกันมาก
องค์ประกอบของความมีอายุยืนจึงมิใช่มาจากกรรมพันธุ์เป็นปัจจัยสาคัญแต่จากการศึกษาข้อเขียน
เก่ียวกับผู้มีอายุยืนกว่า 100 ปีหลายเล่ม พบว่าปัจจัยท่ีทาให้คนเหล่าน้ันมอี ายุยืนอยู่ท่ีการมีสุขภาพดี
และอยู่ในส่ิงแวดล้อมท่ีร่ืนรมย์ มีอากาศบริสุทธิ์เป็นหลัก ฉะนั้นการดูแลรักษาสุขภาพจึงน่าจะเป็น
แกนสาคัญของการมีอายุยืนมากกว่าปัจจัยอ่ืนๆ อย่างน้อยก็ช่วยให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่ได้ปกติสุข
เช่นเดียวกับบุคคลวัยอ่ืนๆ โดยไม่ต้องพ่ึงพาอาศัย หรือสร้างความลาบากให้แก่ครอบครัวหรือสังคมท่ี
ตนอยดู่ ว้ ย
ความมีอายุเป็นธรรมชาติที่ไม่อาจยับยงั้ ได้นอกจากโรคหรอื อุบัตเิ หตุจะคร่าชีวิตไปกอ่ นวัย
สมควร โดยธรรมชาติของชีวิตแล้วคนมีอายุยืนได้ไม่ต่ากว่า 100 ปี การมีอายุยืนคืออะไร ทาไมจึง
เรยี กอายุยืน มีกลุ่มทฤษฏีอยู่ 2 กลุ่ม ทม่ี ีความคิดต่างกันแต่เปน็ นัยเดียวกัน ว่าแทจ้ ริงอายยุ ืนอยู่ทกี่ าย
กบั จิตทจี่ ะทาให้เกดิ การ “ยืน”

23

ทฤษฏีกลุ่มที่ 1 กลุ่มทฤษฏีทางชีวภาพ มุ่งอธิบายถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงทาง
สรีรวิทยา ทฤษฎีกลุ่มน้ีจะมองความมีอายุในด้านของความเส่ือม และความดับของสภาวะความมีชีวิต
ของร่างกายหลังจากการเจริญเติบโตเต็มท่ีแล้วตามกาลเวลา ซ่ึงเป็นทั้งหญิงและชายเพียงแต่ชาย
ปรากฏความเสื่อมช้ากวา่ หญิง แต่มิไดห้ มายความว่าชายอายยุ ืนกว่าหญงิ เพราะจากสถิติพบว่าผหู้ ญิง
อายเุ กิน 100 ปมี ากกวา่ ชาย

ทฤษฎีกลุ่มท่ี 2 กลมุ่ ทฤษฎีทางสังคมหรือทฤษฎีบุคลิกภาพได้มองความมีอายุในลักษณะ
ของสภาวะการปรับตัวทางสังคมและบุคลิกภาพ เพ่ือความอยู่รอดได้ในสังคม ทฤษฎีน้ีจะเน้นความมี
อายุตามกฎแหง่ สังคม จากนั้นจะมีช่วงแห่งการปรับตัวซึง่ เป็นความสามารถของบุคคล อายุจะยืนยาว
มากนอ้ ยจงึ ขึ้นอยู่กับแต่ละคน

จากการศึกษาพบว่า เซลล์ร่างกายสามารถแบ่งตัวและคงชีวิตได้นานกว่า 100 ปี ฉะนั้น
คนจะมีอายุ 100 ปี จึงเป็นไปได้ แต่ส่วนใหญ่คนมักไม่ไปถึงโอกาสนั้น เนื่องจาก การเป็นโรคและ
ความเจ็บป่วยมา ทาให้ชีวิตส้ินสุดไปก่อนธรรมชาติกาหนด ดังนั้น การดูแลและส่งเสริมสุขภาพจึง
น่าจะเปน็ วธิ ีหน่ึงท่สี ามารถทาใหช้ วี ิตดารงอยไู่ ด้นานท่ีสุด เทา่ ทีจ่ ะเปน็ ได้ โดยธรรมชาติ

การมีอายุยืนต้องประกอบด้วยการมีสุขภาพที่ดี ร่างกายมีความคล่องตัว อยู่ในสภาวะ
สังคมปกติได้ ไม่เป็นปัญหาสงั คม จึงเรียกว่า อายยุ ืนแท้ ส่ิงท่ีคนไม่พยายามศึกษาเลยว่า การมีอายุยืน
น้ันไมไ่ ดอ้ ยูท่ ี่การกนิ อยูท่ ่ีนอน แตม่ หี ลายๆ อย่างประกอบกัน

ประการแรก คอื เพศ ผู้หญิงอายยุ นื กวา่ ผ้ชู าย ทเ่ี ป็นเช่นนีเ้ พราะ
1 ผหู้ ญงิ ใชก้ าลงั กายในการทางานน้อยกวา่ ผู้ชาย
2 ผู้หญิงมีความเครียดของร่างกายและจิตใจน้อยกว่า เพราะผู้หญิง สามารถระบาย
อารมณไ์ ดห้ ลายรูปแบบ
3 ร่างกายผู้หญิงสามารถปรับสมดุลในภาวะเครียดต่างๆ ได้ดีกว่าผู้ชาย และสาเหตุท่ีทา
ให้ชายอายุสั้นก็คือ อุบัติเหตุที่อาจเกิดจากการเดินทาง และการทางาน อันตรายจากการด่ืมสุราและ
การสบู บหุ รี่ ทาให้ผูช้ ายอายสุ ้ันกวา่ ผูห้ ญงิ
ประการท่สี อง การปรับตัวตามวัย จุดเรมิ่ ตน้ ของผู้สูงอายุเริ่มเมื่ออายุ 60 ปไี ปแล้ว คอื การ
ปรับตัวจริงๆ แล้วการปรับตัวของคนเราเร่ิมมาต้ังแต่อายุเข้า 40 ปี ท่ีเป็นวัยของการเปลี่ยนสายตา
เปล่ียนอารมณ์ ซ่ึงการยอมรับความเปล่ียนแปลง ที่เกิดข้นึ ในช่วงอายุน้ี จะส่งผลไปยังการปรบั ตัวตาม
วัยของผูส้ งู อายุด้วย
ในข้ันต้นผู้สูงอายุต้องเข้าใจงานหรือส่ิงที่เกิดขึ้นตามวัย ซ่ึงนักจิตวิทยา เฮฟวิงเฮิร์ส
ได้ประมวลว่า เมื่อมีอายุได้ท่ี 60 ปีแล้ว คนเราจะมีงานตามพัฒนาการตามวัยปรากฏอยู่ 6 ประการ
คือ
1) การตอ่ สู้กบั ภาวะความออ่ นแอของรา่ งกายและความเสอื่ มถอย
2) การปรับตัวใหเ้ ข้ากับภาวการณเ์ กษยี ณอายุและด้านการเงนิ
3) การปรับตัวเม่อื คู่สมรสเสยี ชีวติ
4) การเข้ารว่ มกับกลุม่ วัยเดยี วกัน
5) การปรับตัวใหเ้ ข้ากบั รูปแบบของสังคมใหม่
6) การดารงไวซ้ ึง่ ความพึงพอใจของระบบชีวิตในปัจจบุ ันทีเ่ ปน็ อยู่

24

ประการท่ีสาม นิสัย จุดน้ีสาคญั มากที่สร้างใหค้ นมอี ายยุ ืนและสุขภาพดี หลายคนเจ็บป่วย
เพราะนิสัย การดูแลในขั้นต้นที่จะให้อายุยนื กค็ ือการดัดนิสัยให้เป็นคนอยู่ในทางสายกลาง กินง่าย อยู่
ง่าย ไม่เครียด ก็จะทาให้อายุยืนเกินกว่าจริง คนอายุจะยืนได้เพียงแต่แก้นิสัยและปรับตัวให้พอดี
เหมือนคาพระพุทธเจ้าสอน “ให้เดินทางสายกลาง” แม้แต่ชีวิตหากเดินสายกลางอายุจะยืนและ
สุขภาพดี โดยไม่ตอ้ งกังวล

5 ความหมายของสขุ ภาพ
คาว่า สุขภาพ ในภาษาไทยตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 หมายถึง
ความเป็นสุขหรือปราศจากโรค คาน้ี แปลมาจากภาษาอังกฤษว่า Health องค์การอนามัยโลก
(1946) ได้ใหค้ วามหมายของสุขภาพว่า เปน็ ภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ รวมถงึ การ
ดารงชีวติ อย่ใู นสังคมด้วยดี เพราะฉะนั้น คนท่มี สี ขุ ภาพดี จงึ หมายถึงคนท่ี
- ร่างกายแขง็ แรง
- จิตใจดผี ่อนคลาย
- ความเปน็ อยู่ดี อยู่สบายกนิ สบายไม่มีปญั หาครอบครัว
- มีเพ่อื นมสี งั คมปกตติ ามวยั
- ดแู ลตนเองได้ ไม่เปน็ ภาระสังคม
สุขภาพเป็นสภาวะหนึ่งของมนุษย์ ท่ีเกิดจากความสมดุลของร่างกาย จิตใจ สังคม การ
รักษาสมดลุ จะเกดิ ขึน้ ได้จาก การดแู ลรักษาร่างกาย จิตใจ และสงั คม ให้เกิดความสมบรู ณ์

6 สาเหตแุ ห่งปัญหาสุขภาพผู้สงู อายุ
ปญั หาสขุ ภาพของผูส้ ูงอายมุ าจาก 3 สาเหตุ
สาเหตุที่หน่ึง การเปล่ียนแปลงของร่างกายและสรีรวิทยา ตามอายุทาให้ร่างกายมีความ
ต้านทานโรคต่า เจ็บป่วยได้ง่าย การดูแลตนเองท่ีถูกต้องเป็นวิธีสาคัญ ท่ีจะช่วยให้ผู้สูงอายุมีปัญหา
สุขภาพนอ้ ยลง
สาเหตุที่สอง การยอมรับความเจ็บป่วย ผู้สูงอายุมักปฏิเสธความเจ็บป่วย ท่ีเกิดข้ึนกับ
ตนเอง กลัวการรักษา ซึ่งปัญหาน้ี มีผลต่อการรักษาความเจ็บป่วยมาก ทาให้ไม่สามารถรักษาได้
ทนั ท่วงที
สาเหตุท่ีสาม ความรับผิดชอบตนเอง บ่อยคร้ังท่ีจะพบว่า คนมีความรู้ดี ฐานะดี ป่วยด้วย
โรคที่ขาดความรบั ผดิ ชอบ ต่อสุขภาพของตนเอง เพราะเพิกเฉยต่อสุขภาพของตนเอง ใช้ชวี ิตตนเองไม่
ถูกต้อง กินไม่เป็น อยู่ไม่เป็น ขาดความพอดี และที่สาคัญเม่ือยังไม่เจ็บป่วย มีชีวิตอยู่ดีตามปกติ ก็ไม่
ใสใ่ จ ทจี ะบารงุ รกั ษาและส่งเสริมสขุ ภาพ

7 หลักท่ัวไปของการรกั ษาสุขภาพ
ความรับผิดชอบต่อตนเองเป็นส่ิงสาคัญท่ีจะทาให้มีสุขภาพดีได้ มีหลักการสาคัญ 4
ประการ

1) กินเป็น หมายถึงการกินอาหารถูกต้อง หลีกเล่ียงการรับประทานอาหารประเภท
ท่ที าให้เกิดผลเสยี ตอ่ สุขภาพ

25

2) นอนเป็น การนอนมีความสาคัญต่อสุขภาพ การนอนหลับเตม็ ที่ และเพียงพอจะ
ทาให้ตื่นข้ึนมาทางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จานวนชัว่ โมงการนอนหลบั ขน้ึ อยู่กับความเพียงพอของ
ร่างกาย ของแต่ละคน ไม่มีกาหนดมาตรฐานแน่นอนว่า เป็น 8 หรือ 10 ช่ัวโมง แต่ผู้สูงอายุอาจ
จาเปน็ ตอ้ งงบี หลบั ตอนกลางวนั บ้าง จะช่วยใหก้ ระปรีก้ ระเปรา่ และร่างกายมคี วามพร้อม

3) อยู่เป็น การอยู่เป็น นอกจากจะหมายถึงการรู้จักรักษาสุขวิทยาท่ีดี และยัง
หมายถึงการรูจ้ ักออกกาลังกายสม่าเสมอ เพื่อให้ร่างกายมีความต่ืนตัวและคงความสดชื่น การหัดให้มี
อารมณ์ดจี ิตใจแจ่มใส มองโลกแง่ดี มกี ารพักผ่อนที่เหมาะสม การอยู่ไม่เป็นคือการอยู่อย่างตามใจ ไม่
ออกกาลังกาย เป็นการทาลายสุขภาพ สังคมเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพสังคมตามวัยและโลก
รอบตัว การยอมรับตัวเองจะทาให้การปรับตัวดีข้ึน สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ข้อสาคัญ
อย่าไปคาดหวงั จากสงั คมมากเกินไป

4) กินเป็น นอนเป็น อยู่เป็น และสังคมเป็น มิได้ใช้เฉพาะในช่วงหนึ่งช่วงใดของ
ชีวิตเทา่ นน้ั ต้องปฏบิ ัติอย่างสมา่ เสมอ และสนใจให้มากข้ึน เม่ือมีอายหุ ากทาได้ เม่ือสูงวัยก็จะเปน็ ผู้มี
อายุที่สุขภาพดีตามเกณฑ์ ดังนี้

- มลี ักษณะของผ้ทู ่ีไดรบั โภชนาการถูกต้อง
- ร่างกายสมบูรณ์ สามารถทากจิ กรรมต่างๆทีต่ ้องการในชีวติ ประจาวันได้
- ยังคงมปี ฏิสัมพันธท์ างสังคมเปน็ ปกติ
- ความสามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ และสามารถใช้ชวี ติ ได้อย่างอสิ ระ
- มีสภาพอารมณ์ และจติ ใจดี

8 การดูแลสุขภาพ
การมีอายุเกิดขึ้นทั้งในตัวบุคคลสิ่งแวดล้อมของคนๆ นั้น มิได้เกิดที่จุดใดจุดหนึ่งของ
ร่างกาย แต่เกิดข้ึนกับทุกระบบของร่างกาย อัตราการแก่ไว หรือช้าข้ึนอยู่กับกรรมพันธ์ุ ความเครียด
ความเจ็บป่วย วิธีการดาเนินชีวิตของคนๆ น้ัน บางคนอาจดูแก่กว่าอายุ ถ้าร่างกายทางานหนัก แต่
บางคนอาจรักษาความเป็นหนมุ่ สาวไดน้ านกวา่ ถ้าคนนั้นเขา้ ใจดแู ลตนเองทเ่ี หมาะสม
การใชช้ ีวิตอย่างฉลาดเป็นความสามารถของผู้มีปัญญา สขุ ภาพดีหาซื้อไม่ได้ ต้องดูแลด้วย
ตนเอง การลดโอกาสการเป็นโรคและรกั ษาคุณภาพชีวติ เปน็ หน้าทีข่ องผูท้ ีต่ ้องการมอี ายยุ นื

ปจั จัยหลักของการดแู ลสุขภาพที่ดี คือ
- นา้ หนัก
- การกิน
- การพกั ผ่อน
- การขับถา่ ย
- การออกกาลังกาย
- การงดเว้นสง่ิ เกดิ โทษตอ่ รา่ งกาย
- การนอนหลับ

26

การรักษาสุขภาพด้วยการดูแลตนเองเป็นงานประจาเบ้ืองต้น ท่ีช่วยให้คนมีความสุข และ
มีชีวิตยืนยาวได้ โดยไม่ต้องอาศัยยาหรือวิธีการรักษาใดๆ และระหว่างน้ัน ต้องตรวจสอบสุขภาพไป
ด้วย เพอื่ เปน็ การประเมินวา่ รา่ งกายได้รบั การดูแลท่ถี กู ตอ้ งสมบรู ณ์จรงิ หรือไม่ ประกอบด้วย

1) น้าหนัก การควบคมุ น้าหนักใหอ้ ยู่ในเกณฑเ์ ฉลยี่ น้าหนักมาตรฐานตามอายุและส่วนสูง
เป็นการคงสภาพหน้าที่ของร่างกาย โดยเฉพาะการทางานของหัวใจกับระบบไหลเวียนของโลหิต การ
ปล่อยน้าหนักข้ึน จนอ้วนทาให้หัวใจทางานมากข้ึน ผู้สูงอายุควรช่ังน้าหนักตนเอง อย่างน้อย 2-3
สัปดาห์ต่อครั้งหรือเดือนละครั้ง น้าหนักที่เหมาะไม่ควรเกินระดับมาตรฐาน + 3 กิโลกรัม
เพราะฉะน้ัน ช่วงนา้ หนักตามเกณฑท์ ีผ่ ้สู งู อายุคนนั้น จะอยรู่ ะหว่าง 57-63 กโิ ลกรัม

วิธีการคานวณน้าหนกั มาตรฐานทาได้ง่าย ๆ ด้วยสตู ร
สูตรผชู้ าย นา้ หนกั มาตรฐานชาย = ส่วนสูงเป็นเซนติเมตร – 100
สูตรผู้หญิง น้าหนกั มาตรฐานหญิง = ส่วนสูงเป็นเซนตเิ มตร – 110

2) การกิน หลักการกินง่ายๆ คือ การเน้นกินผัก ผลไม้ เน้ือสัตว์ให้เน้นปลาเป็นหลัก ผัก
เป็นยา ควรกินผักมากๆ อย่างน้อยอยู่ในปริมาณท่ีเพียงพอ ผู้สูงอายุต้องใส่ใจ การกิน สาคัญคือ ลด
อาหารหวานจัด ไขมันสูง มาเป็นอาหารมีเส้นใย ให้คุณค่า และปริมาณพอดี ผู้สูงอายุควรตรวจสอบ
สภาพท่ีเก่ียวข้องกับการกิน อย่างสม่าเสมอ หากมีปัญหา ต้องแก้ไขและรับการตรวจรักษา เสียแต่
เนน่ิ ๆ สงิ่ ท่ีต้องตรวจสอบ คือ

- ฟนั ตรวจสอบดวู า่ ผุ โยก คลอน หรอื ฟนั ปลอมวา่ หลวมหรอื แนน่ หรือไม่
- ความอยากอาหาร ปกติจะลดลงตามอายุ แตถ่ ้าเบื่ออาหาร ถือว่าปกติ
- สภาพการยอ่ ย ทาให้ไมอ่ ยากอาหาร
- ปรมิ าณและประเภทอาหารท่ีกิน นา้ หนัก กจิ กรรมประจาวัน
3) การพักผ่อน จะช่วยให้ชีวิตของผู้สูงอายุกระชุ่มกระชวย ผู้สูงอายุควรใช้เวลาว่างที่มี
มากขน้ึ เมอ่ื เกษยี ณจากงาน ทากิจกรรมการพกั ผอ่ นซึ่งขนึ้ อยู่กับความสนใจ

4) การขับถ่าย ตอ้ งตรวจสอบให้เป็นไปตามปกติโดยเฉพาะการขับถ่ายอจุ จาระ ผู้สูงอายุ
ชายจาเป็นต้องสังเกตการณ์ถ่ายปัสสาวะ เพราะอุบัติการณ์ของโรคต่อมลูกหมากโตจะเกิดข้ึนได้ง่าย
เมื่อเกดิ อาการขน้ึ ควรปรกึ ษาแพทย์ เพราะบางคนเห็นว่าไมเ่ จ็บปวดเลยเพกิ เฉย ซึ่งทาให้เป็นปัญหาใน
การรกั ษาภายหลัง

5) การออกกาลังกาย ควรต้องทาให้สม่าเสมอเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและการตึงตัวของ
กล้ามเน้ือ สร้างเสริมประสิทธิภาพของระบบไหลเวียนของโลหิตและการหายใจ งดเว้นสิ่งเกิดโทษต่อ
รา่ งกายหรือจากัดใหน้ ้อยลงมากท่สี ดุ เช่น กาแฟ สุรา บุหรี่

6) การนอน เป็นการพักผ่อนร่างกายทีด่ ที ี่สดุ คนทกุ คนต้องการนอนหลับเพอ่ื เป็นการพัก
และเตรียมความพร้อมของร่างกาย การนอนหลับของคน จะเป็นวงจร แต่ละวงนาน 90-100 นาที ซ่ึง
แตล่ ะช่วงวงจร จะมรี ะบบการหลบั 4 ระยะ

ระยะท่ี 1 เตรียมหลับ คอื เริ่มจากเข้านอนแล้วหลบั ตา กล้ามเน้ือคลายความเครียดหายใจ
สม่าเสมอ ระยะเวลานเ้ี วลาไมเ่ กนิ 2-3 นาที

27

ระยะท่ี 2 เคล้ิม เป็นระยะเข้าสู่ภวังค์ มีโอกาสสะดุ้งตื่น หรือตกใจตื่นได้ง่ายถ้ามีส่ิงเร้า
ระยะน้ีบางคนจะรู้สึกเหมอื นครงึ่ หลบั ครง่ึ ต่ืน และมีอาการสะดงุ้

ระยะที่ 3 หลับ เป็นระยะที่ร่างกายและจิตใจสงบน่ิง การทางานของอวัยวะภายนอกการ
ควบคุมของจิตสานึกจะเป็นอย่างช้าๆชีพจรจะเต้นช้าลง การหายใจช้าลง แต่ยังคงสภาพความพร้อม
ทางสรีระโดยนยั ในขณะหลับ

ระยะที 4 หลับสนิท เป็นระยะที่มีการหลับสมบูรณ์ ร่างกายผ่อนคลายเต็มที่ เกิดข้ึน
หลังจากผา่ นระยะท่ี 3

การนอนของผสู้ ูงอายุ
ชว่ งเวลาและระยะเวลาการนอนหลับจะเปลี่ยนไปตามอายุ คนเราจะใช้เวลาส่วนใหญ่ของ
แต่ละวันไปกับการนอนหลับ เมื่อสูงอายุนิสัยการนอนก็เปล่ียนไป บางคนเข้านอนหัวค่าต่ืนแต่เช้ามืด
บางคนนอนดึก แลว้ ตื่นเช้าธรรมดา ซ่ึงผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะมีชว่ งการหลับท่ีมลี ูกตาเคลอ่ื นไหวมากขึ้น
อัตราชว่ งการหลับธรรมดาจะลดลง ฉะน้นั ผสู้ งู อายุจึงต่ืนง่ายเพราะช่วงหลบั ทลี่ กู ตาเคลือ่ นไหวรวดเร็ว
เป็นช่วงที่คนพร้อมจะตื่นได้ แบบแผนการนอนของผู้สูงอายุจะเปล่ียนท้ังด้านปริมาณและคุณภาพ
กล่าวคือระยะชั่วโมงการนอนส้ัน ตื่นง่าย หลับยาก และชอบงีบตอนกลางวัน ลักษณะการนอนหลับ
เช่นน้ีทาให้ผู้สูงอายุเปลีย่ นมาใชก้ ารงีบในเวลากลางวนั เปน็ การชดเชย
การส่งเสริมที่จะช่วยให้นอนหลับสบายสาหรับผู้สูงอายุมีหลายวิธี ประกอบกันตามความ
เหมาะสม กล่าวคือ

- อาบนา้ อุน่ ก่อนเข้านอน
- ด่ืมเครอ่ื งดืม่ อุ่นๆก่อนเขา้ นอน
- ฝกึ การออกกาลังกายท่ผี อ่ นคลายความเครยี ด
- ไม่ควรกินยานอนหลบั หรือยาระงับประสาทโดยไมจ่ าเปน็
- กินอาหารท่ีให้แคลอรี่เพียงพอกับร่างกาย จะช่วยให้หลับได้นาน อาหารโปรตีน
เชน่ นม ถ่วั เหลอื ง ปลา มสี ่วนช่วยทาให้หลบั สบาย
- ทาจติ ใจให้สบายก่อนเข้านอนดว้ ยการสวดมนตห์ รือทาสมาธิ

7) การตรวจสขุ ภาพ
การตรวจสุขภาพจึงเป็นกิจกรรมสาคัญประการหน่ึงของการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของ
ผู้สูงอายุ โดยต้องตรวจสอบสุขภาพอย่างสม่าเสมอทุกปี การพบแพทย์เพื่อตรวจร่างกายควรทาอย่าง
สม่าเสมอ ตั้งแต่เริ่มย่างเข้าสู้วัยกลางคน เพราะการตรวจร่างกายทาให้เราได้รู้จักสภาพร่างกายของ
ตนเองมากข้ึน และยังเป็นการตรวจค้นสมุฏฐานของโรคระยะแรกได้ด้วย ทาให้สามารถปอ้ งกัน รกั ษา
และบาบัดไดท้ นั ทว่ งที
ผ้สู งู อายคุ วรมกี ารตรวจร่างกายปลี ะ 1 ครง้ั ส่งิ ทต่ี รวจคอื

1) การตรวจความดันโลหิต เป็นการตรวจหาความดันโลหิตสูงเบ้ืองต้น หรือภาวะ
ลุกลามของโรคความดันโลหิตสูง ปกติความดันโลหิตในวัยผู้ใหญ่ประมาณ 120/80 มิลลิเมตรปรอท
ถ้าต่ากว่าน้ีจะดีมากสาหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปีไปแล้ว ถ้ามีความดันโลหิตต้ังแต่ 140/90 มิลลิเมตรปรอท
จัดได้ว่าเป็นความดันโลหิตสูง ระดับความดันโลหิตที่สูงข้ึนเม่ือมีอายุ อาจพบปรากฏอาการได้น้อย

28

ความดันโลหิตสูง คือ สภาวะของความดันโลหิตที่สูงกว่าเกณฑ์ปกติของแต่ละอายุ สาเหตุส่วนใหญ่
เกิดจากหลอดเลือดฝอยตีบ แคบ หรือมีภาวะหลอดเลือดแข็งตัว ซ่ึงจะพบได้มากในผู้สูงอายุทาให้เกิด
โรคลมอัมพาต หัวใจวาย โรคหัวใจ ซ่ึงเป็นสาเหตุของการตายและความพิการที่สาคัญของผู้สูงอายุ
การตรวจความดันโลหิตจะเป็นเคร่ืองบงชี้ให้ผู้สูงอายุได้ทราบสภาพของตนเอง และหาแนวทาง
ปอ้ งกนั การเกดิ โรคทีจ่ ะตามมาเนือ่ งจากความดันโลหิตสูง

2) การตรวจเลือด เป็นการตรวจเพ่ือสืบค้นการเป็นโรค เช่น โรคเบาหวาน โรคไต
โรคตับ และโลหิตจาง การตรวจหาความผิดปกติของเลือด เมื่อมีอายุมากข้ึน กลับเป็นส่ิงจาเป็น
เนื่องจากอาหารทีก่ นิ เขา้ ไปรว่ มกบั ความเสื่อมสภาพของร่างกาย

3) การตรวจสอบความผิดปกติของ ตา หู และฟัน โดยเฉพาะฟันควรพบทันตแพทย์
6 เดือนต่อครัง้ อย่างน้อยเพอื่ ขูดหนิ ปนู และตรวจสุขภาพทว่ั ไปของฟนั

4) การเอกซเรย์ดสู ภาพปอด จะทาเฉพาะในรายที่สูบบุหรห่ี รอื มอี าชีพต้องสัมผัสกับ
ฝานละอองหรือสารพิษหรือปอดอยู่ในท่ีมีอาการเป็นพิษ เพื่อตรวจหารอยโรคท่ีปอดมะเร็ง และวัณ
โรค

5) การตรวจหัวใจด้วยคลนื่ ไฟฟา้ ของหัวใจ เป็นการดสู ภาพการทางานของหวั ใจ การ
ตรวจนี้จะขึ้นอยู่กับการวินิจฉัยของแพทย์การตรวจเฉพาะ ผู้ชายจะตรวจหาความผิดปกติของต่อม
ลูกหมาก และ ผู้หญิงจะตรวจหาความผิดปกติของเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ตรวจประเมิน
สุขภาพจิต การตรวจร่างกายเป็นสิ่งจาเป็นอย่างย่ิง ในการรักษาสุขภาพของผู้สูงอายุท่ีทาเพ่ือการ
ตรวจสอบและรกั ษาเท่าน้ัน ไม่จาเป็นต้องกังวล หรอื ตรวจซ้าๆโดยไม่จาเป็น การตรวจรา่ งกายปีละ 1
ครัง้ จะเปน็ การประกนั สุขภาพทีเ่ หมาะสมที่สดุ

2.3 แนวคิดการมีส่วนรว่ ม

การมีส่วนรว่ มกอ่ ให้เกิดผลดีต่อการขบั เคล่ือนองค์กร เพราะมีผลในทางจิตวิทยาเป็นอย่าง
ยิ่ง กลา่ วคอื ผู้ทเ่ี ขา้ มามีสว่ นรว่ มย่อมเกิดความภาคภมู ใิ จที่ได้เป็นส่วนหนง่ึ ของการบริหารความคิดเห็น
ถูกรับฟังและนาไปปฏิบัติเพ่ือการพัฒนาและแก้ไขปัญหา และที่สาคัญผู้ท่ีมีส่วนร่วม จะมีความรู้สึก
เปน็ เจา้ ของความรู้สกึ เป็นเจ้าของจะเป็นพลงั ในการขบั เคลือ่ นงานท่ดี ที ่ีสดุ

ความหมายของการมสี ่วนรว่ ม
การมีส่วนร่วม (participation) คือ เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกันในเร่ืองของความ
ตอ้ งการและทิศทางของการเปลย่ี นแปลงและความเห็นพอ้ งต้องกัน จะต้องมีมากจนเกิดความคิดริเริ่ม
โครงการเพื่อการปฏิบัติเหตุผลเบ้ืองแรกของการที่มีคนมารวมกันได้ควร จะต้องมีการตระหนักว่า
ปฏิบัติการท้ังหมดหรือการกระทาทั้งหมดท่ีทาโดยกลุ่มหรือในนามกลุ่มน้ัน กระทาผ่านองค์การ
(organization) ดงั นน้ั องค์การจะตอ้ งเปน็ เสมือนตวั นาให้บรรลุถึงความเปล่ียนแปลงได้9

9 ยุพาพร รูปงาม, การมีส่วนร่วมของข้าราชการสานักงบประมาณในการปฏิรูประบบราชการ,
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการพัฒนาสังคม,คณะพัฒนาสังคม. สถาบันบัณฑิตบริหาร
ศาสตร์, 2545), หน้า 5.

29

Erwin (อ้างอิงใน ยุพาพร รูปงาม, ) ได้ให้ความหมายเก่ียวกับการมี ส่วนร่วมไว้ว่า คือ
กระบวนการให้บุคคลเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการดาเนินงานพัฒนา ร่วมคิด ตัดสินใจ แก้ไขปัญหา
ด้วยตนเอง เน้นการมีส่วนร่วมเกี่ยวขอ้ งอย่างแข็งขันของ บุคคล แก้ไข ปัญหาร่วมกบั การใช้วิทยาการ
ท่เี หมาะสมและสนับสนนุ ตดิ ตามการ ปฏบิ ัตงิ านขององคก์ ารและ บคุ คลทเ่ี กย่ี วข้อง10

สรุปจากความหมายของการมีส่วนร่วม ได้ว่า หมายถึง การที่ประชาชนหรือกลุ่มบุคคลมี
แนวคิดหรือจุดมุ่งหมายที่เหมือนกันเข้ามาดาเนินการ น้ัน ให้แล้วเสร็จตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดแล้ว
รับผลประโยชน์ร่วมกัน ซ่ึงต้องเข้ามามีส่วนร่วมใน ทุกขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นการมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์และการมีส่วนร่วมในการ
ประเมนิ ผล

ลกั ษณะและรูปแบบของการมีส่วนรว่ ม แอนดรูว์ และสตีเฟล (Andrew & Stiefel, 1980
อ้างถึงใน ทานตะวัน อินทร์จันทร์, 2546 หน้า 19) ได้กล่าวถึงลักษณะของการมีส่วนร่วมไว้ 4
ประการ11 คือ

1 การมีส่วนรว่ มในการตัดสนิ ใจ
2 การมีสว่ นร่วมในขน้ั ปฏบิ ัติการ
3 การมีสว่ นรว่ มในการรบั ผลประโยชน์
4 การมสี ่วนรว่ มในการประเมนิ ผล

อิระวัชร์ จนั ทรประเสรฐิ (อา้ งถงึ ใน ณรงค์ วารชี ล) กล่าวไว้วา่ คอื

1 การมีส่วนร่วมในลักษณะตัวบุคคล ให้ความสาคัญกับปัจเจกบุคคลท่ีเข้ามามี ส่วน ร่วม
ในกจิ กรรมตา่ ง ๆ

2 การมีส่วนร่วมในลักษณะของกลุ่มขบวนการ ที่มุ่งสร้างพ้ืนฐานอานาจจากการสร้าง
กลมุ่ และโครงสรา้ งภายในหนว่ ยงาน

3 การมีส่วนร่วมในลักษณะโครงการ ให้ความสาคัญท่ีการจัดโครงการอันก่อให้เกิดการมี
สว่ นรว่ มท่ดี ี เนน้ กลุม่ เป้าหมาย การถ่ายทอดระบบเทคนคิ ความรู้ การกระจายอานาจสู่ ประชาชน

4 การมีส่วนร่วมในลักษณะสถาบัน ให้ความสาคัญในแง่ของการก่อให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงทางสถาบนั มีการถ่ายเทหรือขยายโครงการสรา้ งอานาจของกลมุ่ ผลประโยชน์และชนชั้น
ทางสงั คม

5 การมีส่วนร่วมในลักษณะนโยบาย เน้นเรื่องหลักการยอมรับการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนและผเู้ สียเปรยี บในสงั คม และนามากาหนดนโยบายและแผนงานระดับชาติ12

10 Erwin (อา้ งถึงใน ยุพาพร รปู งาม, เร่อื งเดียวกัน,2545) ,หน้า 6.
11 แอนดรูว์ และสตีเฟล (Andrew & Stiefel, 1980 อ้างถึงใน ทานตะวัน อินทร์จันทร์, “การมีส่วน
ร่วมของคณะกรรมการชุมชนย่อยในเขตเทศบาลเมอื งลาพูน,” การค้นคว้าอิสระ รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์, (บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่, 2546), หน้า 19.
12 อริ ะวชั ร์ จันทรประเสริฐ (2541 อา้ งถึงใน ณรงค์ วารีชล, การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชมุ ชน
ย่อยในเขตเทศบาลตาบลบางพระ, ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารท่ัวไป, วิทยาลัย
การบรหิ ารรัฐกิจ มหาวทิ ยาลัยบรู พา, 2551), หน้า 6.

30

ขน้ั ตอนของการมีส่วนรว่ ม

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ (2528, หน้า 94 อ้างถึงใน ทานตะวัน อินทร์จันทร์,2546 หน้า
20) ได้ให้ขั้นตอนการมสี ่วนรว่ มของประชาชน ดงั น้ี

1 การคน้ หาปัญหา สาเหตขุ องปญั หา และพิจารณาแนวทางแก้ไข
2 การตัดสนิ ใจเลอื กแนวทางแกไ้ ข และวางแผนหรือโครงการแกไ้ ขปัญหา
3 การปฏบิ ัติการแกไ้ ขปัญหาตามแผนและโครงการทว่ี างไว้
4 การรบั ประโยชน์จากโครงการ
5 การประเมินผลโครงการ สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ13

จอนห์ และอัฟฮอฟ (Jonh & Uphoff) (อ้างถึงใน ทานตะวัน อินทร์จันทร์) ได้แบ่งชนิด
ของการมสี ่วนรว่ ม ออกเป็น 4 ชนิด14 คือ

1 การมีสว่ นรว่ มในการตดั สินใจ (ว่าควรทาอะไร)
2 การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ (Implementation) ประกอบด้วยการสนับสนนุ ด้าน
ทรัพยากรการบริหารและการประสานขอความรว่ มมือ
3 การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ (Benefits) ไม่ว่าจะเป็นผลประโยชน์ทางด้านวัตถุ
ผลประโยชน์ทางสงั คม หรือผลประโยชน์ส่วนบุคคล
4 การมีส่วนรว่ มในการประเมินผล (Evaluation) หลักการสรา้ งการมีส่วนร่วม หลักการ
สร้างการมีส่วนร่วม หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุก ภาคส่วนของสังคมได้
เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการนั้น (International Association for Public Participation) ได้
แบง่ ระดบั ของการสร้างการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนเป็น 5 ระดบั ดงั นี้ ce3

1) การให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่าท่ีสุด แต่เป็น
ระดับที่สาคัญท่ีสุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่
กระบวนการมีส่วนรว่ มในเร่ืองต่าง ๆ วิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น เอกสาร ส่ิงพิมพ์
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเส่ือต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว
การตดิ ประกาศ และการใหข้ อ้ มลู ผา่ นเว็บไซต์ เป็นตน้

2) การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล
ข้อเท็จจริงและความคิดเห็นเพ่ือประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การรับ
ฟังความคิดเห็น การสารวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็น ผ่านเว็บไซต์
เปน็ ตน้

3) การเก่ียวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วม
เสนอแนะทางที่นาไปสู่การตัดสินใจ เพ่ือสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่าข้อมูลความคิดเห็นและ
ความต้องการของประชาชนจะถูกนาไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบรหิ ารงานของภาครัฐ เช่น การ

13 โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ (2528, หน้า 94 อ้างถึงใน ทานตะวัน อินทร์จันทร์,การมีส่วนร่วมของ
คณะกรรมการชุมชนย่อยในเขตเทศบาลเมืองลาพูน,” การค้นคว้าอสิ ระ รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ า
รฐั ประศาสนศาสตร์, (บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่, 2546), หน้า 20.

14 จอนห์ และอฟั ฮอฟ (Jonh & Uphoff, 1980 อา้ งถงึ ใน ทานตะวัน อินทร์จนั ทร์, ,2546),หน้า 21.

31

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การจัดตั้ง คณะทางาน
เพอื่ เสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น

4) ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดยเป็น
หุ้นสว่ นกับภาครัฐในทุกข้ันตอนของการตัดสินใจ และมีการดาเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเน่ือง เช่น
คณะกรรมการที่มฝี า่ ยประชาชนรว่ มเปน็ กรรมการ เป็นต้น

5) การเสริมอานาจแก่ประชาชน เป็นข้ันที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงท่ีสุด โดยให้
ประชาชนเป็นผตู้ ัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่าง ๆ โครงการกองทุน หมู่บ้าน
ทม่ี อบอานาจให้ประชาชนเปน็ ผูต้ ดั สนิ ใจท้งั หมด เปน็ ตน้

2.4 แนวคิดวิธกี ารวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั ิการแบบมสี ว่ นรว่ ม (Participatory Action Research:

PAR)
วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เป็นการวิจัยท่ีผสมผสานการวิจัยแบบมีส่วนร่วม

(Participatory Research) กับการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) รวมทั้งวิธีการวิจัยเชิง
คุณภาพ (Qualitative Research) เข้าด้วยกัน เพื่อได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ในการแก้ไขปัญหาที่
เกิดข้ึนในชมุ ชน โดยคณะวจิ ัย ชุมชนและแกนนาชาวบ้านมีส่วนร่วมในการวิจัยทุกขั้นตอน ต้ังแต่ร่วม
คิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทา ร่วมตรวจสอบและร่วมรับประโยชน์ควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนรู้ของ
ชุมชน โดยยึดประชาชน เป็นศูนย์กลาง (People-Centered Development) และแก้ปัญหาโดยใช้
กระบวนการเรยี นรู้ (Problem-Learning Process)

กมล สุดประเสริฐ ได้ให้ความหมายไว้ว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมี ส่วนร่วม (PAR)
คือ การวิจัย ค้นว้า และหาความรู้ตามหลักการของการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ แบบเดิมๆ ต่างกัน
เพียงแตว่ ่า PAR น้นั มีวัตถปุ ระสงค์มุ่งไปทกี่ ารแก้ปัญหาในการพัฒนา และเป็นการวิจยั ทีด่ าเนนิ ไปดว้ ย
การมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน ผู้รว่ มงาน รวมท้ังในกระบวนการวจิ ัย และใน การมีหนุ้ ส่วนใช้ประโยชน์ของ
การวจิ ัย15

สุภางค์ จันทวานิช กล่าวว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) หมายถึง
วิธีการท่ีให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมวิจัย เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ โดยอาศัยการมีส่วนร่วม
อย่างแข็งขันจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการวิจัย นับตั้งแต่การกาหนดปัญหา การดาเนินการ
การวิเคราะห์ขอ้ มลู ตลอดจนหาแนวทางในการแก้ปญั หาหรอื ส่งเสรมิ กิจกรรม16

หลักการของการวจิ ัยเชิงปฏบิ ตั ิการอย่างมสี ่วนรว่ ม

1 ให้ความสาคัญและเคารพต่อภูมิความรู้ของชาวบ้าน โดยยอมรับว่าความรู้พื้นบ้าน
ตลอดจนระบบการสร้างความรู้ และกาเนดิ ความรู้ในวธิ ีอน่ื ทแ่ี ตกตา่ งไปจากของนักวิชาการ

15 กมล สุดประเสริฐ, การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน, (กรุงเทพมหานคร :
สานกั งานโครงการพฒั นามนุษย์,กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2540), หนา้ 8.

16 สุภางค์ จันทวานิช, วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ, พิมพ์ครั้งท่ี 12, (กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย,2547), หนา้ 67.

32

2 ปรับปรุงความสามารถและศักยภาพของชาวบ้านด้วยการส่งเสริม ยกระดับและพัฒนา
ความเชอ่ื ม่ันในตัวเองของเขาให้สามารถวิเคราะห์และสงั เคราะห์สถานการณ์ปญั หาของ เขาเอง

3 .ให้ความรู้ที่เหมาะสมกับชาวบ้านและคนยากจน โดยให้สามารถได้รับความรู้ท่ีเกิดขึ้น
ในระบบสังคมของเขา และสามารถที่ทาความเข้าใจ แปลความหมาย ตลอดจนนาไปใช้ได้อย่าง
เหมาะสม

4 สนใจปริทัศน์ของชาวบ้าน โดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมจะช่วยเปิดเผย
ให้เหน็ คาถามท่ีตรงกบั ปัญหาของชาวบา้ น

5 ปลดปล่อยความคิด การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมจะช่วยให้ชาวบ้านและคน
ยากจนสามารถใชค้ วามคิดเห็นของตนอย่างเสรี

สรุป การวิจยั เชิงปฏบิ ตั ิการแบบมีสว่ นร่วม ไดด้ งั นี้

1 ประชากรผู้ทาการวิจัย ได้เปล่ียนจากผู้วิจัยภายนอก โดยให้ประชาชนในชุมชนได้มี
โอกาสเขา้ มาเปน็ นกั วิจยั รว่ มกนั ในการรว่ มคิด วางแผนและตดั สินใจในการวจิ ัย

2 ขอบเขตของการมีส่วนร่วม จากเดมิ ท่กี ารมสี ่วนรว่ มจะอยู่ในวงจากัดเพียงบาง ขั้นตอน
มาสกู่ ารมีส่วนรว่ มตลอดกระบวนการการวิจัย ต้ังแตก่ ารศึกษาชุมชน วิเคราะห์ปญั หา วางแผน ลงมือ
ปฏบิ ตั ิ และตดิ ตามประเมนิ ผล

3 การเป็นประชาธิปไตย หลักของความเป็นประชาธิปไตยจะเพิ่มมากข้ึนใน PAR
เนื่องจากการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนก่อให้เกิดการพัฒนาที่มาจากชุมชนเอง ลดการ พ่ึงพิง
จากสังคมภายนอก ใหป้ ระชาชนตัดสินใจรม่ กัน ชาวบ้านเป็นศูนย์กลาง ก่อให้เกิดการ พ่ึงตนเองได้ใน
ท่สี ุด

4 การสร้างองค์ความรู้ เนื่องจากเป็นการผสมผสานความรู้ของนักวิชาการกับความรู้
พ้ืนบ้าน ให้เกิดความรู้ใหม่ ซึ่งเป็นการเรียนรู้ร่วมกัน และการผสมผสานความรู้จากทฤษฎีและ การ
ปฏบิ ัติเขา้ ดว้ ยกัน

5 ความรู้ท่ีประชาชนได้รับ PAR เป็นการปฏิบัติที่ไม่ใช่การเข้าใจเพียงอย่างเดียวดังการ
วิจัยที่ผ่านมา หากแต่ต้องลงมือกระทาให้ความเข้าใจท่ีเป็นนามธรรมออกมาสู่การปฏิบัติท่ีเป็น
รปู ธรรมและพฒั นาความรู้ทีไ่ ดร้ บั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

6 การวิจัยนาไปสู่การพัฒนา PAR เป็นการวิจัยท่ีนาไปสู่การพัฒนาทั้งวิธีการวิจัย และ
การพฒั นามนษุ ย์

ประโยชนท์ ี่ได้รบั จากการวจิ ัยเชิงปฏิบตั กิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม

1 ชาวบ้าน ประชาชน จะตื่นตัว ได้รับการศึกษามากข้ึน สามารถคิดและวิเคราะห์
เหตุการณ์ตา่ งๆได้อยา่ งถกู ต้อง

2 ประชาชนไดร้ ับการแกไ้ ขปัญหา การจัดสรรทรพั ยากรต่าง ๆ มีการกระจายอย่าง ทวั่ ถึง
และเปน็ ธรรม รวมท้งั ขอ้ มูลขา่ วสารท่สี ่งผลใหค้ ณุ ภาพชีวติ ของคนในชุมชนดขี ้ึน

3 ผู้วิจัยและนักพัฒนาจะได้เรียนรู้จากชุมชน ได้ประสบการณ์ในการท างานร่วมกับ
ชมุ ชน อันก่อให้เกิดความเข้าใจชุมชนได้ดีขน้ึ และเกดิ แนวคดิ ในการพัฒนาตนเองอย่างแทจ้ ริง

33

2.5 เทคนิคกระบวนการ ระดมสมองแบบมีส่วนร่วม (Appreciation Influence

Control: A-I-C)

เทคนิคกระบวนการระดมสมองแบบมีส่วนร่วมเป็นเทคนิคที่มีการระดมสมองทาให้เกิด
ความเข้าใจสภาพปญั หา ค้นพบความต้องการ ขดี จากัดและศักยภาพของผู้เกย่ี วขอ้ งในเร่ือง ต่าง ๆ
ผลท่ีได้เกิดจากทุกคนมีส่วนคิด ตัดสินใจและยอมรับซึ่งกันและกัน A-I-C เป็นทั้งปรัชญาและรูปแบบ
ของการปฏิบัตกิ าร

ในแง่มมุ ปรัชญา จะยึดหลักความสมั พันธ์ 3 สว่ น คือ พลังของการควบคุม (control) พลัง
ของการยอมรับ (influence) และพลังของความเข้าใจ รู้คุณค่า (appreciation) เป็นหลักใน
กระบวนการจัดการ

การประยุกต์ ปรัชญา A-I-C มาใช้ในการบริหารจัดการการพัฒนา เช่น การวางแผนการ
ดาเนินการ และการตดิ ตามประเมนิ ผล A-I-C

ในแง่ของเทคนิคการปฏิบัติการใช้ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ อีกท้ังเป็นพื้นฐาน ท่ีช่วย
กระต้นุ ให้ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสียได้พจิ ารณาปัจจัยทางสงั คม การเมือง และวัฒนธรรม ไป พร้อมๆ กนั กับ
ปัจจัยด้านวิชาการและเศรษฐกิจ ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจ เน่ืองจากมีผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
(stakeholders) ร่วมดว้ ย

ในแง่ของเทคนิค A-I-C จงึ มลี กั ษณะ ดงั น้ี
1 เป็นเทคนิคที่ช่วยใหผ้ ูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสียกาหนดวตั ถุประสงค์หรือจดุ ม่งุ หมายให้
2 A-I-C จะช่วยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคนตระหนักถึงขอบเขตของตนว่ามีความเกี่ยว
ข้องกบั วัตถปุ ระสงค์ หรอื จุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้อยา่ งไร
3 ก่อให้เกิดโอกาสหรือเวทีท่ีเอื้อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคน พยายามร่วมมือกัน หรือมี
ส่วนร่วมดาเนินการท่ีจะไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายน้ัน ความเป็นมา แนวคิดเพ่ือการ
ทางานเพ่ือแก้ปัญหา มีวิวัฒนาการมาเป็นลาดับ ในยุคแรกผู้เชี่ยวชาญ เป็นผู้คิดและทาให้เป็นยุคที่
คิดว่าคนด้อยพัฒนา ต่อมาเป็นยุคกาลังพัฒนา ทุกคนต้องร่วมกันแก้ปัญหา พัฒนาการอีกข้ันคือ
ผ้เู ช่ียวชาญจัดระบบการแก้ปัญหาให้เท่าท่ีมีข้อมูลและประชาชน ทาตาม ในปัจจุบันเป็นยุคที่ทุกคนมี
ส่วนร่วมสรา้ งระบบ เพราะคนจะพัฒนาได้ต้องจัดการใหค้ นมคี วามรู้ ประสบการณ์ อาศัยระสบการณ์
ท่ีแตกต่างกัน มีความคิดเห็นในตนเอง(Human Entered) มาร่วมกันคิด เปล่ียนการเรียนรู้จากการ
สอนให้จดจาและทาตามเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดและประสบการณ์ เพ่ือวิเคราะห์ร่วมกัน
เลือกตัดสินใจได้เอง มีวฒุ ิ ภาวะ ดังนั้นการทางานจึงต้องเริ่มที่การประชุมร่วมกัน คิดสร้างสรรค์ เพื่อ
สร้างจุดมุ่งหมาย กลวิธี เขียนแผน และโครงการ มีส่วนร่วมตั้งแต่ต้น สาหรับรูปแบบของ A-I-C น้ัน
ธนาคารโลก (World Bank) ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ.2513 และนิยมใช้รูปแบบของ ดร.วิลเล่ียม อี สมิท
(Dr. William E. Smith) แล ะ น างทู ริต ช าโต้ (Ms.Turid Sato) ผู้ ก่ อ ต้ั งสถ าบั น /ผู้ ก่ อต้ั ง
Organization for Development : Inter sad Institute (ODII) ในประเทศไทย สมาคมพัฒนา
ประชากรและชุมชนร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศไทย ได้นามาทดลองในปี 2533
โดยร่วมกับกรมการพัฒนาชุมชน ปรับปรุง ทดลองนาไปปฏิบัติงานในหมู่บ้าน ตาบล และพบว่า
กระบวนการนี้ช่วยกระตุ้นให้ประชาชนต่ืนตัว มีพลังในการรวมกลุ่ม รู้สึกเป็นเจ้าของใน โครงการ

34

พัฒนา และทาให้นักพัฒนาทั้งภาครัฐและเอกชนเข้าใจประชาชนมากข้ึน สามารถจัดโครงการ
สนับสนุนชมุ ชนได้ตรงตามความตอ้ งการและสอดคลอ้ งกับสภาพความเปน็ จริงมากขึ้น

ความหมาย A = Appreciation เมตตาต่อกัน
I = Influence คดิ ร่วมกัน
C = Control ทางานร่วมกนั เกดิ จากการใหค้ วามสาคญั ทุกปัจจยั

แนวคิดนี้มีความเช่ือว่า บุคคล กลุ่มคน องค์กร ชุมชน และสังคม ล้วนมีพลังสร้างสรรค์
แฝงอยู่มากมาย แต่มักถูกนามาใช้น้อยหรือใช้พลังทาลายเสียมากกว่าทาให้เกิดความทุกข์ยาก อึดอัด
ขัดข้อง ขัดแยง้ เกิดความเสียหายนานาประการโดยไม่จาเป็น หากบุคคล กลุ่มคน องค์กรชุมชน และ
สังคม รู้จักใช้วิธีระดมพลังสร้างสรรค์ท่ีมีอยู่แล้ว โดยธรรมชาติจะเกิดเป็นพลังมหาศาล นาไปสู่การ
สรรค์สร้างความเจริญและสันติสุขให้แก่บุคคล กลุ่มคน องค์กรชุมชน และสังคมได้โดยไม่ยาก พลังท่ี
สาคญั และเป็นประโยชน์ ได้แก่

1 พลังความรักและความซาบซึ้งเข้าใจ(Appreciation) คือ การมีความรักความ เมตตา
ปรารถนาดี เป็นมิตร ซาบซึ้งคุณค่า รับรู้ เข้าใจ ใส่ใจต่อสรรพสิ่งท่ีอยู่รอบตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นบุคคล
กลุ่มคน องค์กร ชุมชน สังคม ธรรมชาติ ทรัพยากร วัตถุ ส่ิงของ ผลิตภัณฑ์ ปรากฏการณ์ เหตุการณ์
สถานการณ์ และอนื่ ๆ

2 พลังความคิดและมีปฏิสัมพันธ์ผสมผสาน(Influence) คือ การใช้ความคิดริเริ่ม
ความคิดสรา้ งสรรค์ การวเิ คราะห์(แยกแยะ) การสังเคราะห์(รวบรวม) การใชป้ ญั ญา ทง้ั น้โี ดย เห็นการ
คดิ ร่วมกนั แลกเปลยี่ นปฏิสัมพันธ์กัน ผสมผสานกัน ด้วยความเปน็ มิตร ความปรารถนาดี พร้อมทั้งให้
เกยี รติและใหค้ วามเคารพซึ่งกันและกัน

3 พลังความพยายามและการควบคุมจัดการ(Control) คือการมีความมุ่งมั่นผูกพัน และ
รับผิดชอบทจ่ี ะปฏิบัตภิ ารกิจ ซึ่งอยู่ในความควบคุมดูแลของตนเอง ให้ดาเนินการไปด้วยดี จนประสบ
ความสาเร็จ รวมถึงการรู้จักวางแผน จัดระบบ จัดคน จัดทรัพยากร สร้างความเข้าใจ กาลังใจ สร้าง
ความร่วมมือ ประสานงาน ควบคุมการปฏิบัติงาน ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน ปรับปรุงพัฒนา
งานอย่างตอ่ เนอื่ ง

กระบวนการ A-I-C
กระบวนการ A-I-C จะกระตนุ้ ใหผ้ เู้ ข้ารว่ มประชมุ กระทาในสิง่ ตอ่ ไปนี้
1 เกิดการยอมรับและเข้าใจอย่างลึกซ้ึง โดยผ่านกระบวนการ ฟังอย่างต้ังใจ
(Appreciation Through Listening) ผเู้ ขา้ รว่ มประชุมเขา้ ใจสภาพความเป็นจริงและความ เปน็ ไปได้
ในสถานการณ์ต่างๆโดยมองภาพความเป็นจริงของสถานการณ์ และภาพความเป็นจริง ของผู้เข้าร่วม
ประชมุ ทกุ คน
2 การได้รับประโยชน์จากกันและกันทางความคิด โดยผ่านกระบวนการ พูดคุย
(Influence Through Dialogue) มีการคิดค้นและพิจารณาทางเลือกท่ีเหมาะสมเพ่ือ เป็นกลยุทธ์ ใน
การพัฒนา ขณะเดียวกันต้องคานึงถึงความรู้สึกและคุณค่าของแต่ละคนในการ ตัดสินใจเลือกกลยุทธ์
3 การสร้างเง่ือนไขหรือพลังควบคุม ท่ีจะผลักดันให้ทุกคนร่วมมือกันทางาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์
โดยผ่านการลงมือปฏิบัติ (Control Through Action) จะทาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถตัดสินใจ

35

และรับผิดชอบที่จะเลือกแนวทางในการปฏิบัติอย่างอิสระบนพื้นฐานของข้อมูล ท่ีได้จากการร่วม
ประชมุ การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการหรอื การทากิจกรรมรว่ มกัน

2.6 หลกั พุทธธรรม

หลักธรรมของพระพุทธศาสนา มีหลักคาสอน ที่เหมาะแกจริตนิสัยของบุคคล ในการฝ
กฝน พัฒนาตนเอง ในหลายระดับ คือ ต้ังแต่ในระดับศีลธรรม กุศลกรรมบถ และในระดับสัจธรรม
ชั้นสูง คือ มรรคมีองค ๘ ท้ังน้ี เพ่ือพฒั นาฝกฝน อบรมสาธุชนใหมีความสามารถดารงชีวิตอยูในสงั คม
ได้ด้วยความเป็นปกติสุข มีอาชีพสุจริต สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนตามหลักพุทธธรรม เชน
หลักไตรสกิ ขา ได้แก่ ศีล สมาธิ และปญญา ซ่ึงเปนเคร่ืองมอื สาหรบั การพัฒนาท้ังด้านความประพฤติ
ทางกาย วาจา ดานจิตใจและดานปญญา เป็นหลักธรรมพ้ืนฐาน ท่ีสงเสริมใหสังคมมนุษย สามารถ
ดาเนินชีวิต ไปอยางมีคณุ ภาพ คอื การมีชวี ิตอยบู่ นความไมป่ ระมาทหรอื ความไมเ่ สยี่ ง

การนาหลักพุทธรรมมาเป็นสรณะในการครองตน บนหลักการความไม่ประมาท ในแต่ละ
ช่วงวัยของปัจเจกบุคคล เช่น ช่วงปฐมวัย อาจส่งเสริมให้มีอิทธิบาทธรรม เพื่อให้เกิดความวิริยะ
อุตสาหะในการศึกษาเล่าเรียน ช่วงวัยผู้ใหญ่ คือ ดารงตนอยู่ในความหมั่นพากเพียรในการประกอบ
อาชีพสุจริต ทางานเพ่ือสร้างฐานะทางการเงนิ หรือเศรษฐกิจในครอบครวั ให้มั่นคง ชว่ งวยั สุดท้ายของ
ชีวิต ซ่ึงคือวัยผู้สูงวัย ควรดารงตนอยู่ในหลักพุทธธรรมที่เหมาะสมแก่ตน เพ่ือให้สามารถที่จะดาเนิน
ชวี ติ อยู่ไดอ้ ย่างปกตสิ ขุ

หลกั พุทธธรรมที่ผู้สงู วัย ควรนามาเป็นสรณะ ในการปฏบิ ตั ิให้ชีวิตตนเองมีอายยุ ืน ควรเร่ิม
ที่การฝึกจิตใจ ให้ยอมรับการเปล่ียนแปลง ตามกฎไตรลักษณ์ กล่าวคือ จะต้องเช่ือม่ันในตนเองว่า
สามารถทาได้ ไม่ท้อถอยหรือไม่ยอมแพ้ และยืนหยัดที่จะพัฒนาหรือฝึกฝนตนเอง อย่างสม่าเสมอ
โดยมีเปา้ หมายสูงสดุ คือ “การมีอายุยืนอย่างมีคุณภาพ” หลักพุทธธรรมที่จะสามารถพฒั นาผู้สูงวัยให้
มีอายุยืนอย่างมีคุณภาพน้ัน มีหลายหลักธรรม ในการวิจัยคร้ังน้ี คณะผู้วิจัย ขอนาเสนอ 3 หลักธรรม
ดังนี้

1 พละ 5 (power) แปลวา่ ธรรมอันเป็นกาลงั ที่เรียกวา่ พละ เพราะมีความหมายวา่ เป็น
พลัง ทาให้เกิดความมั่นคงครอบงาเสียซึ่งความไร้ศรัทธา ความเกียจคร้าน ความประมาท ความ
ฟุ้งซ่านและ ความหลง เป็นเครื่องเก้ือหนุนแก่อริยมรรค จัดอยู่ในจาพวกโพธิปักขิยธรรม ส่วนคาว่า
กาลังในที่นี้ คือ กาลังแรงความเข้มแข็ง ที่ทาให้ข่มขจัดได้แม้แต่กาลังแห่งมาร ทาให้สามารถดาเนิน
ชีวิตท่ีดีงาม ปลอดโปร่งเป็นสุข บาเพ็ญกิจด้วยความบริสุทธิ์และเต็มท่ี ไม่มีกิเลสหรือความทุกข์ใด ๆ
จะสามารถ บีบคั้นครอบงา ได้แก่ วิมุตติ ความหลุดพ้น หมดส้ินอาสวะ หรืออรหัตตผล พละนี้ยัง
สามารถ แปลได้ว่า กาลังที่เป็นพื้นฐานเป็นรากฐานด้วย พละ 5 จึงเป็นหลักปฏิบัติทางจิตใจให้ถึง
ความหลุดพ้นโดยตรง พละ5 ประกอบดว้ ยหลกั ธรรม 5 อยา่ ง ได้แก่

1) สัทธา (confidence) คือ ความเช่ือมั่นในสิ่งท่ีดีงาม เช่น เชื่อมั่นว่า การท่ีคนเราจะ
ประสบความสาเร็จในชีวิตนั้น ไม่จาเป็นต้องหาเงินมาด้วยวิธีการเอารัดเอาเปรียบคนอื่น เชื่อม่ันว่า
บุคคลท่ีประกอบแต่กรรมดี ย่อมไดร้ ับผลดี

2) วิริยะ (energy; effort) คือ ความเพียรพยายาม ถ้าปรารถนาจะทาการสิ่งใดให้สาเร็จ
แล้ว ก็มีความเพียรพยายามกระทาไป ไมท่ อ้ ถอย

36

3) สติ (mindfulness) คือ ความระลึกได้ ความไม่เผลอ การคุมใจไวไ้ ด้
4) สมาธิ (concentration) คอื ความตั้งจติ ม่ัน การทาใจให้สงบแน่วแน่ ไมฟ่ ุ้งซ่าน การมี
จิตกาหนดแน่วแน่อยู่กับส่ิงใดส่ิงหนึ่งโดยเฉพาะ ในขณะทางานสิ่งใดก็มีใจจดจ่ออยู่กับงานนั้น ๆ ไม่มี
วอกแวกไปคิดเร่ืองอนื่
5) ปั ญ ญ า (wisdom; understanding) คื อ ค ว า ม รู้ ค ว า ม เฉ ลี ย ว ฉ ล า ด มี
ประสบการณ์ มีวิจารณญาณทดี่ ี มีความสามารถเขา้ ใจสถานการณต์ ่างๆ และมกี ารตดั สนิ ใจทด่ี ี17
ถ้าเราปฏบิ ัติธรรม พละ 5 นแี้ ล้ว เราจะมบี ุคลิกภาพทเี่ ชื่อมนั่ ในตนเอง เป็นผู้มีกาลังใจดี มี
ความเพียรพยายามสูง มีสติรู้ตัวอยู่เสมอ มีสมาธิในการทางานดี และมีสติปัญญาดี จะทาการสิ่งใด
ย่อมประสบความสาเร็จดังใจปรารถนาเสมอ
สงิ่ หน่ึงท่ีทาให้คนเราไม่สามารถดาเนินชีวิตไดด้ ้วยความม่ันใจ ส่ิงนั้นคือ ความวิตกกังวล
คนเรามีความกลัวหลายอย่าง เช่น กลัวเสียเงิน กลัวเสียชื่อเสียง กลัวเสียของรัก กลัวการเจ็บป่วย
กลัวอุบัติเหตุ กลัวตาย ถ้าเราตัดความวิตกกังวลเหล่านี้ไปได้ จิตใจของเราก็เบาสบาย และดาเนิน
ชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งมั่นใจ ไมห่ วาดหวัน่ ต่อภัยอนั ตรายต่างๆ

2 อทิ ธบิ าท 4 และแนวทางปฏิบัติ
อิทธิบาท 4 หมายถึง หลักธรรม 4 ประการ สาหรับการทางานหรือทาส่ิงใดๆ เพื่อให้งาน
ประสบความสาเร็จตามท่ีมุ่งหวังไว้ ซ่ึงประกอบด้วย “อิทธิบาท” มาจากคาว่า– อิทธิ หมายถึง
ความสาเรจ็ บาท หมายถงึ วิถีทางทจ่ี ะนาไปสู่
ดังน้ัน คาว่า “อิทธิบาท” หากแปลตามคาจึงหมายความว่า วิถีทาง หรือ หลักการ ที่จะ
นาไปสจู่ ุดหมายปลายทาง หรือไปสคู่ วามสาเรจ็ ได้ ซึ่งมี 4 ประการ หรือเรยี กวา่ อิทธบิ าท 4 ไดแ้ ก่
1) ฉันทะ (aspiration) ฉันทะ แห่งอิทธิบาท 4 คือ ความพอใจ รักใคร่ เต็มใจ และฝักใฝ่
ในงานอยู่เสมอ ทุ่มเทความสามารถ และปรารถนาเพ่อื ทจ่ี ะทางานน้ันใหด้ ีทส่ี ุด ดว้ ยการรกั ในงานของ
ตน ชอบในงานของตน งานในท่ีน้ีหมายถึง ส่ิงท่ีเราทา ผู้ใดมีงานอะไรแล้วมีความรักใคร่พอใจในงาน
น้ัน เรียกว่า มีฉันทะ คนที่ขาดฉันทะ ไม่พอใจในงานของตน มักจะทางานด้วยความเหน็ดเหนื่อยใจ
และชอบทง้ิ งานให้จบั จดและค่ังคา้ ง
ความอยากหรือความฝักใฝ่ท่ีเกิดจากฉันทะน้ี มิได้มีความหมายเหมือนกับความอยากได้
เพอื่ ให้ได้มาซ่ึงการเสพเสวยแก่ตนในทุกสง่ิ ทกุ อย่าง หรือที่เรยี กวา่ ตณั หา เพราะความอยากที่เกิดจาก
ฉันทะนั้น เปน็ ความอยากในทางสุจรติ ทต่ี ้องมีการทุม่ เทกาลังกาย และกาลังใจเพื่อใหส้ ิ่งน้ันสาเร็จตาม
ความมงุ่ หมาย ภายใต้พน้ื ฐานของคุณธรรม และความดี
องคป์ ระกอบของฉนั ทะ

(1) ความยินดใี นสิง่ ท่ีทา นัน้ ๆ
(2) ความพอใจในสิ่งท่ีทา นั้นๆ
(3) ความเตม็ ใจในขณะทที่ าส่ิงนน้ั ๆ
(4) ความมใี จรกั ในขณะที่ทาสง่ิ น้ันๆ

17 สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตโฺ ต), พจนานุกรมพทุ ธศาสตน์ ฉบบั ประมวลศพั ท์, พมิ พค์ รั้ง
ที่ 11, (กรงุ เทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , 2546), หนา้ 156 -187.


Click to View FlipBook Version