The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามมาตรการรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Akarapong.P, 2022-08-07 22:07:14

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2564

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามมาตรการรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลการดาเนินงานตัวช้วี ดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ
ของกรมพฒั นาทด่ี นิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

บทสรุปผูบ้ ริหาร

คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2559 ได้มีมติเห็นชอบกับมาตรการปรับปรุง
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการดำเนินงานของส่วนราชการในการ
ขับเคลื่อนภารกิจสำคัญของรัฐบาล การแก้ไขปัญหาและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน และเพื่อเพ่ิม
ศักยภาพของส่วนราชการในการสนับสนุนการพัฒนาประเทศ โดยสำนักงาน ก.พ.ร. ซึ่งได้รับมอบหมายให้เปน็
ผู้ประเมินส่วนราชการตามมาตรการฯ ดังกล่าว ได้กำหนดกรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อให้ส่วน
ราชการยดึ ถอื และใชเ้ ป็นแนวทางการขบั เคลื่อนภารกิจสำคญั ในการบรรลุเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ของประเทศ

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมพัฒนาที่ดิน ได้กำหนดกรอบการประเมินผลการดำเนินงานตาม
มาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการตามกรอบการประเมนิ ฯ ของสำนักงาน ก.พ.ร. เพอ่ื ใชใ้ นการ
ขบั เคลื่อนภารกจิ สำคญั โดยมกี ารเชื่อมโยงยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2562-2580) แผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นการ
บริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับปรับปรุง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายสำคัญของ
รฐั บาล และแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซ่งึ แบ่งออกเป็น 2 องคป์ ระกอบ ดงั ตาราง

องคป์ ระกอบการประเมนิ นำ้ หนกั
(ร้อยละ)
การประเมนิ ประสทิ ธิผลการดำเนนิ งาน (Performance Base)
70
1. ผลการดำเนนิ งานตามแนวทางสง่ เสริมการเกษตรแปลงใหญ่ 15
(ขา้ ว พืช ปศสุ ตั ว์ ประมง หมอ่ นไหม)
10
2. การพัฒนามาตรฐานข้อมลู กลาง (Data Standard ) ขอ้ มูลบุคคลของฐานขอ้ มูล
ทะเบียนเกษตรกร 15

3. รายไดเ้ งินสดสทุ ธทิ างการเกษตรของเกษตรกรเฉลีย่ ตอ่ ครวั เรอื นเพมิ่ ขึน้ 30
(บาท/ครวั เรอื น/ป)ี 30

4. พนื้ ท่เี กษตรกรรมท่ีไม่เหมาะสมไดร้ บั การปรับเปลย่ี นกิจกรรมการผลิต 15
การประเมินศักยภาพในการดำเนินงาน (Potential Base) 15

5. การพฒั นาศักยภาพองค์การสู่การเป็นระบบราชการ 4.0
5.1 การพัฒนา e-Service งานบรกิ ารวเิ คราะหด์ ินในหนว่ ยงานภูมภิ าค
5.2 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)

ทง้ั นี้ สามารถสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชว้ี ดั ฯ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของกรมพฒั นาที่ดิน
ดงั ตาราง

รายงานผลการดาเนินงานตัวชวี้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ก
ของกรมพัฒนาทด่ี ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

คำนำ

รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของ
กรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่และสรุปผลการดำเนินงานตามผลการ
ดำเนินงานตามตัวช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การประเมินประสิทธิผลการดำเนินงาน (Performance Base) และ
2) การประเมินศักยภาพในการดำเนินงาน (Potential Base) ตามกรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการตาม
มาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนกั งาน ก.พ.ร.

ทั้งนี้ กรมพัฒนาที่ดิน ได้มีการพัฒนาการดำเนินงานต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนภารกิจที่สำคัญ อาทิ
การปรับปรงุ พนื้ ทเี่ กษตรกรรมทไี่ ม่เหมาะสม การพฒั นาองค์การสดู่ ิจทิ ลั ซึง่ มงุ่ เน้นการพัฒนางานบริการในรูปแบบ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพการปฏบิ ัติราชการ โดยนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ ตลอดจน
การเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนางานบริการภาครัฐ โดยมียุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2562-
2580) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบับปรับปรุง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายสำคัญของรัฐบาล และแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นทิศทาง
สำคัญในการพัฒนาระบบราชการเพอื่ บรรลุตอ่ เป้าหมายตามยุทธศาสตรข์ องประเทศ

กลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร กรมพัฒนาท่ีดนิ
มิถุนายน 2565

รายงานผลการดาเนนิ งานตวั ช้ีวัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการ ข
ของกรมพฒั นาทด่ี นิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

สารบญั

บทสรปุ ผบู้ ริหาร 1
2
คำนำ 3
4
ส่วนที่ 1 บทนำ
1.1 ทมี่ า 5
1.2 วัตถุประสงค์ 7
8
สว่ นท่ี 2 กรอบแนวทางการประเมนิ สว่ นราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 9
2.1 หลักการ 10
2.2 กรอบและประเดน็ การประเมิน
13
ส่วนท่ี 3 ตวั ชีว้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติราชการของกรมพฒั นาท่ีดนิ
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 14
3.1 ความเช่อื มโยงยทุ ธศาสตรร์ ะดบั ชาติกบั ตัวชว้ี ดั ของกรมพฒั นาทีด่ นิ
3.2 สรุปตัวชวี้ ัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพฯ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 36
ของกรมพฒั นาท่ดี ิน

ส่วนท่ี 4 รายงานผลการดำเนนิ งานตามตวั ชวี้ ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพ
ในการปฏบิ ตั ิราชการของกรมพัฒนาท่ีดนิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
4.1 สรปุ ผลการดำเนินงานตามตัวชวี้ ดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพฯ
ของกรมพฒั นาทด่ี ิน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ภาคผนวก
เอกสารหลกั ฐานประกอบการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวช้วี ดั
ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตริ าชการของกรมพัฒนาทดี่ นิ
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลการดาเนนิ งานตัวชี้วดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติราชการ
ของกรมพฒั นาทดี่ นิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานการประเมินตนเอง : หนว่ ยงาน กรมพัฒนาทีด่ ิน
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ต้งั แต่วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2563 ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2564

องคป์ ระกอบ / นำ้ หนกั เป้าหมาย

ตวั ชี้วดั (รอ้ ยละ) ค่าเปา้ หมายขนั้ ต้น คา่ เป้าหมาย คา่ เป้าหมายข้ันสูง ผลการดำเนนิ งาน
(100)
(50) มาตรฐาน (75) 16.24
10.00 (รอ้ ยละ)
Performance Base (ร้อยละ) 14.87
(ร้อยละ)
ตวั ชี้วดั 1 ผลการดำเนนิ งานตามแนวทางสง่ เสรมิ เกษตรแปลงใหญ่ 12.59 9.15
(ร้อยละ) (รอ้ ยละ)
15 11.92
8.75 (ร้อยละ)
Performance Base (รอ้ ยละ) 12.89
(รอ้ ยละ)
ตัวช้วี ดั 1.1 รอ้ ยละของตน้ ทุนการผลิตทีล่ งลง 19.97
(ร้อยละ)
3.75
12.76
Performance Base (ร้อยละ)

ตวั ชว้ี ดั 1.1.1 รอ้ ยละของตน้ ทนุ การผลติ ทีล่ ดลง (กรมการขา้ ว)

0.75 6.84 8.42
(รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ)

Performance Base

ตวั ชี้วดั 1.1.2 รอ้ ยละของต้นทนุ การผลติ ที่ลดลง (กรมส่งเสรมิ การเกษตร)

0.75 6.00 10.00
(รอ้ ยละ) (ร้อยละ)

Performance Base

ตัวชี้วดั 1.1.3 รอ้ ยละของต้นทุนการผลติ ท่ีลดลง (กรมประมง)

0.75 6.75 7.75
(รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ)

Performance Base

ตัวชี้วดั 1.1.4 รอ้ ยละของต้นทนุ การผลติ ทล่ี ดลง (กรมปศุสตั ว์)

0.75 15.97 17.97
(รอ้ ยละ) (ร้อยละ)

Performance Base

ตวั ชว้ี ดั 1.1.5 รอ้ ยละของต้นทนุ การผลติ ทล่ี ดลง (กรมหม่อนไหม)

0.75 8.00 10.38
(รอ้ ยละ) (ร้อยละ)

Performance Base

ตวั ชว้ี ดั 1.2 ร้อยละของผลผลติ สนิ คา้ เกษตรทีเ่ พิ่มข้นึ

3.75

รายงานผลการดาเนนิ งานตวั ชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติราชการ
ของกรมพัฒนาท่ีดิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

องคป์ ระกอบ / นำ้ หนกั ค่าเป้าหมายข้ันต้น เป้าหมาย ค่าเปา้ หมายขน้ั สูง ผลการดำเนนิ งาน
ตัวชี้วดั ค่าเป้าหมาย (100)
11.15 9.43
(50) มาตรฐาน (75) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ)
19.12 21.05
Performance Base (ร้อยละ) (รอ้ ยละ)
9.42 10.40
ตวั ชว้ี ดั 1.2.1 รอ้ ยละของผลผลติ สนิ คา้ เกษตรทเ่ี พ่ิมขน้ึ (กรมการขา้ ว) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ)
35.98 45.01
0.75 7.50 9.33 (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ)
12.00 12.69
(ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ)

Performance Base 6.00 8.88
(ร้อยละ) (รอ้ ยละ)
ตัวช้ีวดั 1.2.2 รอ้ ยละของผลผลติ สนิ คา้ เกษตรที่เพ่มิ ขนึ้ (กรมส่งเสริมการเกษตร) 8.99 10.26
10.00 14.56 (รอ้ ยละ) (ร้อยละ)
0.75 (ร้อยละ) (ร้อยละ) 4.64 9.66
(รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ)
Performance Base

ตวั ชี้วดั 1.2.3 รอ้ ยละของผลผลติ สนิ คา้ เกษตรทเ่ี พิ่มข้นึ (กรมประมง)
7.42 8.42
0.75 (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ)

Performance Base

ตวั ช้ีวดั 1.2.4 รอ้ ยละของผลผลติ สนิ ค้าเกษตรท่เี พิ่มข้ึน (กรมปศสุ ัตว์)
33.98 34.98
0.75 (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ)

Performance Base

ตวั ชี้วดั 1.2.5 รอ้ ยละของผลผลติ สินคา้ เกษตรที่เพ่มิ ข้นึ (กรมหม่อนไหม)
8.00 10.00
0.75 (ร้อยละ) (รอ้ ยละ)

Performance Base

ตัวชี้วดั 1.3 รอ้ ยละของแปลงที่ไดร้ าคาผลผลติ เพิ่มขึน้

3.75

Performance Base

ตัวชว้ี ดั 1.3.1 รอ้ ยละของแปลงทไี่ ดร้ าคาผลผลติ เพม่ิ ขน้ึ (กรมการขา้ ว)
4.00 5.00
0.75 (รอ้ ยละ (รอ้ ยละ)

Performance Base

ตวั ชีว้ ดั 1.3.2 รอ้ ยละของแปลงทไ่ี ดร้ าคาผลผลติ เพม่ิ ข้ึน (กรมสง่ เสรมิ การเกษตร)
5.00 7.00
0.75 (ร้อยละ) (ร้อยละ)

Performance Base
ตัวช้ีวดั 1.3.3 รอ้ ยละของแปลงทไ่ี ดร้ าคาผลผลติ เพ่มิ ข้ึน (กรมประมง)
3.64 4.14
0.75 (รอ้ ยละ) (ร้อยละ)

รายงานผลการดาเนนิ งานตวั ชวี้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติราชการ
ของกรมพัฒนาที่ดนิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

องคป์ ระกอบ / นำ้ หนกั คา่ เป้าหมายขน้ั ต้น เปา้ หมาย ค่าเปา้ หมายข้ันสงู ผลการดำเนินงาน
ตวั ชีว้ ดั ค่าเปา้ หมาย (100)
23.37
(50) มาตรฐาน (75) 19.12 (รอ้ ยละ)
(ร้อยละ)
Performance Base 7.19
6.07 (ร้อยละ)
ตวั ช้วี ดั 1.3.4 รอ้ ยละของแปลงทไ่ี ดร้ าคาผลผลติ เพิ่มขึน้ (กรมปศสุ ัตว์) (รอ้ ยละ)

0.75 17.12 18.12
(รอ้ ยละ) (ร้อยละ)

Performance Base

ตัวชี้วดั 1.3.5 รอ้ ยละของแปลงทไี่ ดร้ าคาผลผลติ เพิ่มขน้ึ (กรมหม่อนไหม)

0.75 5.00 5.54
(รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ)

Performanse Base

ตัวชว้ี ดั 1.4 รอ้ ยละของแปลงใหญท่ ีไ่ ด้รบั การรบั รองคุณภาพและมาตรฐานการผลติ

3.75

Performance Base
ตวั ชี้วดั 1.4.1 รอ้ ยละของแปลงใหญท่ ่ไี ด้รับการรบั รองคณุ ภาพและมาตรฐานการผลติ (กรมการข้าว)

0.75 60.00 68.49 76.97 88.86
(รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ)

Performance Base

ตัวชีว้ ดั 1.4.2 รอ้ ยละของแปลงใหญท่ ่ีได้รบั การรับรองคณุ ภาพและมาตรฐานการผลติ (กรมสง่ เสริมการเกษตร)

0.75 60.00 78.64 97.28 88.89
(ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)

Performance Base 100.00
ตัวชวี้ ดั 1.4.3 รอ้ ยละของแปลงใหญท่ ไ่ี ดร้ ับการรับรองคณุ ภาพและมาตรฐานการผลติ (กรมประมง) (รอ้ ยละ)

0.75 95.68 97.43 99.18 41.85
(รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ)

Performance Base 0.00
(รอ้ ยละ)
ตวั ชี้วดั 1.4.4 รอ้ ยละของแปลงใหญท่ ่ไี ดร้ ับการรบั รองคณุ ภาพและมาตรฐานการผลติ (กรมปศสุ ตั ว)์

0.75 25.95 27.15 28.24
(รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ)

Performance Base

ตวั ชีว้ ดั 1.4.5 รอ้ ยละของแปลงใหญท่ ไ่ี ดร้ บั การรับรองคณุ ภาพและมาตรฐานการผลติ (กรมหมอ่ นไหม)

0.75 60.00 69.09 78.18
(ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ)

รายงานผลการดาเนินงานตัวชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ของกรมพฒั นาที่ดิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

องค์ประกอบ / นำ้ หนกั ค่าเปา้ หมายขั้นตน้ เปา้ หมาย คา่ เปา้ หมายขน้ั สูง ผลการดำเนินงาน
ตวั ชี้วดั คา่ เปา้ หมาย

(50) มาตรฐาน (75) (100)

Performance Base

ตัวช้วี ดั 2 การพฒั นามาตรฐานขอ้ มูลกลาง (Data Standard) ข้อมลู บุคคลของฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร

10 1 2 3 3
(ผลผลติ ) (ผลผลติ ) (ผลผลติ ) (ผลผลติ )

Performance Base 75,931.46 79,485.62
ตัวชวี้ ดั 3 รายได้เงนิ สดสทุ ธิทางการเกษตรกรเฉลย่ี ต่อครวั เรอื นเพ่มิ เตมิ (บาท/ครวั เรือน/ป)ี (บาท/ครวั เรือน/ป)ี

15 59,460.00 67,695.75 90,000.00+1 93,297.00+1
(ไร+่ ผลผลิต) (ไร+่ ผลผลิต)
(บาท/ครัวเรือน/ป)ี (บาท/ครวั เรือน/ป)ี

Performance Base
ตัวชีว้ ดั 4 พื้นที่เกษตรกรรมท่ีไมเ่ หมาะสมไดร้ ับการปรบั เปลย่ี นกจิ กรรมการผลิต*

30 79,200+0 90,000.00+0
(ไร่+ผลผลติ ) (ไร+่ ผลผลิต)

Potential Base
ตัวชี้วดั 5.1 การพฒั นาองคก์ ารสดู่ จิ ทิ ลั : ตรวจสอบดินเพอ่ื การเกษตรหน่วยงานภูมภิ าค*

15 1 1 1 1
(ผลผลิต) (ผลผลิต) (ผลผลติ ) (ผลผลิต)

Potential Base 429.79
(คะแนน)
ตวั ชี้วดั 5.2 การประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)*

15 370.00 415.91 424.23
(คะแนน) (คะแนน) (คะแนน)

หมายเหตุ : * ผลการดำเนินงานตามตวั ชวี้ ดั ฯ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ที่กรมฯ เป็นผ้รู บั ผดิ ชอบหลัก



รายงานผลการดาเนนิ งานตัวชีว้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติราชการ ๒
ของกรมพัฒนาทดี่ ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

การประเมนิ สว่ นราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการ ประจำปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564 มที ่ีมาและวัตถุประสงค์ โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้

1.1 ที่มา
พระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545

มาตรา 3/1 กำหนดว่า “การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชน
เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจ และทรัพยากรให้แก่ท้องถ่ิน
การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง ความตอ้ งการของประชาชน ทง้ั นี้ โดยมี
ผู้รับผดิ ชอบตอ่ ผลของงานในการปฏบิ ตั หิ น้าที่ของ ส่วนราชการตอ้ งใชว้ ิธีการบรหิ ารกิจการบ้านเมอื งท่ีดโี ดยเฉพาะ
อยา่ งยง่ิ ให้คำนึงถงึ ความรบั ผดิ ชอบ ของผปู้ ฏิบัติงาน การมสี ว่ นร่วมของประชาชน การเปดิ เผยขอ้ มูล การติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ท้ังนี้ ตามความเหมาะสมของแตล่ ะภารกจิ ”

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑแ์ ละวิธีการบรหิ ารกิจการ บ้านเมอื งท่ีดี
พ.ศ.2546

มาตรา 9 (3) กำหนดว่า การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ให้ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการ ตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการทสี่ ว่ นราชการกำหนดขึน้ ซง่ึ ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานท่ี ก.พ.ร. กำหนด

มาตรา 12 กำหนดว่าเพอื่ ประโยชน์ในการปฏบิ ัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอตอ่
คณะรัฐมนตรี เพื่อกำหนดมาตรการกำกับการปฏบิ ัติราชการ โดยวิธีการจัดทำ ความตกลงเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร
หรือโดยวิธกี ารอ่นื ใด เพื่อแสดงความรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิ ราชการ

มาตรา 45 กำหนดใหส้ ว่ นราชการจัดให้มคี ณะผูป้ ระเมินอสิ ระดำเนินการประเมินผล การปฏิบัติ
ราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชน
ผู้รับบรกิ าร ความคมุ้ คา่ ในภารกจิ ท้ังนี้ตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และ ระยะเวลาท่ี ก.พ.ร. กำหนด

มตคิ ณะรัฐมนตรวี ันที่ 5 เมษายน 2559

มติคณะรัฐมนตรี 5 เมษายน 2559 เห็นชอบกับมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติราชการ กำหนดให้มีการประเมินส่วนราชการ ใน 5 องค์ประกอบ และให้นำแบบประเมินฯ นี้ไปใช้ในการ
ประเมินส่วนราชการ โดยให้นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี หรือ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง และรัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวง เปน็ ผู้ประเมนิ และมเี ลขาธกิ าร ก.พ.ร. เปน็ ผูป้ ระเมิน
เบอื้ งต้น

รายงานผลการดาเนนิ งานตัวชีว้ ัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ ๓
ของกรมพัฒนาทด่ี ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

มติคณะรัฐมนตรวี นั ที่ 15 กันยายน 2563

คณะรฐั มนตรมี มี ตเิ ห็นชอบกบั การประเมนิ สว่ นราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีกรอบการประเมิน 2 องค์ประกอบ ได้แก่ (1)
การประเมินประสิทธิผลการดำเนินงาน (Performance Base) (2) การประเมินศักยภาพในการดำเนินงาน
(Potential Base) และแบ่งเกณฑ์การประเมิน 3 ระดับ ได้แก่ ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน (มาตรฐานขั้นสงู
และมาตรฐานขั้นต้น) และ ระดับต้องปรับปรุง โดยพิจารณาจากคะแนนในภาพรวมทุกองค์ประกอบ และมีรอบ
ระยะเวลาการประเมินปลี ะ 1 ครัง้ (ตัง้ แต่วันที่ 1 ตลุ าคม ถึงวันท่ี 30 กันยายนของทกุ ปี)

1.2 วตั ถุประสงค์

การประเมนิ สว่ นราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการ มีวัตถุประสงคเ์ พอื่
พัฒนาการดำเนินงานของส่วนราชการในการขับเคลื่อนภารกิจสำคัญของรัฐบาล เพื่อบรรลุต่อเป้าหมายตาม
ยุทธศาสตรข์ องประเทศ



รายงานผลการดาเนินงานตัวช้วี ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติราชการ ๕
ของกรมพัฒนาที่ดิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

สำนักงาน ก.พ.ร. ได้กำหนดกรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุง
ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้

2.1 หลักการ

หลักการในการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติราชการ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 มดี งั น้ี

1) กรอบการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติ ราชการ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 กำหนดให้มีการประเมินส่วนราชการใน 2 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) การประเมิน
ประสิทธิผลการดำเนนิ งาน (Performance Base) (2) การประเมนิ ศกั ยภาพในการดำเนินงาน (Potential Base)
และแบง่ เกณฑก์ ารประเมิน 3 ระดับ ไดแ้ ก่ ระดบั คุณภาพ ระดับมาตรฐาน (มาตรฐานขน้ั สงู และมาตรฐานขน้ั ต้น)
และระดับต้องปรับปรุง โดยพิจารณาจากคะแนนในภาพรวมทุกองค์ประกอบ และมีรอบระยะเวลาการประเมิน
ปลี ะ 1 ครัง้

ทม่ี า : คมู่ อื การประเมนิ ส่วนราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของส่วนราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564, สำนักงาน ก.พ.ร.

รายงานผลการดาเนินงานตัวชวี้ ัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ๖
ของกรมพฒั นาที่ดนิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

2) ให้มีตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 1 การประเมินประสิทธิผลการดำเนินงาน (Performance Base)
จำนวน 3 - 5 ตัวชี้วัด และสว่ นราชการระดับกรมตอ้ งมีตวั ชี้วดั ทีถ่ า่ ยทอดจากกระทรวง อยา่ งนอ้ ย 1 ตวั ชีว้ ัด

3) ให้มีตัวชี้วัดผลการดำเนินงานตามแผนการปฏิรูปประเทศในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการ
(ตวั ชี้วัด 1 กรม 1 ปฏิรูป) เป็นตวั ช้ีวัดบงั คับท่สี ว่ นราชการระดบั กรมในองค์ประกอบ ท่ี 1 การประเมินประสทิ ธผิ ล
การดำเนินงาน (Performance Base)

4) การกำหนดตัวช้ีวัดของส่วนราชการเนน้ ความสอดคล้องและเชือ่ มโยงจากยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนแม่บท
ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 แนวทาง การพฒั นาประเทศไทย 4.0
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) แผนงานบูรณาการ รวมทั้งนโยบาย ของรัฐบาล และตัวชี้วัดมาตรฐานสากล
(International KPIs) เพื่อนำมากำหนดเป็นตัวชี้วัด ที่สามารถวัดผลได้อย่างชัดเจน และสามารถขับเคลื่อน
นโยบายสำคัญของรัฐบาลใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย ตามยทุ ธศาสตร์ของประเทศ

5) ให้ความสำคัญกับการกำหนดตัวชี้วัดเพื่อขับเคลื่อนการบูรณาการการดำเนินงาน ร่วมกันระหว่าง
กระทรวง (Joint KPIs) ตามนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล และระหว่าง กระทรวงและจังหวัด (Function-
Area KPIs) โดยมกี ารถา่ ยทอดเป้าหมายจากระดับประเทศ ลงสูร่ ะดบั จงั หวดั ท่เี ป็นเปา้ หมาย

6) ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมให้ส่วนราชการปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินงานเพ่ือรองรับ การทำงานใน
รปู แบบ New Normal หรอื การทำงานในชวี ติ วิถใี หม่ รวมทงั้ การสร้างความเข้มแข็ง ใหห้ น่วยงานเพอื่ ผลักดันการ
ดำเนินงานให้บรรลเุ ป้าหมาย โดยการนำเทคโนโลยีดิจิทลั มาเพ่ิม ประสิทธิภาพในการทำงาน โดยกำหนดตวั ช้วี ดั
การพฒั นาองค์การสดู่ จิ ิทัลใหส้ ่วนราชการ เลือกดำเนนิ การ ไดแ้ ก่

☺ การสร้างนวัตกรรมในการปรบั ปรงุ กระบวนงาน หรอื การใหบ้ รกิ าร (e-Service)
☺ การพฒั นาระบบข้อมูลใหเ้ ปน็ ดิจทิ ัล (Digitize Data) ทัง้ ข้อมูลที่ใชภ้ ายในหนว่ ยงาน และข้อมูลท่ีจะ

เผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพ่ือนำไปสกู่ ารเปิดเผย ขอ้ มูลภาครัฐ (Open Data)
☺ การเช่ือมโยงและแบง่ ปนั ข้อมลู (Sharing Data)
☺ การพัฒนากระบวนการปฏิบตั ิงานโดยการนำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาเปน็ กลไกหลกั ในการดำเนนิ งาน

(Digitalize Process) เพ่อื นำไปสกู่ ารให้บรกิ ารผ่านระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ และการใช้ข้อมลู สารสนเทศ
เพ่อื ประกอบการตัดสนิ ใจ (Decision Making)
7) ให้ความสำคัญกับการพัฒนาองค์การของส่วนราชการสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 โดยนำผลการ
ประเมนิ สถานะของหน่วยงานภาครฐั ในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) มาเป็นส่วนหนึง่ ของการประเมนิ
ศกั ยภาพในการดำเนนิ งานของส่วนราชการ
8) ตวั ช้ีวัดที่มคี วามสำคญั และไมส่ ามารถวดั ผลไดใ้ นรอบปีการประเมนิ จะถูกกำหนดเป็น ตัวช้ีวัด Monitor
โดยให้สว่ นราชการรายงานผลการดำเนินงานมายังสำนกั งาน ก.พ.ร.
9) กำหนดรอบการประเมนิ ปีละ 1 ครั้ง คือ รอบ 12 เดอื น (ต้ังแต่วันท่ี 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันท่ี 30
กนั ยายน 2564)

รายงานผลการดาเนินงานตวั ช้ีวัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติราชการ ๗
ของกรมพฒั นาทด่ี ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

2.2 กรอบและประเด็นการประเมนิ

การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 มกี รอบการประเมนิ ใน 2 องคป์ ระกอบ โดยมปี ระเด็นการประเมิน ดงั น้ี

ตารางท่ี 1 กรอบและประเดน็ การประเมินส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

องค์ประกอบการประเมิน ประเด็นการประเมิน

1. การประเมนิ ประสทิ ธิผลการดำเนินงาน 1.1 ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายสำคัญของ
(Performance Base) รัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วน เช่น การฟื้นฟูเศรษฐกิจ
นำ้ หนกั รอ้ ยละ 70 เป็นต้น มติคณะรัฐมนตรีหรือภารกิจที่ได้รับมอบหมายเป็น
จำนวน 3 - 5 ตวั ช้วี ัด พิเศษ (Agenda KPI)

1.2 ผลการดำเนินงานตามแผนการปฏิรูปประเทศในประเด็น ท่ี
เกยี่ วข้องกบั สว่ นราชการ (บังคับส่วนราชการระดบั กรม)

1.3 ผลการดำเนนิ งานตามนโยบายสำคัญที่เปน็ การบรู ณาการการ
ดำเนินงานรว่ มกันหลายหน่วยงาน (Joint KPIs) เช่น อุบตั ิเหตุ
ทางถนน ป่าไม้ ขยะ อากาศ คุณภาพแหลง่ นำ้ เป็นตน้

1.4 ผลการดำเนินงานตามภารกิจพื้นฐาน งานประจำ งานตาม
หนา้ ที่ ความรบั ผดิ ชอบหลกั งานตามกฎหมาย กฎ หรือภารกจิ
ในพ้ืนท/่ี ท้องถิน่ ภูมภิ าค จงั หวดั กลุ่มจังหวัด (Function KPI
/ Area KPI)

2. การประเมินศักยภาพในการดำเนินงาน 2.1 ผลการพฒั นาศกั ยภาพองคก์ ารสกู่ ารเปน็ ระบบราชการ 4.0
(Potential Base) 2.1.1 การพฒั นาองค์การสูด่ จิ ทิ ลั (น้ำหนกั ร้อยละ 15)
นำ้ หนักรอ้ ยละ 30 - การสรา้ งนวัตกรรมในการปรบั ปรงุ กระบวนงาน หรอื
จำนวน 1 ตวั ช้วี ัด การให้บริการ (e-Service)
- การพฒั นาระบบขอ้ มลู ให้เปน็ ดจิ ทิ ลั (Digitize Data)
ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูลที่จะ
เผยแพรส่ หู่ น่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพอ่ื นำไปสู่
การเปิดเผย ข้อมลู ภาครัฐ (Open Data)
- การเช่อื มโยงและแบ่งปนั ข้อมลู (Sharing Data)
- การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานโดยการนำ
เทคโนโลยี ดิจิทัลมาเป็นกลไกหลักในการดำเนินงาน
(Digitalize Process) เพื่อนำไปสู่การให้บริการผ่าน
ระบบ อิเล็กทรอนิกส์ และการใช้ข้อมูลสารสนเทศ
เพื่อประกอบ การตดั สนิ ใจ (Decision Making)
2.1.2 การประเมนิ สถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบ
ราชการ 4.0 (PMQA 4.0) (นำ้ หนักรอ้ ยละ 15)



รายงานผลการดาเนนิ

3.1 ความเช่ือมโยงยทุ ธศาสตร์ระดบั

นงานตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ ๙
ของกรมพฒั นาทีด่ ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

บชาติกับ ตัวชวี้ ัดของกรมพฒั นาทีด่ นิ

รายงานผลการดาเนิน

3.2 สรปุ ตวั ชี้วัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ
ประจำปีงบประม

ลำดับ ตัวช้ีวัด นำ้ หนกั ความเชื่อมโยง

การประเมนิ ประสทิ ธผิ ลการดำเนนิ งาน (Performance Base) (รอ้ ยละ 7

1 ผลการดำเนนิ งานตามแนวทาง 15 • แผนแมบ่ ทด้านการเก
ส่งเสรมิ การเกษตรแปลงใหญ่
ด้านการเตบิ โตอยา่ งย

(ข้าว พืช ปศสุ ตั ว์ ประมง • แผน 12 ยุทธศาสตร

หม่อนไหม) ทางเศรษฐกจิ และการ

โดยวัดประสทิ ธิภาพการ • แผน 12 ยุทธศาสตร
กบั สง่ิ แวดล้อมเพ่ือกา
ดำเนินงานในตวั ชว้ี ัดยอ่ ย 4 ตวั
ได้แก่ • นโยบายรัฐบาล การพ
- ร้อยละของต้นทนุ การผลิต
และความสามารถในก
ทล่ี ดลง ทรพั ยากรธรรมชาติ แ

- ร้อยละของผลผลิตสนิ คา้ เพอื่ การสรา้ งการเตบิ โ

เกษตรทเ่ี พมิ่ ข้ึน แก้ปัญหาในการดำรง

- ร้อยละของแปลงท่ีไดร้ าคา

ผลผลิตเพมิ่ ขน้ึ

- ร้อยละของแปลงใหญท่ ่ี

ไดร้ ับการรับรองคณุ ภาพ

และมาตรฐานการผลติ

นงานตวั ช้ีวดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ๑๐
ของกรมพัฒนาทีด่ ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ภาพในการปฏบิ ตั ิราชการ ของกรมพฒั นาท่ดี ิน
มาณ พ.ศ. 2564

งกบั แผนระดบั ตา่ งๆ หน่วยงานท่ี หน่วยงาน
รับผดิ ชอบหลัก สนับสนนุ

70) (4 ตัวชี้วดั )

กษตร ด้านเศรษฐกิจฐานราก กข. กสก. ปศ. ปม. สป.กษ. พด. สศก.
ยงั่ ยืน และ มม. มกอช. วก. ชป. สปก.

รท์ ี่ 3 การสรา้ งความเขม้ แขง็ ฝล. กตส. กสส.
รแขง่ ขันไดอ้ ยา่ งย่ังยืน

รท์ ี่ 4 การเตบิ โตทเ่ี ป็นมิตร
ารพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื

พัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก

การแข่งขัน การฟ้นื ฟู
และการรกั ษาสิง่ แวดล้อม
โตอยา่ งยง่ั ยนื และการ

งชวี ิตของประชาชน

รายงานผลการดาเนนิ

ลำดบั ตัวชี้วัด นำ้ หนัก ความเชื่อมโยง

2 การพฒั นามาตรฐานข้อมลู 10 • แผนแม่บท การบรกิ
กลาง (Data Standard ) ประสทิ ธิภาพภาครัฐ
ข้อมลู บคุ คลของฐานขอ้ มลู
ทะเบยี นเกษตรกร • แผน 12 ยทุ ธศาสตร
ทางเศรษฐกิจและแข

• นโยบายรฐั บาล การ
และพฒั นานวัตกรรม

3 รายไดเ้ งินสดสทุ ธทิ าง 15 • แผนแมบ่ ท ดา้ นการ
การเกษตรของเกษตรกรเฉล่ยี ฐานราก
ตอ่ ครัวเรอื นเพ่ิมข้ึน (บาท/
ครวั เรือน/ป)ี • แผน 12 ยุทธศาสต
ทางเศรษฐกิจและแข

• นโยบายของรัฐบาล
ดำรงชีวิตขอประชาช
ความเข้มแข็งจากฐา

• แผนปฏริ ปู ประเทศ ด
(เกษตรมูลค่าสงู )

4 พน้ื ที่เกษตรกรรมทีไ่ ม่เหมาะสม 30 • ยุทธศาสตร์ชาติที่ 2

ได้รบั การปรบั เปลีย่ นกจิ กรรม การแขง่ ขนั

การผลิต • แผนแมบ่ ท 3 การเก

• แผนยอ่ ยที่ 6 การพฒั

นงานตัวชว้ี ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ๑๑
ของกรมพฒั นาทด่ี นิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

งกับแผนระดบั ตา่ งๆ หน่วยงานท่ี หนว่ ยงาน
รบั ผิดชอบหลกั สนับสนนุ
การประชาชนและ
ฐ สศก. สป.กษ. พด. มกอช.
ร์ 3 การสร้างความเขม้ แข็ง วก. ชป. สปก. ฝล.
ข่งขันได้อยา่ งย่งั ยนื กตส. กสส. กข. กสก.
รให้ความช่วยเหลอื เกษตรกร ปม. ปศ. และ มม.

สศก. สป.กษ. พด. มกอช.
เกษตร ดา้ นเศรษฐกจิ วก. ชป. สปก. ฝล.
กตส. กสส. กข. กสก.
ตร์ 3 การสร้างความเขม้ แข็ง ปม. ปศ. และ มม.
ขง่ ขนั ได้อย่างย่ังยืน
การแกไ้ ขปญั หาในการ
ชน และการพฒั นาสรา้ ง
านราก
ด้านเศรษฐกจิ

การสรา้ งความสามารถใน พด. -

กษตร
ฒนาระบบนเิ วศการเกษตร

รายงานผลการดาเนิน

ลำดับ ตวั ชวี้ ดั นำ้ หนัก ความเชอื่ มโยง

การประเมินศักยภาพในการดำเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30) (2

5 การพัฒนาศกั ยภาพองค์การสกู่ ารเปน็ ระบบราชการ 4.0

5.1 การพฒั นาองค์การสู่ดจิ ิทลั : 15 • ยทุ ธศาสตรช์ าติที่ 6
การพฒั นา e-Service งาน ระบบการบรหิ ารจดั ก
บริการวเิ คราะหด์ ินใน
หนว่ ยงานภูมิภาค • แผนแมบ่ ท 20 การบ
ประสิทธิภาพภาครัฐ
5.2 การประเมินสถานะของ
หนว่ ยงานในการเป็นระบบ • แผนยอ่ ยท่ี 6 การพฒั
ราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
15 • ยทุ ธศาสตร์ชาติท่ี 6
ระบบการบรหิ ารจัดก

• แผนแม่บท 20 การบ
ประสทิ ธิภาพภาครัฐ

• แผนย่อยที่ 6 การพฒั
ภาครัฐ

นงานตัวช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติราชการ ๑๒
ของกรมพฒั นาทด่ี ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

งกบั แผนระดบั ต่างๆ หนว่ ยงานที่ หน่วยงาน
2 ตวั ชีว้ ดั ) รับผดิ ชอบหลัก สนับสนนุ

การปรบั สมดลุ และพฒั นา พด. -
การภาครัฐ พด. -
บรกิ ารประชาชนและ

ฒนาบริการประชาชน

การปรบั สมดลุ และพฒั นา
การภาครฐั
บริการประชาชนและ

ฒนาระบบบรหิ ารงาน





รายงานผลการดาเนิน

4.1 สรุปผลการดำเนนิ งานตามมาตรการปรับปรุงปร
ประจำปงี บประม

ตัวชว้ี ดั น้ำหนัก เปา้ หมา
(ร้อยละ) ขั้นตน้ มาตรฐาน
(75 คะแน
(50 คะแนน)

1. การประเมนิ ประสิทธผิ ลการดำเนินงาน (Performance Base) (รอ้ ยละ 7

ตัวชว้ี ดั ที่ 1 ผลการดำเนนิ งาน 15 รบั ค่าคะแนนเฉล่ยี จากผลการด
ตามแนวทางส่งเสรมิ การเกษตร (กข. กสก. ปศ. ปม. และ มม.)
แปลงใหญ่ (ข้าว พืช ปศสุ ัตว์ การดำเนนิ งานในตัวชีว้ ดั ยอ่ ย 4
ประมง หม่อนไหม) -รอ้ ยละของต้นทุนการผลิตทล่ี ด
-ร้อยละของผลผลติ สนิ ค้าเกษต

-รอ้ ยละของแปลงท่ไี ดร้ าคาผลผ
-ร้อยละของแปลงใหญ่ท่ไี ดร้ บั ก
มาตรฐานการผลติ

นงานตวั ชีว้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติราชการ ๑๔
ของกรมพฒั นาท่ีดนิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ระสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ของกรมพัฒนาทด่ี ิน
มาณ พ.ศ. 2564

าย ผลการดำเนินงาน

น ขนั้ สงู
นน) (100 คะแนน)
70) (4 ตัวช้ีวดั )

ดำเนินงาน 5 กรมหลัก รอ้ ยละของตน้ ทนุ การผลติ ทลี่ ดลง
โดยวัดประสิทธภิ าพ - กข. รอ้ ยละ 8.65
4 ตัว ได้แก่ - กสก. รอ้ ยละ14.87
ดลง - ปม. ร้อยละ9.15
ตรท่เี พม่ิ ขน้ึ - ปศ. รอ้ ยละ 11.92
ผลิตเพมิ่ ข้ึน - มม. ร้อยละ 12.89
การรบั รองคณุ ภาพและ รอ้ ยละของผลผลติ สนิ คา้ เกษตรทีเ่ พม่ิ ขน้ึ
- กข. รอ้ ยละ 8.85
- กสก. รอ้ ยละ 21.05
- ปม. รอ้ ยละ 10.40
- ปศ. ร้อยละ 45.01
- มม. รอ้ ยละ 12.69
ร้อยละของแปลงที่ไดร้ าคาผลผลิตเพ่ิมขึน้
- กข. รอ้ ยละ 3.14
- กสก. รอ้ ยละ 10.26
- ปม. รอ้ ยละ 9.66
- ปศ. ร้อยละ 23.37

รายงานผลการดาเนนิ

ตัวชี้วดั นำ้ หนัก เป้าหมา
(รอ้ ยละ) ขนั้ ต้น มาตรฐาน
(75 คะแน
(50 คะแนน)

ตวั ช้วี ดั 2 การพัฒนามาตรฐาน 10 จดั ทำกรอบ เสนอกรอบ
ขอ้ มูลกลาง (Data Standard ) Data Data
ข้อมลู บคุ คลของฐานขอ้ มูล Standard Standard ข
ทะเบียนเกษตรกร ของฐานขอ้ มลู ฐานข้อมลู
ทะเบียน ทะเบยี น
เกษตรกร เกษตรกร
ต่อคณะ

กรรมการฯ
เกีย่ วขอ้ งให
ความเหน็ ชอ

นงานตวั ชีว้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ ๑๕
ของกรมพัฒนาทีด่ ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

าย ผลการดำเนนิ งาน
น ข้ันสูง
นน) (100 คะแนน)

- มม. รอ้ ยละ 7.19
รอ้ ยละของแปลงใหญ่ทไ่ี ด้รบั การรบั รองคณุ ภาพ
และมาตรฐานการผลติ
- กข. รอ้ ยละ 78.38
- กสก. รอ้ ยละ 88.89
- ปม. รอ้ ยละ 100
- ปศ. ร้อยละ 41.85
- มม. รอ้ ยละ 0

บ กระทรวง รายงานการใช้ประโยชน์จากฐานขอ้ มลู กลางข้อมลู
เกษตรฯ บุคคลของฐานข้อมูลทะเบยี นเกษตรกร ภายหลังการ

ของ ประกาศใช้ ปรับปรงุ อย่างน้อย 3 รปู แบบ
ล Data Standard (อ้างองิ การใชป้ ระโยชน์ทะเบยี นเกษตรกร ตามที่
น และใหบ้ รกิ าร กระทรวงระบ)ุ
ร ตรวจสอบ

สถานะการขนึ้
ฯ ที่ ทะเบียน
ห้ เกษตรกรกบั
อบ หนว่ ยงาน

ภายนอก

รายงานผลการดาเนิน

ตัวชว้ี ดั น้ำหนกั เปา้ หมา
(รอ้ ยละ) ขั้นตน้ มาตรฐาน
(75 คะแน
(50 คะแนน)

ตัวชีว้ ดั 3 รายไดเ้ งนิ สดสทุ ธทิ าง 15 59,460 65,073.5
การเกษตรของเกษตรกรเฉล่ีย
ตอ่ ครวั เรอื นเพ่ิมขน้ึ (บาท/
ครวั เรือน/ปี)

ตัวชี้วดั 4 พ้นื ที่เกษตรกรรมที่ไม่ 30 63,900 ไร่ 90,000 ไร
เหมาะสมได้รับการปรบั เปลย่ี น
กจิ กรรมการผลติ

2. การประเมนิ ศกั ยภาพในการดำเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)

ตวั ชว้ี ัด 5 การพฒั นาศกั ยภาพองคก์ ารส่กู ารเปน็ ระบบราชการ 4.0

5.1) การพฒั นา e-Service 15 ยื่นเรอ่ื ง/ย่นื คำ ยื่นเรอ่ื ง/ยืน่
งานบริการวเิ คราะหด์ นิ ใน ขอและเอกสาร ขอทางออนไ
หนว่ ยงานภูมภิ าค
ประกอบ (e-form)
เปน็ กระดาษ แต่ยังไม่
โดยประชาชน สามารถแน
ไม่ตอ้ งเดินทาง เอกสารมา

นงานตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการ ๑๖
ของกรมพัฒนาท่ดี นิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

าย ผลการดำเนินงาน
น ขั้นสงู 79,486
นน) (100 คะแนน)
50 70,687.33

ร่ 90,000 ไร่ พนื้ ที่เกษตรกรรมทไี่ ม่เหมาะสม ได้รับการ
และมผี ลประเมนิ ปรับเปลี่ยนกจิ กรรมการผลิตเปน็ เกษตรผสมผสาน
แปลงปี 2562 แล้ว จำนวน 93,297 ไร่ และภายหลังปรบั เปลย่ี น
มีผลผลิตและ พื้นท่ีปี ๒๕๖๒ เกษตรกรร้อยละ 93.40 มีรายได้
รายไดเ้ พมิ่ ขน้ึ สทุ ธิเพมิ่ ขนึ้ มากกวา่ รอ้ ยละ 10

) (2 ตวั ช้ีวัด)

นคำ มรี ะบบยนื่ เรอ่ื ง/ ยืน่ เร่ือง/ยน่ื คำขอทางออนไลน์ (e-from) ที่
ไลน์ ยน่ื คำขอทาง ประชาชนมีความปลอดภัย รกั ษาข้อมลู ส่วนบคุ คล
) ออนไลน์ และแนบเอกสารประกอบการพจิ ารณาได้

(e-form) ท่ี
นบ ประชาชนมีความ
า ปลอดภยั รักษา

รายงานผลการดาเนนิ

นำ้ หนัก เปา้ หมา
(ร้อยละ)
ตวั ชวี้ ดั 15 ข้ันตน้ มาตรฐาน
(50 คะแนน) (75 คะแน
5.2) การประเมนิ สถานะของ
หนว่ ยงานในการเป็นระบบ มาตดิ ต่อ ณ พรอ้ มกัน
ราชการ 4.0 (PMQA 4.0) สำนกั งาน เช่น ผา่ นระบบไ

จัดส่งทาง โดยให้
ไปรษณยี ์ ประชาชนจัด
อเี มล์ เปน็ ตน้
แยกมาใน
รปู แบบ
scan file

370 415.91
คะแนน คะแนน
(ค่าเฉลย่ี (คะแนนป
คะแนนกลุ่ม 2563)
ที่3 351-
399 คะแนน)

นงานตวั ชี้วดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ๑๗
ของกรมพฒั นาทีด่ นิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

าย ผลการดำเนนิ งาน

น ขน้ั สงู 429.79
นน) (100 คะแนน) คะแนน

น ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล
ได้ และแนบเอกสาร

ประกอบ
ดสง่ การพจิ ารณาได้


e

1 424.23
คะแนน

ปี (คะแนนปี
2563 + 2%)

รายงานผลการดาเนนิ งานตวั ชวี้ ัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ ๑๘
ของกรมพัฒนาทดี่ ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานผลการปฏิบตั ริ าชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการ
กรมพัฒนาท่ีดนิ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนนิ งาน รอบ 12 เดอื น 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564

ช่ือตวั ชีว้ ัดท่ี ๒ : การพฒั นามาตรฐานขอ้ มลู กลาง (Data Standard) ขอ้ มูลบคุ คลของฐานขอ้ มลู ทะเบยี นเกษตรกร

ผูก้ ำกับดูแลตวั ชี้วดั : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ผู้จดั เก็บขอ้ มลู ตัวชว้ี ัด : ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร
โทรศัพท์ : 02-5797740 ศูนยข์ อ้ มลู เกษตรแห่งชาติ สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

โทรศัพท์ : 02-5797740

คำอธบิ าย :

1. การพัฒนามาตรฐานข้อมูลกลางของฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร เป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อน
ฐานข้อมูล Big Data ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดทำมาตรฐานของทะเบียน
เกษตรกร เพื่อแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานที่ผ่านมาจากโครงการเยียวยา ที่ข้อมูลทะเบียนเกษต รกรมาจากต่าง
หน่วยงาน และคนละมาตรฐาน จึงทำให้การนำข้อมูลไปใช้มีความล่าช้าในการแปลงข้อมลู และไม่มีประสิทธิภาพใน
การนำไปวางแผนนโยบายและมาตรการตา่ ง ๆ ได้

2. นิยาม : มาตรฐานขอ้ มูล หมายถึง กฎเกณฑ์และแนวทางในการกำหนดรูปแบบและการนิยามข้อมูลท่ีใช้
ร่วมกัน เพื่ออำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ และทำให้ผู้ใช้ข้อมลู และผู้ท่ี
เกี่ยวข้องสื่อสารและเข้าใจความหมายของข้อมูลตรงกัน การจัดทำมาตรฐานข้อมูลขึ้นนี้ ต้องมาจากความเห็นพ้อง
ต้องกัน และได้รับความเห็นชอบจากองค์กรหรือคณะกรรมการที่รับผิดชอบในการดูแลกำกับการจัดทำมาตรฐาน
แห่งชาติและการนำไปใช้ (อ้างอิง สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดจิ ทิ ลั
เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม (สดช.))

ขอ้ มลู ผลการดำเนินงาน :

ขอ้ มูลพ้ืนฐานประกอบตัวชว้ี ัด หน่วยวดั ผลการดำเนนิ งานในอดีต ปงี บประมาณ พ.ศ.

การพฒั นามาตรฐานข้อมูลกลาง (Data Standard) 2561 2562 2563
ข้อมลู บคุ คลของฐานข้อมลู ทะเบยี นเกษตรกร
คะแนน - - -

รายงานผลการดาเนนิ งานตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัติราชการ ๑๙
ของกรมพัฒนาท่ีดนิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานผลการปฏบิ ัตริ าชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติราชการ
กรมพัฒนาท่ีดิน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนนิ งาน รอบ 12 เดอื น 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน :

เปา้ หมายขน้ั ตน้ เป้าหมายมาตรฐาน เปา้ หมายขน้ั สูง

(50) (๗๕) (๑๐0)

กรอบ Data Standard ของ กระทรวงเกษตรฯ รายงานการใช้ประโยชน์จากฐานขอ้ มลู กลาง
ฐานข้อมูลทะเบยี นเกษตรกร
ได้รับความเหน็ ชอบจากคณะ ประกาศใช้Data Standard และ ขอ้ มูลบุคคลของฐานขอ้ มลู ทะเบยี น

กรรมการฯ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง ให้บรกิ ารตรวจสอบสถานะ การ เกษตรกร ภายหลงั การปรบั ปรงุ อย่างนอ้ ย

ขนึ้ ทะเบียนเกษตรกรกบั 3 รปู แบบ (อ้างองิ การใช้ประโยชนท์ ะเบียน

หนว่ ยงานภายนอก เกษตรกร ตามที่กระทรวงระบุ)

การคำนวณคะแนนจากผลการดำเนินงาน :

ตัวช้ีวดั /ขอ้ มลู พื้นฐานประกอบ นำ้ หนกั ผลการดำเนนิ งาน ค่าคะแนน
ท่ีได้
ตัวชวี้ ดั (ร้อยละ)

การพฒั นามาตรฐานข้อมลู กลาง (Data ๑0 รายงานการใชป้ ระโยชน์จากฐานขอ้ มลู 5
Standard) ข้อมลู บุคคลของฐานขอ้ มลู กลางข้อมลู บุคคลของฐานข้อมูล
ทะเบียนเกษตรกร ทะเบียนเกษตรกร ภายหลงั การปรบั ปรงุ
อยา่ งน้อย 3 รปู แบบ (อ้างอิงการใช้
ประโยชนท์ ะเบยี นเกษตรกร ตามท่ี
กระทรวงระบ)ุ

เงื่อนไข :

1. จัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด แสดงโครงสร้างฐานข้อมูลตาม Data Standard รูปแบบการใช้งานระบบ ก่อน-หลัง
การปรบั ปรุงข้อมลู ภาพรวมของข้อมลู โดยขอใหจ้ ัดส่งมายังสำนกั งาน ก.พ.ร.

2. จัดทำรายงานผลการใช้ประโยชน์จากฐานขอ้ มูลกลางที่ไดม้ กี ารปรับปรุงมาตรฐานข้อมูลกลางแล้ว โดยให้ระบุวา่
นำไปใช้ในรปู แบบใด โดยหนว่ ยงานใด รวมถงึ รายงานผลการตรวจสอบสถานะ การขนึ้ ทะเบยี นเกษตรกรกบั หน่วยงานภายนอก
มาพร้อมการรายงานประเมินผลตนเอง 15 ตลุ าคม 2564

รายงานผลการดาเนินงานตัวชว้ี ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ ๒๐
ของกรมพัฒนาท่ดี ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานผลการปฏบิ ัตริ าชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
กรมพฒั นาที่ดนิ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนนิ งาน รอบ 12 เดือน 1 ตลุ าคม 2563 – 30 กนั ยายน 2564
3. หากส่วนราชการไม่ได้ดำเนนิ การในเงอ่ื นไขใด จะพจิ ารณาปรับลดคะแนน ขอ้ ละ 12.5 คะแนน

คำชี้แจงการปฏิบัตงิ าน/มาตรการทีไ่ ดด้ ำเนนิ การ:
ไมม่ ี

ปัจจัยสนบั สนนุ ตอ่ การดำเนนิ งาน :
ไม่มี

อุปสรรคตอ่ การดำเนินงาน :
ไมม่ ี

หลกั ฐานอ้างอิง :
1. หนงั สือ ด่วนทสี่ ุด ท่ี กษ 0303/ว2244 ลงวันท่ี 27 กนั ยายน 2564 เรื่องมาตรฐานข้อมลู กลาง (Data
Standard) ขอ้ มลู บคุ คลของฐานข้อมลู ทะเบยี นเกษตรกรกลาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2. มาตรฐานข้อมลู กลาง (Data Standard) ขอ้ มลู บคุ คลของฐานข้อมูลทะเบยี นเกษตรกร

รายงานผลการดาเนินงานตวั ชวี้ ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ๒๑
ของกรมพัฒนาท่ดี ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานผลการปฏิบัตริ าชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
กรมพฒั นาท่ีดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนินงาน รอบ 12 เดอื น 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564

ช่อื ตัวช้ีวัดท่ี ๓ : รายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรของเกษตรกรเฉลีย่ ต่อครัวเรอื นเพมิ่ ขน้ึ

ผกู้ ำกบั ดแู ลตัวช้วี ดั : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร ผูจ้ ัดเก็บข้อมลู ตวั ชี้วดั : ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร
สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

โทรศัพท์ : 02-5797740 โทรศัพท์ : 02-5797740

คำอธบิ าย :

1. รายไดเ้ งนิ สดทางการเกษตรของเกษตรกรเฉล่ียตอ่ ครวั เรอื นเพิ่มข้ึน หมายถงึ รายได้เงินสดจากผลผลิต ผล
พลอยได้และสง่ิ อน่ื ใดจากกระบวนการผลิตทางการเกษตร ซ่งึ ได้จากการจำหนา่ ย ซ่งึ ประกอบด้วย รายไดเ้ งนิ สดเกษตร
ทางพชื ทางสตั ว์ และเกษตรอน่ื

2. รายจ่ายเงนิ สดทางการเกษตร หมายถึง รายจ่ายที่เป็นเงินสดในการจัดหา (ซื้อ) วัสดุ ปัจจัยการผลติ และ
คา่ จา้ งแรงงานที่ใช้ในกระบวนการการผลติ ทางการเกษตร การปลูกพืช เลยี้ งสตั ว์ และกจิ กรรมอนื่ ทีเ่ กย่ี วกับการเกษตร
ทเ่ี กดิ ข้นึ ในฟารม์ ทัง้ การปลกู พืช เล้ยี งสัตว์ และกจิ กรรมอืน่ ทเี่ ก่ยี วกับการเกษตรที่เกดิ ข้ึนในฟาร์ม

3. รายได้เงนิ สดสุทธิทางการเกษตร หมายถงึ รายไดเ้ งินสดทางการเกษตร หักด้วยรายจ่ายเงนิ สดทางการเกษตร

4. เป้าหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564กำหนดให้
เกษตรกรมีรายไดเ้ งินสดสุทธทิ างการเกษตรเพิม่ ขนึ้ เป็น 59,460 บาทต่อครัวเรือนในปี 2564 ซง่ึ ผลในปี พ.ศ. 2562
เกษตรกรมรี ายได้เงนิ สดสทุ ธทิ างการเกษตร 78,604 บาทตอ่ ครัวเรือน

ข้อมลู ผลการดำเนนิ งาน :

ข้อมลู พน้ื ฐานประกอบตัวช้วี ดั หน่วยวดั ผลการดำเนนิ งานในอดีต ปงี บประมาณ พ.ศ.

รายได้เงนิ สดสทุ ธทิ างการเกษตรของเกษตรกร 2560 2561 2562
เฉลย่ี ตอ่ ครวั เรือนเพิม่ ขึ้น
บาท/ 58,975 74,483 78,604
ครัวเรอื น/ปี (ขอ้ มลู ปี 60) (ขอ้ มลู ปี 61) (ข้อมูลปี 62)

รายงานผลการดาเนนิ งานตัวชวี้ ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติราชการ ๒๒
ของกรมพฒั นาทด่ี นิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานผลการปฏิบตั ิราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติราชการ
กรมพัฒนาท่ดี ิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนินงาน รอบ 12 เดือน 1 ตุลาคม 2563 – 30 กนั ยายน 2564

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

เปา้ หมายขนั้ ตน้ เป้าหมายมาตรฐาน เปา้ หมายข้ันสงู

(50) (๗๕) (๑๐0)

59,460 67,695.73 75,931.46

การคำนวณคะแนนจากผลการดำเนนิ งาน : นำ้ หนัก ผลการดำเนินงาน ค่าคะแนนทไ่ี ด้
(ร้อยละ) 79.486 5
ตัวช้ีวดั /ขอ้ มลู พืน้ ฐานประกอบตวั ชี้วัด
15
รายได้เงินสดสทุ ธทิ างการเกษตรของ
เกษตรกรเฉล่ียตอ่ ครวั เรอื นเพม่ิ ขนึ้

เงื่อนไข :

1. จัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด แสดงโครงสร้างฐานข้อมูลตาม Data Standard รูปแบบการใช้งานระบบ ก่อน-หลงั
การปรบั ปรุงขอ้ มูลภาพรวมของขอ้ มลู โดยขอใหจ้ ดั สง่ มายงั สำนกั งาน ก.พ.ร.

2. จัดทำรายงานผลการใชป้ ระโยชน์จากฐานข้อมลู กลางที่ได้มีการปรับปรุงมาตรฐานข้อมูลกลางแล้ว โดยให้ระบุวา่
นำไปใชใ้ นรูปแบบใด โดยหนว่ ยงานใด รวมถึงรายงานผลการตรวจสอบสถานะ การขน้ึ ทะเบียนเกษตรกรกบั หนว่ ยงานภายนอก
มาพร้อมการรายงานประเมินผลตนเอง 15 ตลุ าคม 2564

3. หากส่วนราชการไมไ่ ดด้ ำเนินการในเง่ือนไขใด จะพจิ ารณาปรับลดคะแนน ขอ้ ละ 12.5 คะแนน

คำช้แี จงการปฏิบตั งิ าน/มาตรการที่ไดด้ ำเนนิ การ:

ไม่มี

รายงานผลการดาเนนิ งานตวั ชวี้ ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการ ๒๓
ของกรมพัฒนาที่ดนิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานผลการปฏิบัตริ าชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ
กรมพฒั นาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนินงาน รอบ 12 เดอื น 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564

ปจั จัยสนับสนนุ ตอ่ การดำเนนิ งาน :
ไมม่ ี

อุปสรรคตอ่ การดำเนนิ งาน :
ไมม่ ี

หลกั ฐานอา้ งองิ :
1. ตาราง สรปุ รายได้ – รายจ่าย และตัวชีว้ ัดเศรษฐกจิ ครัวเรือน

รายงานผลการดาเนนิ งานตวั ชวี้ ัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการ ๒๔
ของกรมพัฒนาที่ดิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานความกา้ วหน้าผลการปฏิบตั ริ าชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
กรมพฒั นาทด่ี นิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนนิ งานรอบ 12 เดือน 1 ตลุ าคม 2563 – 30 กันยายน 2564

ช่ือตวั ชว้ี ดั ที่ ๔ พื้นทีเ่ กษตรกรรมทไี่ ม่เหมาะสมไดร้ บั การปรบั เปลย่ี นกิจกรรมการผลิต (ไร่)

ผ้กู ำกบั ดแู ลตวั ชว้ี ดั : นายสมศักดิ์ สขุ จันทร์ ผู้จดั เกบ็ ขอ้ มลู ตัวชี้วัด : นางวริ ธั กานต์ พุ่มทอง
ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผนการใชท้ ดี่ นิ นักวชิ าการเกษตรชำนาญการพเิ ศษ

โทรศพั ท์ : 02-5792270 โทรศัพท์ : 02-5797589

คำอธบิ าย :

1. พื้นที่เกษตรกรรมที่ไม่เหมาะสม หมายถึง พื้นที่เกษตรกรรมที่มีการปลูกพืชไม่เหมาะสมกบั ศักยภาพ
ของดินในพ้ืนที่ตามแผนท่ีเกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ซึ่งได้กำหนดระดับความเหมาะสมในการ
ปลูกพืชแต่ละชนิดเป็น 4 ระดับ คือ S1 เหมาะสมมาก S2 เหมาะสมปานกลาง S3 เหมาะสมน้อย และ N ไม่
เหมาะสม หรอื หมายถึงพ้นื ทป่ี ลูกพชื เศรษฐกจิ ทีร่ าคาตกต่ำ ผลผลิตล้นความตอ้ งการของตลาด แม้ที่ดนิ เหมาะสมต่อ
การผลติ แตร่ าคาขายผลผลติ ตำ่ ไม่คมุ้ กับการลงทนุ เปน็ ความไม่เหมาะสมในมิติทางเศรษฐกิจ ท้ังน้ี ขอ้ มูลตามแผนท่ี
เกษตรเพ่อื การบริหารจดั การเชิงรกุ (Agri-Map) เปน็ ขอ้ มูลเบอ้ื งตน้ ในการปฏบิ ัติงานจรงิ ในพื้นที่ จำเป็นตอ้ งวิเคราะห์
ปัจจัยร่วมอื่นๆ ในการกำหนดพื้นที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ ความต้องการและความพร้อมของเกษตรกร การตลาด การ
ขนสง่ สภาพสังคมและสิง่ แวดล้อมของพื้นที่ ชุมชน ท้องถน่ิ เป็นตน้

2. การปรบั เปล่ียนกจิ กรรมการผลติ หมายถึง เกษตรกรท่ีปลกู พชื ไมเ่ หมาะสมกบั พน้ื ที่ไดร้ ับคำแนะนำและ
สนับสนุนให้ดำเนินการปรับเปลีย่ นกิจกรรมการผลิตจากเดิมที่ไม่เหมาะสม (N หรือS3) เป็นกิจกรรมการผลิตท่ี
เหมาะสม ไดแ้ ก่ การเสนอทางเลอื กในการผลิตพืชทเี่ หมาะสม หรอื การทำเกษตรผสมผสาน หรือการทำ ปศสุ ัตว์ การ
เล้ียงสตั วน์ ำ้ การปลกู หมอ่ นเล้ยี งไหม เป็นต้น

3. รายได้เพิม่ ข้นึ หมายถึง รายไดจ้ ากการผลติ ที่เกิดจากการปรบั เปลย่ี นพ้นื ท่ี หกั ลบดว้ ยตน้ ทนุ การผลิต

4. ขอบเขตการประเมิน

1) การวัดพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมที่ไมเ่ หมาะสมทไ่ี ด้รบั การปรับเปล่ยี นฯ จะวัดจากแปลงท่ไี ด้รับคำแนะนำและ
สนับสนุนฯ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

2) การวัดรายได้และต้นทนุ การผลิต จะวัดจากแปลงทีไ่ ด้รบั การสง่ เสรมิ และสนับสนุนฯ ในปงี บประมาณ
พ.ศ. 2562 เนื่องจากการสง่ เสริมปรับเปลี่ยนพื้นทีใ่ นปีแรกจะดำเนนิ การในการจัดรูปที่ดินให้เหมาะสมกับพืชชนิด
ใหม่ จงึ ยังไมส่ ามารถประเมินผลผลิตและรายได้ทเ่ี กิดขน้ึ จากพชื ชนิดใหมไ่ ด้

รายงานผลการดาเนินงานตวั ชี้วดั ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ ๒๕
ของกรมพัฒนาทด่ี นิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานความกา้ วหนา้ ผลการปฏบิ ตั ิราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการ
กรมพฒั นาทีด่ ิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนินงานรอบ 12 เดอื น 1 ตลุ าคม 2563 – 30 กันยายน 2564

3) แปลงปี 2562 คอื แปลงทีไ่ ด้รับคำแนะนำและสนับสนนุ ใหด้ ำเนนิ การปรับเปลยี่ นกจิ กรรมการผลติ ฯ
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ซงึ่ จะมีการดำเนนิ การจัดซ้อื และดำเนินการกอ่ นสรา้ งในไตรมาสที่ 3 และ 4 จากนั้นจึง
เริ่มดำเนนิ การเพาะปลกู พืชในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และทำการวดั ผลในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

5. วิธีการเก็บข้อมูล : การตรวจประเมินแปลงปี พ.ศ. 2562 ได้จากการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตาม
หลักการสถติ ิ โดยใชส้ ตู รของ Taro Yamane ซึง่ ขอ้ มูลสามารถเป็นตัวแทนของประชากรทง้ั หมดได้

ขอ้ มลู ผลการดำเนินงาน :

ข้อมูลพน้ื ฐานประกอบตวั ชี้วดั หน่วย ผลการดำเนินงานในอดตี ปงี บประมาณ พ.ศ.

พ้ืนเกษตรกรรมทไี่ มเ่ หมาะสมได้รับการปรบั เปลยี่ น วดั 2561 2562 2563
กจิ กรรมการผลติ (ไร่)
ไร่ 93,054 63,886 107,181

เกณฑ์การใหค้ ะแนน :

เปา้ หมายขัน้ ตน้ เป้าหมายมาตรฐาน เปา้ หมายขนั้ สูง
(50) (๗๕)
(๑๐0)
๗๙,๒๐๐ ไร่ ๙๐,๐๐๐ ไร่
๙๐,๐๐๐ ไร่ และ ร้อยละ ๘๐ ของผลประเมินแปลงปี
๒๕๖๒ มีรายได้เพ่ิมข้นึ หรือตน้ ทนุ การผลิตลดลง
ร้อยละ ๑๐ จากกอ่ นปรบั เปลยี่ นพืน้ ที่

รายงานผลการดาเนนิ งานตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบัติราชการ ๒๖
ของกรมพัฒนาท่ีดนิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานความกา้ วหน้าผลการปฏบิ ัติราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
กรมพฒั นาท่ดี นิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนินงานรอบ 12 เดอื น 1 ตลุ าคม 2563 – 30 กันยายน 2564

การคำนวณคะแนนจากผลการดำเนินงาน :

ตัวช้ีวัด/ขอ้ มูลพ้นื ฐาน นำ้ หนัก ผลการดำเนนิ งาน ค่าคะแนนที่ได้
ประกอบตัวช้วี ัด (รอ้ ยละ)

พน้ื เกษตรกรรมทไ่ี มเ่ หมาะสม 30 พ้นื ทีเ่ กษตรกรรมท่ไี ม่เหมาะสม ได้รับการ 5
ได้รับการปรบั เปล่ียนกจิ กรรม ปรับเปล่ยี นกจิ กรรมการผลติ เป็นเกษตร
การผลิต (ไร่) ผสมผสานแล้ว จำนวน 93,297 ไร่

และภายหลงั ปรับเปลยี่ นพื้นทปี่ ี ๒๕๖๒
เกษตรกรรอ้ ยละ 93.40 มรี ายไดส้ ทุ ธิเพมิ่ ขน้ึ
มากกวา่ ร้อยละ 10

คำชีแ้ จงการปฏิบตั ิงาน/มาตรการทีไ่ ดด้ ำเนินการ:

1) เจา้ หนา้ ท่ีไดต้ รวจสอบขอ้ มูลพื้นทที่ ่ีไมเ่ หมาะสมตามแผนที่ Agri-Map กบั พนื้ ทเี่ ป้าหมาย จำนวน 90,000
ไร่ ที่คดั เลอื กดำเนินการในปี 2564 จำนวน 49 จงั หวัด

2) จดั ประชุมเกษตรกรชแี้ จงวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ เพ่อื ให้ความรแู้ ละทำความเข้าใจกบั เกษตรกรทีจ่ ะเขา้
รว่ มโครงการและเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานตอ่ ไป

3) คัดเลือกเกษตรกรเปา้ หมายเขา้ ร่วมโครงการ จากการรับสมัครเกษตรกรท่มี ีพ้นื ที่ทำการเกษตรอยู่ในพ้ืนท่ี
ไม่เหมาะสม และมีความประสงคจ์ ะเขา้ รว่ มโครงการ

4) วางแผนการผลิตร่วมกบั เกษตรกรท่ีต้องการปรับเปลีย่ นในพ้นื ที่ท่ีไมเ่ หมาะสม โดยออกแบบการจัดระบบ
อนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้ ในพน้ื ทไี่ มเ่ หมาะสมเพื่อปรับเปลยี่ นกิจกรรมการผลติ เป็นเกษตรผสมผสาน

5) สถานพี ัฒนาที่ดนิ 49 จงั หวดั ได้จดั ทำแผนการปรบั เปล่ียนการผลิตพืชในพ้ืนทเี่ กษตรกรรมท่ีไมเ่ หมาะสม
ตามแบบงานจดั ระบบอนุรกั ษ์ดินและน้ำเพอ่ื ปรับเปลยี่ นกจิ กรรมการผลิตในพ้ืนท่ีไมเ่ หมาะสมตาม Agri-Map จำนวน
90,000 ไร่ และเพ่ิมเตมิ 5 จงั หวัด จำนวน 3,297 ไร่ เป็น 50 จังหวัด รวมทง้ั สิน้ 93,297 ไร่

6) สถานีพัฒนาที่ดิน 50 จังหวัด ดำเนินการปรับเปลีย่ นกิจกรรมการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสมตาม Agri-

Map ไปเปน็ เกษตรผสมผสานเสร็จแล้ว จำนวน 93,297 ไร่

รายงานผลการดาเนนิ งานตัวช้วี ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบัติราชการ ๒๗
ของกรมพัฒนาท่ีดนิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานความกา้ วหน้าผลการปฏบิ ัตริ าชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตริ าชการ
กรมพฒั นาท่ีดนิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนินงานรอบ 12 เดอื น 1 ตลุ าคม 2563 – 30 กันยายน 2564

ปจั จยั สนบั สนนุ ต่อการดำเนนิ งาน :

การดำเนินงานปรับเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตในพื้นที่เกษตรกรรมที่ไม่เหมาะสม เป็นการดำเนินงานตาม
ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี และเป็นงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีคณะทำงานขับเคล่ือนการ
บริหารจัดการพื้นทเี่ กษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) โดย มรี องปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เปน็ ประธาน ในสว่ น
ของกรมพัฒนาทด่ี นิ มีคณะกรรมการขับเคลอ่ื นการบรหิ ารจดั การพ้ืนทีเ่ กษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) โดย มอี ธบิ ดี
กรมพัฒนาที่ดินเป็นประธาน และกรมพัฒนาที่ดินได้เห็นถึงความสำคัญ จึงจัดสรรงบประมาณปกติตามแผนงานพื้นท่ี
ดำเนินการ 135,000,000 บาท ครอบคลุมพื้นท่ี 90,000 ไร่ และได้จัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม 2,791,044 บาท
ให้ จ.ยโสธร และ จ.ศรีสะเกษ พื้นท่ี 1,870 ไร่ ต่อมาไดจ้ ดั สรรงบประมาณเพิม่ เตมิ จากงบเหลอื จา่ ย 1,659,000 บาท
ให้ จ.ลพบุรี และ จ.พะเยา พื้นที่ 1,357 ไร่ และอนุมัติงบเหลือจ่ายเพิม่ เติมอกี 105,000 บาท ให้ จ.กาฬสินธุ์ พื้นท่ี
70 ไร่ รวมพ้ืนทดี่ ำเนินการท้งั สิน้ 93,297 ไร่

อปุ สรรคต่อการดำเนินงาน :
ไม่มี

หลกั ฐานอา้ งองิ :

1) การอนมุ ัตงิ บประมาณปกติ ปี 2564 ปรับเปลย่ี นกจิ กรรมการผลติ ในพนื้ ท่ไี ม่เหมาะสมตาม Agri-Map
จำนวน 50 จงั หวดั 90,000 ไร่ (เอกสารแนบ 2)

2) การอนมุ ัตงิ บประมาณเพม่ิ เติม ปี 2564 ปรบั เปลย่ี นกิจกรรมการผลติ ในพนื้ ท่ไี ม่เหมาะสมตาม Agri-Map
จำนวน 2 จงั หวัด (ยโสธร และศรสี ะเกษ) รวม 1,870 ไร่ (เอกสารแนบ 3)

3) การอนมุ ตั งิ บประมาณเพมิ่ เตมิ จากงบเหลอื จา่ ย ปี 2564 ปรบั เปลย่ี นกจิ กรรมการผลิตในพนื้ ทไ่ี มเ่ หมาะสม
ตาม Agri-Mapจำนวน 2 จงั หวัด (ลพบุรี และพะเยา) รวม 1,357 ไร่ (เอกสารแนบ 4)

4) การอนมุ ตั งิ บประมาณเพม่ิ เตมิ จากงบเหลอื จ่าย ปี 2564 ปรบั เปลี่ยนกจิ กรรมการผลิตในพน้ื ทีไ่ ม่เหมาะสม
ตาม Agri-Map จำนวน 1 จงั หวัด (กาฬสนิ ธ)์ุ 70 ไร่ (เอกสารแนบ 5)

5) ผลการดำเนินงานพัฒนาที่ดินเพอ่ื สนบั สนุนการปรบั เปลย่ี นการผลิตในพ้ืนทีไ่ มเ่ หมาะสมตาม Agri-Map ปี
2564 จำนวน 50 จงั หวัด (เอกสารแนบ 6)

6) รายงานโครงการวเิ คราะหผ์ ลตอบแทนทางเศรษฐกจิ ของเกษตรกรทเี่ ข้ารว่ มโครงการปรบั เปล่ยี นการผลติ
ในพ้ืนทีไ่ มเ่ หมาะสม (เอกสารแนบ 7)

รายงานผลการดาเนินงานตัวชี้วัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ ๒๘
ของกรมพัฒนาทด่ี นิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานความกา้ วหน้าผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการ
กรมพฒั นาท่ดี นิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนนิ งานรอบ 12 เดือน 1 ตลุ าคม 2563 – 30 กันยายน 2564

รายงานการถอดบทเรยี นในการบริหารจัดการผลกระทบและการแกไ้ ขปญั หา
ในสภาวะวิกฤตโควดิ -19 (COVID-19)

ประเดน็ รายละเอียด

๑. ปัญหาและอุปสรรคใน ตามนโยบายรัฐบาลให้ลดการพบปะซ่ึงกันและกัน ลดการกระจายของเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019
การดำเนินงานในภาพรวม/ (COVID-19) โดยให้ทำงานที่บา้ น แตใ่ นบางกจิ กรรมที่ไมส่ ามารถทำงานท่ีบ้านได้เลย เนื่องจาก มี
ผลกระทบทไ่ี ด้รับ การทำงานบางอย่างทีต่ อ้ งใชอ้ ุปกรณ์ที่สำนักงาน หรือเจ้าหนา้ ท่ีท่เี ป็นกรรมการควบคมุ งาน และ
ตรวจรับงานก่อสรา้ งระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ มคี วามจำเป็นตอ้ งลงพื้นที่ดูแปลง พบปะหรือตดิ ต่อกับ
เกษตรกร และผู้รับเหมางานก่อสร้างระบบฯ เป็นตน้ จงึ หลกี เล่ยี งไม่ไดท้ ีต่ ้องออกไปพบปะ และจาก
สภาวะวิกฤตดิ ังกล่าวทำใหก้ ารสง่ มอบการดำเนินงานบางพ้ืนท่อี าจมีล่าชา้ บ้าง

๒. การแก้ไขปญั หา/การ 1) กรมฯ ได้ออกหนังสือ ใหป้ ฏิบตั ริ าชการนอกสถานที่ (Work from Home) เพ่ือลดการ
ดำเนินการของหนว่ ยงาน พบปะซง่ึ กนั และกัน ลดการกระจายของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และหากพบมีผู้ตดิ
เพื่อลดผลกระทบ เช้อื ให้รายงาน Timeline สำหรบั ผูท้ ตี่ ิดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของกรมฯ เพ่อื แจง้
แก่เจ้าหน้าที่ทุกคนทราบเพื่อป้องกันการติดเช้ือ และหากผู้ท่ีมีความเส่ยี งสมั ผสั ผตู้ ิดเชื้อใหก้ ักตัวและ
๓. ปัจจยั ความสำเรจ็ ในการ หลกี เลีย่ งการพบปะตามมาตรการปอ้ งกันเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเคร่งครดั
ดำเนินงาน
2) ปรบั รปู แบบการประชุม ผา่ นสื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ Web Conference
๔. ขอ้ เสนอแนะในการ
ดำเนนิ งานเพื่อเตรยี มความ 1) กรมฯมีเครือข่ายเกษตรกรทีเ่ ข้มแข็ง เป็นหมอดนิ อาสา ช่วยประสานการดำเนินงานในพื้นที่
พรอ้ มรบั มือสภาวะวิกฤตทิ ่ี จงึ ชว่ ยลดความเสยี่ งในการเดินทางของเจา้ หน้าที่ในการไปพบปะเกษตรกรได้
อาจเกดิ ขน้ึ ในอนาคต
2) เกษตรกรมีความประสงค์ตอ้ งการปรับเปลี่ยนพน้ื ที่อยแู่ ลว้ จำนวนมาก จึงสามารถ
ดำเนนิ การไดเ้ พ่มิ ขึ้น ในสภาวะวิกฤตท่ีภาคเศรษฐกิจอ่ืนซบเซา แตภ่ าคการเกษตรยงั คงสามารถ
ดำเนนิ ตอ่ ไดใ้ นบางกิจกรรมทีม่ ีความเสยี่ งน้อย

3) การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาในการจดั ประชุมเจ้าหน้าที่และการบริหารจดั การภายใน
การปรบั แผน และรปู แบบการดำเนินงานใหม่

ควรพัฒนาระบบท่ีรองรบั การดำเนินงาน Work from Home ใหท้ ันสมัยและอำนวยความ

สะดวกแก่เจา้ หน้าที่และเกษตรกร รวมทัง้ สนับสนุนอุปกรณ์และเทคโนโลยที ่ีจำเป็นต่อการ

ปฏบิ ัตงิ าน

รายงานผลการดาเนนิ งานตวั ชว้ี ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ ๒๙
ของกรมพัฒนาทีด่ ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานผลการปฏิบตั ิราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตริ าชการ
กรมพัฒนาที่ดนิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนนิ งาน รอบ 12 เดอื น 1 ตลุ าคม 2563 – 30 กันยายน 2564

ชือ่ ตัวช้ีวดั ท่ี ๕.๑ : การพฒั นาองค์การส่ดู ิจทิ ลั : ตรวจสอบดนิ เพื่อการเกษตรในหน่วยงานภมู ภิ าค

ผู้กำกบั ดูแลตวั ชีว้ ัด : นางสาวสมุ ติ รา วฒั นา ผู้จดั เก็บขอ้ มลู ตัวชว้ี ัด : นายจิราวฒุ ิ เวยี งวงษ์งาม
ผู้อำนวยการสำนกั วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการพฒั นาทีด่ ิน ผอ.มาตรฐานและพฒั นาระบบการวิเคราะห์ดิน

โทรศัพท์ : 02-5613521 โทรศัพท์ : 02-5612784

คำอธบิ าย :

ระบบบริหารจัดการผลวิเคราะหด์ ิน (Soil Analysis Management System) ในการยื่นคำขอผ่าน
ระบบออนไลน์ พฒั นาเฉพาะหนว่ ยงานส่วนกลาง (สำนักวิทยาศาสตรเ์ พ่อื การพัฒนาท่ดี ิน) เพ่อื ให้เกษตรกรสามารถ
ยื่นคำขอรับบริการ ติดตามและจัดการการวิเคราะห์ดิน น้ำ พืช ปุ๋ย และสิ่งปรับปรงุ ดนิ โดยผู้ขอรับบริการสามารถ
ตรวจสอบผล และติดตามผลวิเคราะห์ได้ ซึ่งสามารถนำผลวิเคราะห์ไปกำหนด และวางแผนการเพาะปลูกของ
เกษตรกรในแต่ละฤดูกาลได้อย่างทันท่วงที เพื่อการลดขั้นตอนการติดต่อกับหน่วยงานภาครัฐ ลดการใช้ทรัพยากร
กระดาษเป็นศูนย์ การดำเนนิ งานต่าง ๆ ผ่านเวบ็ ไซด์ เพิ่มความรวดเรว็ ในการติดตอ่ ตอบสนองความต้องการของผู้มา
ติดต่อการขอใช้บริการในสายงานตา่ ง ๆ โดยมีรูปแบบการใหบ้ ริการที่ครอบคลุม และเบ็ดเสร็จในตัวเอง ผู้ใช้บริการ
เขา้ ถึงการใหบ้ ริการไดง้ ่าย

รายละเอียดของกิจกรรมหรือการดำเนินงาน : กรมพัฒนาที่ดิน มีหน้าที่ให้บริการวิเคราะห์ดิน
ซึ่งผู้รับบริการสามารถขอรับบริการได้ทั้งส่วนกลาง (สำนักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ ดิน) และส่วนภูมิภาค
(สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12) ปัจจุบันระบบบริหารจัดการผลวิเคราะห์ดิน (Soil Analysis Management
System) มีการพฒั นาและให้บรกิ ารเฉพาะหน่วยงานส่วนกลาง (สำนักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาท่ีดิน) ดังนั้น เพือ่
พัฒนาระบบการให้บริการยืนคำขอออนไลน์ครอบคลุมทั่วประเทศ ผู้ขอรับบริการสามารถดำเนินการได้ที่บ้านหรือ
ท่ที ำงาน เชน่ การจดั การรบั สมคั รสมาชิกและยืนยันตวั ตน การย่นื คำขอวิเคราะห์ตรวจสอบสง่ ตัวอยา่ ง การรายงานผล
การตรวจสอบผล และอืน่ ๆ กรมฯ จึงขยายบริการตรวจสอบดนิ เพื่อการเกษตรผ่านระบบออนไลน์ไปยัง ส่วนภูมิภาค
(สำนกั งานพัฒนาทด่ี ินเขต 1-12)

รายงานผลการดาเนินงานตัวช้วี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการ ๓๐
ของกรมพฒั นาที่ดิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานผลการปฏิบัตริ าชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตริ าชการ
กรมพฒั นาที่ดิน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนินงาน รอบ 12 เดือน 1 ตุลาคม 2563 – 30 กนั ยายน 2564

ข้อมลู ผลการดำเนินงาน :

ขอ้ มูลพ้ืนฐานประกอบตัวชีว้ ดั หนว่ ยวดั ผลการดำเนินงานในอดตี ปงี บประมาณ พ.ศ.

การพัฒนาองคก์ ารสู่ดจิ ทิ ลั : ตรวจสอบดนิ เพือ่ 2560 2561 2562
การเกษตรในหนว่ ยงานภูมิภาค
ระดับ - - -

เกณฑ์การให้คะแนน

เปา้ หมายข้นั ตน้ เปา้ หมายมาตรฐาน เป้าหมายขน้ั สูง

(50) (๗๕) (๑๐0)

ย่ืนเร่อื ง/ยื่นคำขอและเอกสาร ย่ืนเรือ่ ง/ย่นื คำขอทางออนไลน์ ยื่นเร่อื ง/ยน่ื คำขอทางออนไลน์
ประกอบเปน็ กระดาษ โดย (e-from) แตย่ ังไมส่ ามาถแนบ (e-from) ท่ปี ระชาชนมีความ
ประชาชนไม่ตอ้ งเดินทางมาตดิ ตอ่ เอกสารมาพร้อมกันผา่ นระบบได้ ปลอดภัย รกั ษาขอ้ มลู สว่ นบคุ คล
ณ สำนกั งาน เช่น จดั ส่งทาง โดยใหป้ ระชาชนจัดสง่ แยกมาใน และแนบเอกสารประกอบการ
ไปรษณีย์ อเี มล์ เปน็ ต้น
รปู แบบ scan file พจิ ารณาได้

เงอ่ื นไข /แนวทางดำเนนิ งาน

แนวทางการดำเนินงาน การพฒั นา e-Service ตรวจสอบดนิ เพ่ือการเกษตรในหน่วยงานภูมิภาค

1. สวด. ดำเนินการ ดงั น้ี
1.1 จัดทำแผนงาน/โครงการ การพฒั นาระบบ e-Service เสนอกรม

1.2 กำหนดขอบข่ายการให้บริการตรวจสอบดินเพอื่ การเกษตร ในแตล่ ะพ้ืนท่ี (สพข. 1-12)

1.3 จดั ทำค่มู ือและจัดประชมุ ชี้แจงซกั ซ้อมความเข้าใจกบั สพข. 1-12 เร่ือง การใหบ้ ริการตรวจสอบดินผา่ น
website

รายงานผลการดาเนินงานตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ ๓๑
ของกรมพฒั นาท่ดี ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานผลการปฏิบัติราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการ
กรมพฒั นาท่ดี นิ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนนิ งาน รอบ 12 เดือน 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564

1.4 ขยายขอบข่ายการใหบ้ รกิ ารตรวจสอบดินเพอื่ การเกษตรในหน่วยงานภูมิภาคให้ (สพข. 1-12) สามารถ
รองรบั การใหบ้ รกิ าร

1.5 ประชาสมั พนั ธ์ใหผ้ ูร้ บั บริการใช้ระบบ e -Service งานบริการตรวจสอบดนิ เพอ่ื การเกษตรในหน่วยงาน
ภูมภิ าค

2. ศทส. ดำเนินการตรวจสอบอุปกรณ์แมข่ า่ ยเพ่ือรองรบั การใหบ้ รกิ ารผา่ น online ของ สพข. 1-12
3. กรมพจิ ารณา แผนงาน/โครงการ การพฒั นาระบบ e –Service เพ่อื ให้ สวด. ดำเนนิ การใหบ้ ริการระบบ
e-Service

การคำนวณคะแนนจากผลการดำเนินงาน :

ตัวชี้วดั /ข้อมลู พืน้ ฐาน นำ้ หนัก ผลการดำเนินงาน ค่าคะแนน
ประกอบตัวชว้ี ัด (รอ้ ยละ) ทไ่ี ด้

การพัฒนาองคก์ ารสูด่ จิ ิทลั : 15 ย่ืนเร่ือง/ย่นื คำขอทางออนไลน์ (e-from) ทปี่ ระชาชนมี 5

ตรวจสอบดินเพอ่ื การเกษตร ความปลอดภัย รกั ษาขอ้ มลู สว่ นบคุ คล และแนบเอกสาร

ในหนว่ ยงานภูมภิ าค ประกอบการพจิ ารณาได้

คำชี้แจงการปฏิบตั งิ าน/มาตรการทีไ่ ดด้ ำเนนิ การ:

1. สำนกั งาน ก.พ.ร. ได้คดั เลอื ก E-Service บริการวิเคราะห์ดินเพ่อื ใหเ้ กษตรกรสามารถตัวอย่างและรบั ผล
วิเคราะหด์ ินได้สะดวกรวดเร็ว และครอบคลุมทวั่ ประเทศ (L1) ช่วงเดือน ธันวาคม 2563

2. ประชมุ หารอื ร่วมกนั กบั หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง เพื่อยนื ยันความเข้าใจกระบวนการทำงาน ประเมนิ ความ
พรอ้ ม สรปุ ประเด็น ปญั หา และแนวทางแก้ไข พรอ้ มทงั่ จดั ทำขัน้ ตอนการดำเนินงานในปี 2564 ชว่ งเดอื น
กุมภาพนั ธ์ - มีนาคม 2564

3. พฒั นาระบบ E-Service ตรวจสอบดนิ เพ่อื การเกษตรตน้ แบบ แก้ปญั หาตา่ งๆ เพอ่ื ใหผ้ ู้ใช้บรกิ ารสามารถ
เข้าถึงไดง้ า่ ย รวมท้ังจดั เตรียมอปุ กรณ์ Hardware และ Software เพอ่ื ใชป้ ฏิบัตงิ าน ชว่ งเดือน มกราคม – เมษายน
2564

4. ประชุมคณะทำงาน E-Service เพ่อื ช้ีแจงและหารือแนวทางการดำเนนิ งาน วันท่ี 25 พฤษภาคม 2564
5. ประชมุ ช้ีแจงหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 13 แห่ง เพอื่ เตรียมความพรอ้ มการใช้งานระบบ E-Service การตรวจสอบ
ดนิ เพอื่ การเกษตรทวั่ ประเทศ และเผยแพรเ่ อกสารคมู่ อื ประกอบการใช้งานต่างๆ วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2564
6. เริ่มใชง้ านจรงิ ทว่ั ประเทศ (Kick Off) และเผยแพร่ค่มู ือการให้บริการ E-Service ผา่ นระบบออนไลน์
แก่ ผรู้ บั บรกิ ารอยา่ งทั่วถงึ รองรบั การพฒั นาระบบ E-Service ขอ้ มูลคณุ ภาพดินระดับประเทศ วนั ท่ี 1 กันยายน 2565

รายงานผลการดาเนินงานตวั ชี้วดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ๓๒
ของกรมพัฒนาทด่ี ิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รายงานผลการปฏบิ ตั ิราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตริ าชการ
กรมพัฒนาทด่ี ิน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดำเนินงาน รอบ 12 เดอื น 1 ตุลาคม 2563 – 30 กนั ยายน 2564

ปจั จัยสนับสนนุ ต่อการดำเนนิ งาน :

1. ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 เนน้ การสร้างมูลค่าเพิม่ การบรกิ าร
2. เทคโนโลยีตจิ ิทลั เหมาะแก่การพัฒนาระบบ
3. บริโภคนิยมทำใหก้ ารใชง้ านผ่านมอื ถือเปน็ ส่วนใหญ่ ดังน้นั การพฒั นาระบบท่รี องรบั การใชง้ านบนมอื ถอื จงึ
เปน็ ที่นิยม
4. หน่วยงานตา่ ง ๆ ไดพ้ ัฒนาระบบเพือ่ ให้การเช่ือมโยงข้อมูลระหว่างกันไดง้ ่าย เชน่ กรมการปกครอง ทำให้
เพิม่ ความสะดวกแก่ผูใ้ ช้บรกิ าร

อุปสรรคต่อการดำเนนิ งาน :

1. ขาดงบประมาณในการสนับสนุนการพัฒนาระบบ และบำรงุ รักษาระบบอยา่ งต่อเนอื่ ง
2. ปญั หาเร่อื งการจดั หาบคุ ลากรด้านโปรแกรมเมอร์ ซึ่งต้องจา้ งในเงินเดอื นที่สงู หากเกิดปญั หากับระบบจะ
ทำการแก้ไขไดย้ าก

หลักฐานอ้างองิ :

1. คำส่ังกรมพฒั นาที่ดนิ ท่ี 315/2564 เรอื่ ง แต่งตง้ั คณะกรรมการขบั เคล่อื น E-Service ขอ้ มลู คณุ ภาพดิน
ระดับประเทศ

2. คำสง่ั คณะกรรมการขบั เคลือ่ น E-Service ขอ้ มลู คณุ ภาพดินระดบั ประเทศ ที่ 1/2564 เรื่องแตง่
คณะทำงานบรกิ ารตรวจสอบดินเพือ่ การเกษตร

3. สรปุ รายงานการประชุม คณะทำงานจดั ทำระบบ E-Service บรกิ ารตรวจสอบดนิ เพอ่ื การเกษตร วันพฤหสั
สบดีท่ี 25 พฤษภาคม 2564

4. สรุปรายงานการประชุมช้ีแจงการใชง้ านระบบ E-Service การตรวจสอบดนิ เพอื่ การเกาตร วนั ศกุ รท์ ี่ 20
สิงหาคม พ.ศ. 2564

5. ค่มู อื สำหรบั ห้องปฏิบัติการวิเคราะหด์ นิ
6. คู่มือวิธกี ารลงทะเบียนใหม่สำหรบั ผมู้ าขอรบั บริการ
7. คมู่ ือการเขา้ สรู่ ะบบ
8. ค่มู ือขน้ั ตอนการสรา้ งใบสง่ สำหรบั งานวจิ ยั หนว่ ยงานภายในกรมฯ
9. คู่มอื ขน้ั ตอนการสรา้ งใบสง่ สำหรบั เกษตรกร
10. https://osd101.ldd.go.th/osdlab/


Click to View FlipBook Version